บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่
|
ศาสตราจารย์ เฮอร์เบิร์ต เอ. ไซมอน (อังกฤษ: Herbert A. Simon) แห่ง ที่เมือง รัฐเพนซิลเวเนีย เป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกันซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์สำหรับปี ค.ศ. 1978 จากผลงานค้นคว้าวิจัยในกระบวนการตัดสินใจภายในองค์การที่ประกอบการเศรษฐกิจ ซึ่งในปัจจุบันมิได้ถูกผูกขาดโดยผู้ประกอบการเพียงคนเดียว หากเป็นการตัดสินใจร่วมกันของบุคลากรหลายคนในองค์การนั้นๆ
ผลงานทางวิชาการของไซมอนแผ่ไกลไปจากบรรดาสาขาวิชาที่ได้รับมอบหมายให้สอนในมหาวิทยาลัยคือ รัฐศาสตร์, การบริหาร, จิตวิทยาและวิชาที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารหรือสารสนเทศ ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไซมอนมีผลงานในหลายสาขาวิชาอื่นๆ ซึ่งรวมถึงทฤษฎีวิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์, สถิติประยุกต์, “โอเปเรชั่น แอนาไลซีส” , เศรษฐศาสตร์, และการบริหารธุรกิจ ในทุกๆ สาขาวิชาที่ได้ทำการค้นคว้าวิจัย, ไซมอนจะมีเรื่องที่สำคัญมาบอกกล่าว, ซึ่งที่ถือเป็นหลักก็คือ ท่านศาสตราจารย์จะได้พัฒนาแนวคิดของตนเองในสาขาวิชานั้น ถึงระดับที่สามารถใช้เป็นฐานสำหรับการศึกษาหาข้อมูลต่อไปได้
อย่างไรก็ตามก็ต้องถือว่า เฮอร์เบิร์ต ไซมอนเป็นนักเศรษฐศาสตร์ในความหมายที่กว้างที่สุดของคำว่า “นักเศรษฐศาสตร์” และชื่อเสียงเกือบทั้งหมดก็จะเกี่ยวข้องกับตำราว่าด้วย โครงสร้างและกระบวนการตัดสินใจภายในองค์การที่ประกอบการเศรษฐกิจ, ซึ่งเป็นอะไรที่ค่อนข้างจะใหม่ในแวดวงของการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์
ในวิชาเศรษฐศาสตร์ยุคก่อนๆ ไม่ได้มีการแยกกันระหว่างกิจการธุรกิจ (enterprise) และผู้ประกอบการ (entrepreneur) อีกทั้งยังได้ตั้งเป็นสมมติฐานว่า ผู้ประกอบการมีเป้าประสงค์เพียงประการเดียวคือ การทำผลกำไรให้ได้มากที่สุด (profit maximization) ความมุ่งหมายของทฤษฎีว่าด้วยองค์กรธุรกิจดังกล่าว มีเพียงให้ใช้เป็นหลักเกณฑ์สำหรับการศึกษาพฤติกรรมของตลาดเป็นภาพรวม, มิได้หมายถึงพฤติกรรมในแต่ละองค์กรแต่ประการใด ตราบใดที่ธุรกิจเหล่านี้ยังประกอบด้วยหน่วยงานเล็กๆ ที่บริหารจัดการแบบธุรกิจในครอบครัว ก็ไม่มีอะไรที่น่าสนใจต่อเมื่อธุรกิจมีขนาดใหญ่ขึ้น ซึ่งการบริหารจัดการกับความเป็นเจ้าของหรือผู้ถือหุ้น ได้แยกออกจากกันมากขึ้นและมากขึ้น, บรรดาลูกจ้างก็เริ่มที่จะก่อตั้งสหภาพแรงงาน, อัตราการขยายกิจการก็เพิ่มสูงขึ้น, ขณะที่การแข่งขันกันในเชิงราคา ได้เปลี่ยนไปเป็นการแข่งขันในเชิงคุณภาพและบริการในระหว่างธุรกิจที่มีจำนวนลดน้อยลงกว่าเดิม, ตรงนี้แหละที่พฤติกรรมของธุรกิจแต่ละบริษัทจะมีความน่าสนใจเพิ่มขึ้น
ตั้งแต่ทศวรรษ 1930 มาแล้ว เมื่อนักเศรษฐศาสตร์ได้เห็นการศึกษาวิจัยองค์การในสาขาวิชาการอื่นๆ ก็หันมาให้ความเอาใจใส่ต่อโครงสร้างของธุรกิจตลอดจนกระบวนการตัดสินใจในทิศทางที่แตกต่างไปจากเดิม ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไซมอนได้มีผลงานซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งยวดในการพัฒนาแนวใหม่นี้ ซึ่งปรากฏในหนังสือที่เปิดฉากยุคใหม่ซึ่งมีชื่อว่า Administrative Behavaior (1947) และในข้อเขียนอื่นๆที่ตามมา
เฮอร์เบิรต์ ไซมอนวาดภาพของบริษัทเป็นระบบที่อาจปรับเปลี่ยนได้ ซึ่งระบบดังกล่าวนี้ประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ ทั้งที่เป็นกายภาพ, บุคคลและสังคมซึ่งประกบเข้าด้วยกันด้วยเครือข่ายการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและโดยความเต็มใจของบรรดาสมาชิกในองค์กรที่จะร่วมมือกันดำเนินงานไปสู่เป้าหมายอันเดียวกัน ประเด็นที่ถือว่าเป็นของใหม่ในความคิดของไซมอนที่เด่นชัดที่สุดก็คือ การที่ปฏิเสธข้อสมมติฐานของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ดั้งเดิมว่า กิจการธุรกิจหมายถึงผู้ประกอบการที่เป็นสัพพัญญู, มีเหตุมีผลและมุ่งแสวงหาผลกำไรสูงสุด ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไซมอนได้เปลี่ยนข้อสมมติฐานดังกล่าว เป็นกลุ่มบุคคลที่ร่วมกันตัดสินใจในการดำเนินงานของธุรกิจ ซึ่งขีดความสามารถในการดำเนินการอย่างมีเหตุมีผลมีขอบเขตจำกัด อันเนื่องมาจากการขาดความรู้ในผลที่ตามมาภายหลังการตัดสินใจ และที่มาจากขีดความสามารถของบุคคลและกลุ่มบุคคลเมื่อบุคคลกลุ่มดังกล่าวไม่สามารถที่จะเลือกดำเนินการในทางที่ดีที่สุดได้ก็จำเป็นจะต้องพอใจกับทางเลือกที่เห็นว่าพอจะรับได้ ดังนั้น บริษัทหรือองค์การเอกชนจึงมิได้มุ่งแสวงหาผลกำไรสูงสุด แต่จะค้นหาทางออกที่พอจะรับได้ในปัญหาที่รุ่นแรงซึ่งต้องเผชิญ ซึ่งการนี้อาจจะหมายถึงว่า จะมีเป้าหมายในการดำเนินงานหลายประการที่ขัดแย้งกันอยู่ แต่จะต้องให้บรรลุถึงในขณะเดียวกัน แต่ละบุคคลที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในกิจการธุรกิจได้พยายามที่จะค้นหาทางออกที่พอใจสำหรับปัญหาต่างๆ โดยการนั้นก็ได้นำเอาการแก้ไขปัญหาของบุคคลอื่นๆ มาพิจารณาร่วมด้วย
ทฤษฎีและข้อสังเกตของไซมอนอันเกี่ยวกับการตัดสินใจในปัญหาต่างๆ ขององค์การ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในระบบและในเทคนิคของการวางแผนธุรกิจ การจัดสรรงบประมาณ และการควบคุมดูแลซึ่งดำเนินการกันอยู่ในธุรกิจสมัยปัจจุบัน ตลอดจนในการบริหารรัฐกิจด้วยทฤษฎีของเฮอร์เบิร์ต ไซมอนดังกล่าวนี้ อาจจะไม่หรูหรา อีกทั้งไม่สู้จะเข้ากับการวิเคราะห์เศรษฐกิจเป็นส่วนรวมมากเท่ากับทฤษฎีผลกำไรสูงสุดที่รู้จักกันมาแต่ดั้งเดิม แต่ก็เป็นทฤษฎีที่เปิดกว้างมากกว่า สำหรับความเข้าใจและการพยากรณ์สถานการณ์ต่างๆ เช่นในกรณีการปรับเปลี่ยนกลวิธีในการตลาดภายใต้ภาวการณ์แข่งขัน การเลือกซื้อหลักทรัพย์เพื่อเป็นการลงทุน และการเลือกประเทศที่จะไปลงทุน เหล่านี้เป็นต้นงานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการบริหารจัดการสมัยใหม่ ส่วนใหญ่จะอาศัยแนวความคิดของศาสตราจารย์ไซมอน
นอกจากจะได้รับการยกย่อง ในฐานะที่ค้นคว้าวิจัยกระบวนการตัดสินใจภายในองค์การที่ประกอบการเศรษฐกิจแล้ว เฮอร์เบิร์ต ไซมอนก็ยังมีผลงานที่มีความสำคัญต่อวิชาเศรษฐศาสตร์ในอีกหลายด้าน เช่น การทำให้เข้าใจกระบวนการตัดสินใจในสถานการณ์ที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้น อันนำไปสู่ความพยายามที่จะแยกแยะระบบสมการที่ซับซ้อนดังกล่าวโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์จากวิชาการอื่นๆ เช่น จิตวิทยา เป็นต้น เข้ามาช่วยทำความเข้าใจ ดังนั้นก็ถือได้ว่า เฮอร์เบิร์ต ไซมอนมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาวิชาการบริหารจัดการด้วยในขณะเดียวกัน
ศาสตราจารย์เฮอร์เบิร์ต ไซมอน เกิดที่มิลวอคี่ รัฐวิสคอนซิน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ปี ค.ศ. 1916 (พ.ศ. 2459) บิดาเป็นวิศวกรไฟฟ้าที่มาจากเยอรมนี และเป็นผู้ประดิษฐ์อุปกรณ์ไฟฟ้าคือ เกียร์ไฟฟ้า ซึ่งต่อมาก็ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง สำหรับมารดานั้นเป็นนักเปียโนที่มีระดับอันมีบรรพบุรุษที่มาจากรุงปรากและเมืองโคโลญ โดยมาตั้งรกรากอยู่ในอเมริกา 3 ชั่วคนแล้ว
เฮอร์เบิร์ต ไซมอนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยชิคาโกในปี ค.ศ. 1933 โดยตั้งเข็มว่าจะเป็นนักสังคมศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์ (mathematicalsocial scientist) ดังนั้น จึงได้เลือกศึกษาวิชาต่างๆ เช่น เศรษฐศาสตร์, รัฐศาสตร์, คณิตศาสตร์ชั้นสูง, สถิติคณิตศาสตร์ ทั้งนี้โดยมีความประทับใจในการสอนของเฮนรี่ ชูลทส์ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ทางเศรษฐมิติและเศรษฐศาสตร์คณิตศาสตร์ที่ชิคาโกในสมัยนั้น เฮอร์เบิร์ต ไซมอนสำเร็จชั้นปริญญาตรีในปี ค.ศ. 1936 จากนั้นก็ได้งานเป็นผู้ช่วยนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยแคลิฟร์เนียที่เบิร์กลี่ย์ โดยในระหว่างนั้นก็เป็นนักศึกษาปริญญาเอกของมหาวิทยาลัยชิคาโกจนกระทั่งสำเร็จการศึกษา
เฮอร์เบิร์ต ไซมอนกลับคืนสู่ชิคาโกในปี ค.ศ. 1942 และได้เข้าร่วมในทีมงานวิจัยของ Cowles Commission ซึ่งในขณะนั้นมีนักเศรษฐมิติชั้นนำร่วมงานวิจัยกันอยู่ที่นั่นหลายคน อาทิเช่น จาคอป มาร์ชาค, ทจาลลิ่ง โคพมานส์, เคนเนท แอร์โรว์, ลอรนซ์ คลายน์, ดอน พาทินกิน, ลีโอ เฮอร์วิคส์ รวมทั้งนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงอีกหลายคน เช่น ออสคาร์ ลางเอ (Oscar Lange) , ฟรักโก โมดิกลิอานี (Franco Modigliani) และ มิลตัน ฟริดแมน (Milton Friedman) เป็นต้น ในโอกาสนั้น เฮอาร์เบิร์ต ไซมอนก็รู้สึกว่า ได้รับความรู้ทางเศรษฐศาสตร์เพิ่มเติมขั้นมาอีกมาก เช่นได้ศึกษาตำรา General Theory ของเคนส์ที่ขยายผลให้เข้าใจได้ลึกซึ้งขึ้นโดยผ่านแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเจมส์ มี้ด, จอห์น ฮิคส์, และ ฟรังโก โมดิกลิอานี, และได้สัมผัสกับเทคนิคทางเศรษฐมิติที่แปลกใหม่ที่นำเสนอโดยแร้กนาร์ ฟริสช์และนำมาศึกษาโดยทีมงานวิจัย Cowles Commission
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathi bthkhwamniekhakhaylaemidlikhsiththi aetyngtxngkarlingkhlkthan bthkhwamnitxngkarekbkwad odykartrwcsxbhruxprbprungkhwamthuktxng tlxdcnaekikhrupaebbhruxphasathiich bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng sastracary ehxrebirt ex ismxn xngkvs Herbert A Simon aehng thiemuxng rthephnsileweniy epnnkesrsthsastrchawxemriknsungidrbrangwloneblsakhaesrsthsastrsahrbpi kh s 1978 cakphlngankhnkhwawicyinkrabwnkartdsinicphayinxngkhkarthiprakxbkaresrsthkic sunginpccubnmiidthukphukkhadodyphuprakxbkarephiyngkhnediyw hakepnkartdsinicrwmknkhxngbukhlakrhlaykhninxngkhkarnn phlnganthangwichakarkhxngismxnaephiklipcakbrrdasakhawichathiidrbmxbhmayihsxninmhawithyalykhux rthsastr karbrihar citwithyaaelawichathiekiywkbkhxmulkhawsarhruxsarsneths sastracaryehxrebirt ismxnmiphlnganinhlaysakhawichaxun sungrwmthungthvsdiwithyasastr khnitsastr sthitiprayukt oxeperchn aexnailsis esrsthsastr aelakarbriharthurkic inthuk sakhawichathiidthakarkhnkhwawicy ismxncamieruxngthisakhymabxkklaw sungthithuxepnhlkkkhux thansastracarycaidphthnaaenwkhidkhxngtnexnginsakhawichann thungradbthisamarthichepnthansahrbkarsuksahakhxmultxipid xyangirktamktxngthuxwa ehxrebirt ismxnepnnkesrsthsastrinkhwamhmaythikwangthisudkhxngkhawa nkesrsthsastr aelachuxesiyngekuxbthnghmdkcaekiywkhxngkbtarawadwy okhrngsrangaelakrabwnkartdsinicphayinxngkhkarthiprakxbkaresrsthkic sungepnxairthikhxnkhangcaihminaewdwngkhxngkarwicythangesrsthsastr inwichaesrsthsastryukhkxn imidmikaraeykknrahwangkickarthurkic enterprise aelaphuprakxbkar entrepreneur xikthngyngidtngepnsmmtithanwa phuprakxbkarmiepaprasngkhephiyngprakarediywkhux karthaphlkairihidmakthisud profit maximization khwammunghmaykhxngthvsdiwadwyxngkhkrthurkicdngklaw miephiyngihichepnhlkeknthsahrbkarsuksaphvtikrrmkhxngtladepnphaphrwm miidhmaythungphvtikrrminaetlaxngkhkraetprakarid trabidthithurkicehlaniyngprakxbdwyhnwynganelk thibriharcdkaraebbthurkicinkhrxbkhrw kimmixairthinasnictxemuxthurkicmikhnadihykhun sungkarbriharcdkarkbkhwamepnecakhxnghruxphuthuxhun idaeykxxkcakknmakkhunaelamakkhun brrdalukcangkerimthicakxtngshphaphaerngngan xtrakarkhyaykickarkephimsungkhun khnathikaraekhngkhnkninechingrakha idepliynipepnkaraekhngkhninechingkhunphaphaelabrikarinrahwangthurkicthimicanwnldnxylngkwaedim trngniaehlathiphvtikrrmkhxngthurkicaetlabristhcamikhwamnasnicephimkhun tngaetthswrrs 1930 maaelw emuxnkesrsthsastridehnkarsuksawicyxngkhkarinsakhawichakarxun khnmaihkhwamexaicistxokhrngsrangkhxngthurkictlxdcnkrabwnkartdsinicinthisthangthiaetktangipcakedim sastracaryehxrebirt ismxnidmiphlngansungmikhwamsakhyxyangyingywdinkarphthnaaenwihmni sungpraktinhnngsuxthiepidchakyukhihmsungmichuxwa Administrative Behavaior 1947 aelainkhxekhiynxunthitamma ehxrebirt ismxnwadphaphkhxngbristhepnrabbthixacprbepliynid sungrabbdngklawniprakxbdwychinswntang thngthiepnkayphaph bukhkhlaelasngkhmsungprakbekhadwykndwyekhruxkhaykartidtxsuxsarrahwangknaelaodykhwametmickhxngbrrdasmachikinxngkhkrthicarwmmuxkndaeninnganipsuepahmayxnediywkn praednthithuxwaepnkhxngihminkhwamkhidkhxngismxnthiednchdthisudkkhux karthiptiesthkhxsmmtithankhxngthvsdiesrsthsastrdngedimwa kickarthurkichmaythungphuprakxbkarthiepnsphphyyu miehtumiphlaelamungaeswnghaphlkairsungsud sastracaryehxrebirt ismxnidepliynkhxsmmtithandngklaw epnklumbukhkhlthirwmkntdsinicinkardaeninngankhxngthurkic sungkhidkhwamsamarthinkardaeninkarxyangmiehtumiphlmikhxbekhtcakd xnenuxngmacakkarkhadkhwamruinphlthitammaphayhlngkartdsinic aelathimacakkhidkhwamsamarthkhxngbukhkhlaelaklumbukhkhlemuxbukhkhlklumdngklawimsamarththicaeluxkdaeninkarinthangthidithisudidkcaepncatxngphxickbthangeluxkthiehnwaphxcarbid dngnn bristhhruxxngkhkarexkchncungmiidmungaeswnghaphlkairsungsud aetcakhnhathangxxkthiphxcarbidinpyhathirunaerngsungtxngephchiy sungkarnixaccahmaythungwa camiepahmayinkardaeninnganhlayprakarthikhdaeyngknxyu aetcatxngihbrrluthunginkhnaediywkn aetlabukhkhlthimiswnrwminkartdsinicinkickarthurkicidphyayamthicakhnhathangxxkthiphxicsahrbpyhatang odykarnnkidnaexakaraekikhpyhakhxngbukhkhlxun maphicarnarwmdwy thvsdiaelakhxsngektkhxngismxnxnekiywkbkartdsinicinpyhatang khxngxngkhkar samarthnaipprayuktichinrabbaelainethkhnikhkhxngkarwangaephnthurkic karcdsrrngbpraman aelakarkhwbkhumduaelsungdaeninkarknxyuinthurkicsmypccubn tlxdcninkarbriharrthkicdwythvsdikhxngehxrebirt ismxndngklawni xaccaimhruhra xikthngimsucaekhakbkarwiekhraahesrsthkicepnswnrwmmakethakbthvsdiphlkairsungsudthiruckknmaaetdngedim aetkepnthvsdithiepidkwangmakkwa sahrbkhwamekhaicaelakarphyakrnsthankarntang echninkrnikarprbepliynklwithiinkartladphayitphawkarnaekhngkhn kareluxksuxhlkthrphyephuxepnkarlngthun aelakareluxkpraethsthicaiplngthun ehlaniepntnnganwicythangesrsthsastrthurkicaelakarbriharcdkarsmyihm swnihycaxasyaenwkhwamkhidkhxngsastracaryismxn nxkcakcaidrbkarykyxng inthanathikhnkhwawicykrabwnkartdsinicphayinxngkhkarthiprakxbkaresrsthkicaelw ehxrebirt ismxnkyngmiphlnganthimikhwamsakhytxwichaesrsthsastrinxikhlaydan echn karthaihekhaickrabwnkartdsinicinsthankarnthiyungyaksbsxnidngaykhun xnnaipsukhwamphyayamthicaaeykaeyarabbsmkarthisbsxndngklawodyichethkhnikhkarwiekhraahcakwichakarxun echn citwithya epntn ekhamachwythakhwamekhaic dngnnkthuxidwa ehxrebirt ismxnmibthbathsakhytxkarphthnawichakarbriharcdkardwyinkhnaediywkn sastracaryehxrebirt ismxn ekidthimilwxkhi rthwiskhxnsin emuxwnthi 15 mithunayn pi kh s 1916 ph s 2459 bidaepnwiswkriffathimacakeyxrmni aelaepnphupradisthxupkrniffakhux ekiyriffa sungtxmakidrbpriyyaexkkittimskdicakmhawithyalyaehnghnung sahrbmardannepnnkepiyonthimiradbxnmibrrphburusthimacakrungprakaelaemuxngokholy odymatngrkrakxyuinxemrika 3 chwkhnaelw ehxrebirt ismxnekhasuksainmhawithyalychikhaokinpi kh s 1933 odytngekhmwacaepnnksngkhmsastrechingkhnitsastr mathematicalsocial scientist dngnn cungideluxksuksawichatang echn esrsthsastr rthsastr khnitsastrchnsung sthitikhnitsastr thngniodymikhwamprathbicinkarsxnkhxngehnri chulthssungepnsastracarythangesrsthmitiaelaesrsthsastrkhnitsastrthichikhaokinsmynn ehxrebirt ismxnsaercchnpriyyatriinpi kh s 1936 caknnkidnganepnphuchwynkwicythimhawithyalyaekhlifreniythiebirkliy odyinrahwangnnkepnnksuksapriyyaexkkhxngmhawithyalychikhaokcnkrathngsaerckarsuksa ehxrebirt ismxnklbkhunsuchikhaokinpi kh s 1942 aelaidekharwminthimnganwicykhxng Cowles Commission sunginkhnannminkesrsthmitichnnarwmnganwicyknxyuthinnhlaykhn xathiechn cakhxp marchakh thcalling okhphmans ekhnenth aexrorw lxrns khlayn dxn phathinkin liox ehxrwikhs rwmthngnkesrsthsastrthimichuxesiyngxikhlaykhn echn xxskhar langex Oscar Lange frkok omdiklixani Franco Modigliani aela miltn fridaemn Milton Friedman epntn inoxkasnn ehxarebirt ismxnkrusukwa idrbkhwamruthangesrsthsastrephimetimkhnmaxikmak echnidsuksatara General Theory khxngekhnsthikhyayphlihekhaicidluksungkhunodyphanaebbcalxngthangkhnitsastrkhxngecms mid cxhn hikhs aela frngok omdiklixani aelaidsmphskbethkhnikhthangesrsthmitithiaeplkihmthinaesnxodyaerknar frischaelanamasuksaodythimnganwicy Cowles Commission bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk