ศิลปะเมารยะเป็นคำใช้เรียกงานศิลปะที่ผลิตขึ้นในยุคของจักรวรรดิเมารยะ อาณาจักรแรกที่สามารถปกครองอนุทวีปอินเดียตอนเหนือตั้งแต่ปี 322 ถึง 185 ปีก่อนคริสต์กาล ศิลปะเมารยะที่หลงเหลือมาถึงปัจจุบันเป็นผลงานภายใต้พระราชูปถัมภ์ของกษัตริย์เมารยะ โดยเฉพาะพระเจ้าอโศกมหาราช หลักฐานชิ้นสำคัญที่หลงเหลือมาถึงปัจจุบันมีทั้งเสา, สถูป และถ้ำเจาะหิน
ศิลปะเมารยะขนาดใหญ่ที่หลงเหลือมาจนปัจจุบันเช่นซากของพระราชวังหลวงที่ปาฏลีบุตร, ราวมอนอลิธที่สารนาถ, โพธิมณฑล หรือแท่นทั้งสี่ที่โพธคยา, โถงเจดีย์ที่สลักเข้าไปในหินของใกล้กับ, งานแกะสลักแสดงสัตว์และพืชบนหินที่ธาวลี เป็นต้น
ได้บันทึกไว้เมื่อปี 1923 ว่าศิลปะเมารยะมีอยู่สามระยะหลัก ระยะแรกสุดจะพบร่อยรอยของเทพเจ้าจากความเชื่อแบบพระเวท (เช่นภาพแกะสลักนูนต่ำแสดง พระสูรยะ และ พระอินทร์ ใน) อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันถือกันว่าสร้างขึ้นภายหลังสมัยเมารยะ ราว 200-100 ปีก่อนคริสต์กาล ยุคที่สองเป็นราชศิลปะในพระเจ้าอโศกมหาราช พบในงานแกะสลักเสาจากหินก้อนเดียวที่มีจารึกพระราชโองการบนนั้น และยุคที่สามเป็นยุคเริ่มแรกของสถาปัตยกรรมอิฐและหิน เช่นในสถูปองค์เดิมที่ และ ใส
นักวิชาการส่วนมากเห็นตรงกันว่าศิลปะเมารยะได้รับอิทธิพลจากศิลปะกรีกและ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่พบในสถาปัตยกรรมและประติมากรรมของหลวง
อ้างอิง
- Mahajan V.D. (1960, reprint 2007). Ancient India, New Delhi: S.Chand, New Delhi, ISBN , p.348
- Introduction To Indian Art. 1923. p. 15.
- Kumar, Raj (2003). Essays on Indian Art and Architecture (ภาษาอังกฤษ). Discovery Publishing House. p. 12. ISBN .
- V.D, Mahajan (2016). Ancient India (ภาษาอังกฤษ). S. Chand Publishing. pp. 270–271. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
silpaemaryaepnkhaicheriykngansilpathiphlitkhuninyukhkhxngckrwrrdiemarya xanackraerkthisamarthpkkhrxngxnuthwipxinediytxnehnuxtngaetpi 322 thung 185 pikxnkhristkal silpaemaryathihlngehluxmathungpccubnepnphlnganphayitphrarachupthmphkhxngkstriyemarya odyechphaaphraecaxoskmharach hlkthanchinsakhythihlngehluxmathungpccubnmithngesa sthup aelathaecaahinsilpaemaryasinghstmphsirsakhxngesaxosk sylksnpracachatixinediy twxyangchinsakhykhxngsilpaemarya silpaemaryakhnadihythihlngehluxmacnpccubnechnsakkhxngphrarachwnghlwngthipatlibutr rawmxnxliththisarnath ophthimnthl hruxaethnthngsithiophthkhya othngecdiythislkekhaipinhinkhxngiklkb nganaekaslkaesdngstwaelaphuchbnhinthithawli epntn idbnthukiwemuxpi 1923 wasilpaemaryamixyusamrayahlk rayaaerksudcaphbrxyrxykhxngethphecacakkhwamechuxaebbphraewth echnphaphaekaslknuntaaesdng phrasurya aela phraxinthr in xyangirktam inpccubnthuxknwasrangkhunphayhlngsmyemarya raw 200 100 pikxnkhristkal yukhthisxngepnrachsilpainphraecaxoskmharach phbinnganaekaslkesacakhinkxnediywthimicarukphrarachoxngkarbnnn aelayukhthisamepnyukherimaerkkhxngsthaptykrrmxithaelahin echninsthupxngkhedimthi aela is nkwichakarswnmakehntrngknwasilpaemaryaidrbxiththiphlcaksilpakrikaela odyechphaaxyangyingthiphbinsthaptykrrmaelapratimakrrmkhxnghlwngxangxingMahajan V D 1960 reprint 2007 Ancient India New Delhi S Chand New Delhi ISBN 81 219 0887 6 p 348 Introduction To Indian Art 1923 p 15 Kumar Raj 2003 Essays on Indian Art and Architecture phasaxngkvs Discovery Publishing House p 12 ISBN 978 81 7141 715 5 V D Mahajan 2016 Ancient India phasaxngkvs S Chand Publishing pp 270 271 ISBN 9789352531325