ภาวะตัวเย็นเกินหรืออุณหภูมิกายต่ำผิดปกติ (อังกฤษ: hypothermia) นิยามว่ามีของร่างกายต่ำกว่า 35.0 °C อาการขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ในภาวะตัวเย็นเกินอย่างอ่อน จะมีสั่นและสับสน ในภาวะตัวเย็นเกินปานกลาง การสั่นจะหยุดและมีความสับสนเพิ่มขึ้น ในภาวะตัวเย็นเกินรุนแรงอาจมีการเปลื้องปฏิทรรศน์ (paradoxical undressing) คือ บุคคลถอดเสื้อผ้าของตัว ตลอดจนมีความเสี่ยงหัวใจหยุดเต้นเพิ่มขึ้น
ภาวะตัวเย็นเกิน | |
---|---|
ระหว่างการถอยทัพจากรัสเซียของนโปเลียน โบนาปาร์ตในฤดูหนาว ค.ศ. 1812 ทหารเสียชีวิตจากภาวะตัวเย็นเกินเป็นเบือ | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | T68 |
ICD- | 991.6 |
6542 | |
000038 | |
med/1144 | |
MeSH | D007035 |
ภาวะตัวเย็นเกินมีสองสาเหตุหลัก สาเหตุตรงต้นแบบเกิดจากการได้รับความเย็นสุดขีด อาจเกิดจากภาวะใด ๆ ซึ่งลดการผลิตความร้อนหรือเพิ่มการเสียความร้อน โดยทั่วไปมีภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษ แต่ยังมีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ภาวะเบื่ออาหาร และสูงอายุ เป็นต้น ปกติร่างกายรักษาอุณหภูมิกายไว้ใกล้ระดับคงที่ 36.5–37.5 °C โดยอาศัยการปรับอุณหภูมิกาย หากอุณหภูมิกายต่ำลง จะมีความพยายามเพื่อเพิ่มอุณหภูมิกาย เช่น สั่น มีกิจกรรมใต้อำนาจจิตใจที่เพิ่มขึ้นและสวมเครื่องนุ่งห่มอบอุ่น อาจวินิจฉัยภาวะตัวเย็นเกินได้จากอาการของบุคคลที่มีปัจจัยเสี่ยงหรือโดยการวัดอุณหภูมิกายของบุคคล
การรักษาภาวะตัวเย็นเกินอย่างอ่อนมีเครื่องดื่มอุ่น เครื่องนุ่งห่มอุ่นและกิจกรรมทางกาย ในผู้ป่วยภาวะตัวเย็นเกินปานกลาง แนะนำให้ผ้าห่มความร้อนและสารน้ำเข้าหลอดเลือดดำอุ่น ผู้ป่วยที่มีภาวะตัวเย็นเกินปานกลางหรือรุนแรงควรเคลื่อนย้ายอย่างนุ่มนวล ในภาวะตัวเย็นเกินรุนแรง (ECMO) หรืออาจมีประโยชน์ ในผู้ป่วยที่ไม่มีชีพจร การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) มีข้อบ่งชี้ร่วมกับมาตรการข้างต้น ตรงแบบให้ความอบอุ่นแก่ผู้ป่วยจนอุณหภูมิสูงกว่า 32 °C หากอาการ ณ จุดนี้ไม่ดีขึ้นหรือระดับโพแทสเซียมในเลือดสูงกว่า 12 มิลลิโมลต่อลิตรครั้งหนึ่งแล้ว อาจยุติการกู้ชีพ
ภาวะตัวเย็นเกินเป็นสาเหตุให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1,500 คนต่อปีในสหรัฐ พบมากกว่าในผู้สูงอายุและเพศชาย อุณหภูมิกายต่ำสุดครั้งหนึ่งของผู้ที่มีภาวะตัวเย็นเกินโดยอุบัติเหตุแต่รอดชีวิตเท่าที่มีบันทึกคือ 13 °C ในเด็กหญิงวัย 7 ขวบที่ใกล้จมน้ำในประเทศสวีเดน มีการอธิบายการรอดชีวิตหลัง CPR เกินหกชั่วโมง ในผู้ที่ใช้ ECMO หรือเครื่องปอด-หัวใจเทียมมีการรอดชีวิตประมาณ 50% การเสียชีวิตเนื่องจากภาวะตัวเย็นเกินมีบทบาทสำคัญในสงครามหลายครั้งภาวะตัวร้อนเกินหรือไข้สูงเป็นคำตรงข้ามของภาวะตัวเย็นเกิน คือ มีอุณหภูมิกายสูงขึ้นเนื่องจากการปรับอุณหภูมิกายล้มเหลว
อ้างอิง
- Marx, John (2010). Rosen's emergency medicine: concepts and clinical practice 7th edition. Philadelphia, PA: Mosby/Elsevier. p. 1870. ISBN .
- Brown, DJ; Brugger, H; Boyd, J; Paal, P (Nov 15, 2012). "Accidental hypothermia". The New England Journal of Medicine. 367 (20): 1930–8. doi:10.1056/NEJMra1114208. PMID 23150960.
- Robertson, David (2012). Primer on the autonomic nervous system (3rd ed.). Amsterdam: Elsevier/AP. p. 288. ISBN .
- Bracker, Mark (2012). The 5-Minute Sports Medicine Consult (2 ed.). Lippincott Williams & Wilkins. p. 320. ISBN .
- "Remarkable recovery of seven-year-old girl". Jan 17, 2011. สืบค้นเมื่อ 2 March 2015.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Princeton Outdoor Guide to Hypothermia
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawatweynekinhruxxunhphumikaytaphidpkti xngkvs hypothermia niyamwamikhxngrangkaytakwa 35 0 C xakarkhunxyukbxunhphumi inphawatweynekinxyangxxn camisnaelasbsn inphawatweynekinpanklang karsncahyudaelamikhwamsbsnephimkhun inphawatweynekinrunaerngxacmikarepluxngptithrrsn paradoxical undressing khux bukhkhlthxdesuxphakhxngtw tlxdcnmikhwamesiynghwichyudetnephimkhunphawatweynekinrahwangkarthxythphcakrsesiykhxngnopeliyn obnapartinvduhnaw kh s 1812 thharesiychiwitcakphawatweynekinepnebuxbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10T68ICD 991 66542000038med 1144MeSHD007035 phawatweynekinmisxngsaehtuhlk saehtutrngtnaebbekidcakkaridrbkhwameynsudkhid xacekidcakphawaid sungldkarphlitkhwamrxnhruxephimkaresiykhwamrxn odythwipmiphawaaexlkxhxlepnphis aetyngmiphawanatalineluxdta phawaebuxxahar aelasungxayu epntn pktirangkayrksaxunhphumikayiwiklradbkhngthi 36 5 37 5 C odyxasykarprbxunhphumikay hakxunhphumikaytalng camikhwamphyayamephuxephimxunhphumikay echn sn mikickrrmitxanacciticthiephimkhunaelaswmekhruxngnunghmxbxun xacwinicchyphawatweynekinidcakxakarkhxngbukhkhlthimipccyesiynghruxodykarwdxunhphumikaykhxngbukhkhl karrksaphawatweynekinxyangxxnmiekhruxngdumxun ekhruxngnunghmxunaelakickrrmthangkay inphupwyphawatweynekinpanklang aenanaihphahmkhwamrxnaelasarnaekhahlxdeluxddaxun phupwythimiphawatweynekinpanklanghruxrunaerngkhwrekhluxnyayxyangnumnwl inphawatweynekinrunaerng ECMO hruxxacmipraoychn inphupwythiimmichiphcr karnwdhwicphaypxdkuchiph CPR mikhxbngchirwmkbmatrkarkhangtn trngaebbihkhwamxbxunaekphupwycnxunhphumisungkwa 32 C hakxakar n cudniimdikhunhruxradbophaethsesiymineluxdsungkwa 12 milliomltxlitrkhrnghnungaelw xacyutikarkuchiph phawatweynekinepnsaehtuihmiphuesiychiwitxyangnxy 1 500 khntxpiinshrth phbmakkwainphusungxayuaelaephschay xunhphumikaytasudkhrnghnungkhxngphuthimiphawatweynekinodyxubtiehtuaetrxdchiwitethathimibnthukkhux 13 C inedkhyingwy 7 khwbthiiklcmnainpraethsswiedn mikarxthibaykarrxdchiwithlng CPR ekinhkchwomng inphuthiich ECMO hruxekhruxngpxd hwicethiymmikarrxdchiwitpraman 50 karesiychiwitenuxngcakphawatweynekinmibthbathsakhyinsngkhramhlaykhrngphawatwrxnekinhruxikhsungepnkhatrngkhamkhxngphawatweynekin khux mixunhphumikaysungkhunenuxngcakkarprbxunhphumikaylmehlwxangxingMarx John 2010 Rosen s emergency medicine concepts and clinical practice 7th edition Philadelphia PA Mosby Elsevier p 1870 ISBN 978 0 323 05472 0 Brown DJ Brugger H Boyd J Paal P Nov 15 2012 Accidental hypothermia The New England Journal of Medicine 367 20 1930 8 doi 10 1056 NEJMra1114208 PMID 23150960 Robertson David 2012 Primer on the autonomic nervous system 3rd ed Amsterdam Elsevier AP p 288 ISBN 9780123865250 Bracker Mark 2012 The 5 Minute Sports Medicine Consult 2 ed Lippincott Williams amp Wilkins p 320 ISBN 9781451148121 Remarkable recovery of seven year old girl Jan 17 2011 subkhnemux 2 March 2015 aehlngkhxmulxunPrinceton Outdoor Guide to Hypothermia