ไมโครโพรเซสเซอร์ (อังกฤษ: microprocessor) หมายถึงชิปที่ใช้เป็นหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
ชนิด
เราสามารถแบ่งไมโครโพรเซสเซอร์ตามสถาปัตยกรรมได้เป็น 2 ชนิด คือ
Reduced Instruction Set Computer
RISC (Reduced Instruction Set Computer) คือ ไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีคำสั่งน้อย แต่คำสั่งทำงานได้เร็ว เริ่มต้นพัฒนาด้วยความร่วมมือของ ไอบีเอ็ม มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ในยุคคริสต์ทศวรรษ 1970 ไมโครโพรเซสเซอร์ที่ได้ คือ IBM 801, Stanford MIPS และ Berkeley RISC 1 และ 2 ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดนี้ในยุคต่อมาได้แก่ SPARC ของ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ และ PowerPC ของ โมโตโรล่า
Complex Instruction Set Computer
CISC (Complex Instruction Set Computer) เป็นสถาป้ตยกรรมของไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีคำสั่งมากกว่าและซับซ้อนกว่า ได้แก่ ไมโครโพรเซสเซอร์ x86 เพนเทียมและเซเลรอนของอินเทลและ ไมโครโพรเซสเซอร์จากบริษัทเอเอ็มดี (AMD)
ตัวอย่าง ไมโครโพรเซสเซอร์
ไมโครโพรเซสเซอร์ที่รู้จักกันดีก็ได้แก่
- ยี่ห้อ Motorola 68030, 68040
- เครื่องแมคอินทอชรุ่นเก่าของบริษัทแอปเปิล
- เครื่องพีซี ได้แก่ , Intel Pentium, Intel Celeron, ,
รูปแบบโครงสร้าง
โครงสร้าง แบบ RISC มีการทำงานที่เร็วกว่า CISC ใช้ เพียง 1-2 machine cycle เท่านั้น
อนาคตมีแนวโน้มที่จะเป็นไปใช้แบบ RISC แต่ ที่ยังใช้โครงสร้างแบบ CISC อยู่นั้นเพราะ ว่าถ้าเปลี่ยนเป็นแบบ RISC แล้ว โปรแกรมที่มีอยู่เดิมจะใช้งานไม่ได้ทันที ถ้าต้องการใช้ก็ต้องเป็นการจำลองการทำงานบนโครงสร้างที่ต่างออกไป ทำให้ประสิทธิภาพลดต่ำลง
อุปกรณ์ประเภทอื่น
นอกจาก Microprocessor แล้วยังมีอุปกรณ์อีกชนิดหนึ่ง คือ Microcontroller ซึ่ง Microcontroller ก็คือ Microprocessor ที่รวมอุปกรณ์อื่นๆเข้าไปด้วย เช่น หน่วยความจำ (RAM), DMA, UART, Watch Dog, RTC, USB, I/O, etc. กล่าวคือเราสามารถนำ Microcontroller ไปใช้งานโดยต่ออุปกรณ์ภายนอกเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งต่างจาก Microprocessor ที่ต้องต่ออุปกรณ์อื่นเป็นจำนวนมาก Microcontroller มีมากมายหลายตระกูล เช่น แบบCISC มี MCS-51, 68HCxx, Z80, เป็นต้น แบบ RISC มี PIC, AVR, ARM เป็นต้น โดยเฉพาะในตระกูล ARM มาแรงมากในปัจจุบัน เนื่องจากมี โครงสร้างแบบ RISC 16/32 bit,64 bit มีผู้ผลิตมากมายหลายเจ้า ARM ยังนิยมนำไปใช้ ใน อุปกรณ์มือถือระดับสูง เครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (PDA) มี OS รองรับหลายรุ่น เช่น Windows CE เป็นต้น
อ้างอิง
- Ray, A. K.; Bhurchand, K.M. Advanced Microprocessors and Peripherals. India: Tata McGraw-Hill.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- Dirk Oppelt. "The CPU Collection". สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
- Gennadiy Shvets. "CPU-World". สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
- Jérôme Cremet. "The Cecko's CPU Library". สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
- "How Microprocessors Work". สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
- William Blair. "IC Die Photography". สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
- John Bayko (December 2003). . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-15. สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
- Wade Warner (22 Dec 2004). "Great moments in microprocessor history". IBM. สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
- Ray M. Holt. . World’s First Microprocessor. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-12-31. สืบค้นเมื่อ 2009-12-23.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
imokhrophressesxr xngkvs microprocessor hmaythungchipthiichepnhnwypramwlphlklangkhxngekhruxngimokhrkhxmphiwetxrimokhrophressesxrthwiptwaerkthimikarcahnaychniderasamarthaebngimokhrophressesxrtamsthaptykrrmidepn 2 chnid khux Reduced Instruction Set Computer RISC Reduced Instruction Set Computer khux imokhrophressesxrthimikhasngnxy aetkhasngthanganiderw erimtnphthnadwykhwamrwmmuxkhxng ixbiexm mhawithyalysaetnfxrd aela mhawithyalyaekhlifxreniy ebirkliy inyukhkhristthswrrs 1970 imokhrophressesxrthiid khux IBM 801 Stanford MIPS aela Berkeley RISC 1 aela 2 imokhrophressesxrchnidniinyukhtxmaidaek SPARC khxng sn imokhrsisetms aela PowerPC khxng omotorla Complex Instruction Set Computer CISC Complex Instruction Set Computer epnsthaptykrrmkhxngimokhrophressesxrthimikhasngmakkwaaelasbsxnkwa idaek imokhrophressesxr x86 ephnethiymaelaeselrxnkhxngxinethlaela imokhrophressesxrcakbristhexexmdi AMD twxyang imokhrophressesxr imokhrophressesxrthiruckkndikidaek yihx Motorola 68030 68040 ekhruxngaemkhxinthxchrunekakhxngbristhaexpepil ekhruxngphisi idaek Intel Pentium Intel Celeron rupaebbokhrngsrangokhrngsrang aebb RISC mikarthanganthierwkwa CISC ich ephiyng 1 2 machine cycle ethann xnakhtmiaenwonmthicaepnipichaebb RISC aet thiyngichokhrngsrangaebb CISC xyunnephraa wathaepliynepnaebb RISC aelw opraekrmthimixyuedimcaichnganimidthnthi thatxngkarichktxngepnkarcalxngkarthanganbnokhrngsrangthitangxxkip thaihprasiththiphaphldtalng xupkrnpraephthxun nxkcak Microprocessor aelwyngmixupkrnxikchnidhnung khux Microcontroller sung Microcontroller kkhux Microprocessor thirwmxupkrnxunekhaipdwy echn hnwykhwamca RAM DMA UART Watch Dog RTC USB I O etc klawkhuxerasamarthna Microcontroller ipichnganodytxxupkrnphaynxkephiyngelknxyethann sungtangcak Microprocessor thitxngtxxupkrnxunepncanwnmak Microcontroller mimakmayhlaytrakul echn aebbCISC mi MCS 51 68HCxx Z80 epntn aebb RISC mi PIC AVR ARM epntn odyechphaaintrakul ARM maaerngmakinpccubn enuxngcakmi okhrngsrangaebb RISC 16 32 bit 64 bit miphuphlitmakmayhlayeca ARM yngniymnaipich in xupkrnmuxthuxradbsung ekhruxngkhxmphiwetxrphkpha PDA mi OS rxngrbhlayrun echn Windows CE epntnxangxingRay A K Bhurchand K M Advanced Microprocessors and Peripherals India Tata McGraw Hill duephimhnwypramwlphlklang sthaptykrrmkhxmphiwetxraehlngkhxmulxunDirk Oppelt The CPU Collection subkhnemux 2009 12 23 Gennadiy Shvets CPU World subkhnemux 2009 12 23 Jerome Cremet The Cecko s CPU Library subkhnemux 2009 12 23 How Microprocessors Work subkhnemux 2009 12 23 William Blair IC Die Photography subkhnemux 2009 12 23 John Bayko December 2003 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 04 15 subkhnemux 2009 12 23 Wade Warner 22 Dec 2004 Great moments in microprocessor history IBM subkhnemux 2009 12 23 Ray M Holt World s First Microprocessor khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 12 31 subkhnemux 2009 12 23 bthkhwamkhxmphiwetxr xupkrntang hruxekhruxkhayniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk