การปรับภาวะให้เกิดความกลัว (อังกฤษ: fear conditioning) เป็นรูปแบบทางพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตเรียนรู้เพื่อพยากรณ์เหตุการณ์ที่ไม่น่าพึงใจ เป็นรูปแบบแห่งการเรียนรู้โดยจับคู่สิ่งแวดล้อมที่ปกติเป็นกลาง ๆ (เช่นสถานที่) หรือตัวกระตุ้นที่เป็นกลาง ๆ (เช่นเสียง) กับตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดี (เช่นถูกไฟดูด เสียงดัง หรือกลิ่นเหม็น) ในที่สุด การจับคู่เช่นนั้นเป็นเหตุให้สิ่งมีชีวิตตอบสนองด้วยความกลัว ต่อตัวกระตุ้นหรือสิ่งแวดล้อมที่ในตอนแรกเป็นกลาง ๆ เพียงลำพังโดยปราศจากตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดี ถ้าใช้ศัพท์ที่เกี่ยวกับการปรับสภาวะแบบคลาสสิก (classical conditioning) ตัวกระตุ้นหรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นกลาง ๆ เรียกว่า สิ่งเร้ามีเงื่อนไข (conditional stimulus) ส่วนตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดีเรียกว่า สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (unconditional stimulus) และความกลัวที่เกิดขึ้นในที่สุดของการปรับสภาวะเรียกว่า การตอบสนองมีเงื่อนไข (conditional response)
มีการศึกษาเรื่องการปรับภาวะให้เกิดความกลัวในสัตว์สปีชีส์ต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่หอยทากจนกระทั่งถึงมนุษย์ ในมนุษย์ ความกลัวมีเงื่อนไขวัดได้โดยการรายงานของผู้รับการทดสอบและการตอบสนองทางผิวหนังโดยการนำกระแสไฟ (galvanic skin response) ในสัตวอื่น ความกลัวมีเงื่อนไขวัดได้โดยการมีตัวแข็งของสัตว์ (คือช่วงเวลาที่สัตว์ทำการสังเกตการณ์โดยไม่มีการเคลื่อนไหว) หรือโดย fear potentiated startle ซึ่งเป็นการตอบสนองโดยรีเฟล็กซ์ต่อตัวกระตุ้นที่น่ากลัว ความเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ และการตอบสนองในกล้ามเนื้อวัดโดยการบันทึกคลื่นไฟฟ้าในกล้ามเนื้อ (electromyography) ก็สามารถใช้ได้ในการวัดความกลัวมีเงื่อนไข
การปรับภาวะให้เกิดความกลัวเชื่อกันว่า อาศัยเขตในสมองที่เรียกว่า อะมิกดะลา (amygdala) การตัดออกหรือการยับยั้งการทำงานของอะมิกดะลาสามารถยับยั้งทั้งการเรียนรู้และการแสดงออกของความกลัว การปรับภาวะให้เกิดความกลัวบางประเภท (แบบ contextual และ trace) ก็อาศัยเขตฮิปโปแคมปัสด้วย ซึ่งเป็นเขตสมองเชื่อกันว่ารับพลังประสาทนำเข้าจากอะมิกดะลาและประสานสัญญาณนั้นกับข้อมูลประสบการณ์ที่เคยมีมาก่อนที่ทำให้ตัวกระตุ้นนั้นมีความหมาย
ทฤษฎีที่ใช้อธิบายประสบการณ์ที่ให้เกิดความบาดเจ็บหรือความเครียดทางจิตใจ บอกเป็นนัยว่า ความหวาดกลัวที่อาศัยอะมิกดะลาจะไม่อาศัยฮิปโปแคมปัสในช่วงเวลาที่กำลังประสบความเครียดอย่างรุนแรง และจะมีการบันทึกประสบการณ์นั้นไว้ทางกายภาพหรือโดยเป็นภาพ เป็นความรู้สึกที่สามารถจะกลับมาเกิดขึ้นอีกปรากฏเป็นอาการต่าง ๆ ทางกายภาพ หรือเป็นภาพย้อนหลัง (flashback) โดยที่ไม่มีความหมายเกี่ยวข้องเหตุการณ์ที่กำลังเกิดในปัจจุบัน
นักทฤษฎีบางพวกเสนอว่า ความกลัวมีเงื่อนไขเป็นไปร่วมกับเหตุเกิดของโรควิตกกังวลประเภทต่าง ๆ ทั้งโดยกิจและโดยระบบประสาท งานวิจัยเกี่ยวกับการได้มา (acquisition) การทำให้มั่นคง (consolidation) และความสูญไป (extinction) ของความกลัวมีเงื่อนไข อาจจะนำไปสู่การบำบัดรักษาทางเวชกรรมหรือทางจิตบำบัดใหม่ ๆ เพื่อโรคต่าง ๆ เช่น โรคกลัวประเภทต่าง ๆ และความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (post-traumatic stress disorder)
ผลงานวิจัยของโจเซ็ฟ เลอดูซ์
โจเซ็ฟ เลอดูซ์ นักประสาทวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน พบวิถีประสาทสองทางในอะมิกดะลาในสมองของหนูทดลองที่ทำการทดลองโดยการปรับภาวะให้เกิดความกลัวและโดยทำรอยโรค เลอดูซ์เรียกวิถีประสาทเหล่านั้นว่า ทางบน (high road) และทางล่าง (low road) ทางล่างเป็นวิถีประสาทที่ส่งสัญญาณจากตัวกระตุ้นไปยังทาลามัส ต่อจากนั้นไปยังอะมิกดะลาซึ่งเริ่มการตอบสนองด้วยความกลัวในร่างกาย ลำดับการทำงานนี้เกิดขึ้นนอกอำนาจจิตใจไม่ประกอบด้วยการรับรู้ตัวกระตุ้น (เช่นสัตว์ยังไม่ทันมีความรู้สึกว่าเห็นตัวกระตุ้น แต่ก็เกิดความกลัวแล้ว) นึ่เป็นทางประสาทที่เร็วที่สุดที่จะให้เกิดการตอบสนองทางกาย แต่ว่า ทางบนนั้นก็เริ่มทำงานไปพร้อม ๆ กันกับทางล่าง แต่ว่าเป็นทางที่ช้ากว่าซึ่งเกี่ยวข้องกับเปลือกสมองเขตต่าง ๆ ที่ในที่สุดนำไปสู่การรับรู้ว่าตัวกระตุ้น (ที่ทำให้เกิดความกลัว) นั้นคืออะไร ทางล่างเป็นระบบใต้เปลือกสมอง (subcortical) เท่านั้น ดังนั้น เป็นทางที่พิจารณาว่าเป็นกลไกการป้องกันตัวแบบดั้งเดิมที่ไม่ซับซ้อน และมีอยู่ตามลำพังในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการที่ต่ำกว่า ที่ยังไม่มีการพัฒนาส่วนที่ซับซ้อนกว่าของสมอง ส่วนในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการที่สูงกว่า ทั้งทางบนทางล่างทำงานไปพร้อม ๆ กันเพื่อก่อให้เกิดทั้งการตอบสนองด้วยความกลัวและทั้งข้อมูลป้อนกลับคือการรับรู้ตัวกระตุ้นที่ทำให้เกิดความกลัว
การปรับภาวะให้เกิดความกลัวด้วยกลิ่นในหนูทดลอง
มีการใช้สารอินทรีย์ประกอบ Acetophenone ในการทดลองเพื่อตรวจสอบว่ามีการสืบทอดทางพันธุกรรมของประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียดจากพ่อแม่หรือไม่ โดยเป็นการทดลองแบบการปรับภาวะให้เกิดความกลัวด้วยกลิ่น กลิ่นของ Acetophenone จะเริ่มการทำงานของเซลล์รับกลิ่น (odorant receptor) ในระบบประสาท ซึ่งนำมาใช้ในการปรับสภาวะให้หนู การทดลองของไดแอสและเรสเรอร์ แสดงว่า ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอาจจะมีการสืบทอดทางพันธุกรรมที่ปรากฏทางพฤติกรรม ทางประสาทกายวิภาค และทางอีพีเจเนติกส์
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ conditioning ว่า "การปรับภาวะ"
- Maren, Stephen (2001). "Neurobiology of Pavlovian fear conditioning". Annual Review of Neuroscience. 24: 897–931. doi:10.1146/annurev.neuro.24.1.897. PMID 11520922.
- การตอบสนองของผิวหนังโดยการนำกระแสไฟ (galvanic skin response) เป็นวิธีการวัดการนำกระแสไฟฟ้าของผิวหนัง ซึ่งมีค่าต่าง ๆ กันไปขึ้นอยู่กับความชื้นของผิว นี่เป็นสิ่งที่น่าสนใจเพราะว่า ต่อมเหงื่ออยู่ใต้การบังคับของระบบประสาทซิมพาเทติก ดังนั้น การนำกระแสไฟฟ้าของผิวสามารถใช้เป็นเครื่องบ่งถึงความตื่นตัวทางจิตและทางกายภาพ
- fear potentiated startle เป็นการตอบสนองแบบรีเฟล็กซ์ทางกายภาพต่อตัวกระตุ้นที่ปรากฏ ซึ่งเป็นตัวชี้บอกปฏิกิริยาที่ประกอบด้วยความกลัวในสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยานี้เกิดได้เนื่องจากตัวกระตุ้นอะไรก็ได้ที่น่ากลัว เช่นจะเป็นวัตถุ หรือบุคคล หรือสถานการณ์ที่ทำให้สัตว์ประสบกับความรู้สึกกลัว แต่ในการทดลอง มักจะใช้เสียง เช่นเสียงดัง หรือแสง เช่นแสงสว่างมาก และวัดปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยอัตราการเต้นของหัวใจ
- Bromberg, Philip M. (2003). "Something wicked this way comes: Trauma, dissociation, and conflict: The space where psychoanalysis, cognitive science, and neuroscience overlap". Psychoanalytic Psychology. 20 (3): 558–74. doi:10.1037/0736-9735.20.3.558.
- Rosen, Jeffrey B.; Schulkin, Jay (1998). "From normal fear to pathological anxiety". Psychological Review. 105 (2): 325–50. doi:10.1037/0033-295X.105.2.325. PMID 9577241.
- LeDoux, Joseph (1996). The Emotional Brain: The Mysterious Underpinnings of Emotional Life. New York: Simon & Schuster.
- Acetophenone เป็นสารอินทรีย์ประกอบ (organic compound) มีสูตรเคมี C6H5C (0) CH3 เป็นคีโตนแบบ aromatic ที่ง่ายที่สุด เป็นของเหลวไม่มีสี เป็นสารตั้งต้นของเรซินและน้ำหอม
- Dias, B. G. & Ressler, K. J. (2013) . Parental olfactory experience influences behavior and neural structure in subsequent generations. Nature Neuroscience, Dec 01, 2013. PMID 24292232 (Retrieved December 21, 2013)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karprbphawaihekidkhwamklw xngkvs fear conditioning epnrupaebbthangphvtikrrmthisingmichiwiteriynruephuxphyakrnehtukarnthiimnaphungic epnrupaebbaehngkareriynruodycbkhusingaewdlxmthipktiepnklang echnsthanthi hruxtwkratunthiepnklang echnesiyng kbtwkratunthiimnayindi echnthukifdud esiyngdng hruxklinehmn inthisud karcbkhuechnnnepnehtuihsingmichiwittxbsnxngdwykhwamklw txtwkratunhruxsingaewdlxmthiintxnaerkepnklang ephiynglaphngodyprascaktwkratunthiimnayindi thaichsphththiekiywkbkarprbsphawaaebbkhlassik classical conditioning twkratunhruxsingaewdlxmthiepnklang eriykwa singeramienguxnikh conditional stimulus swntwkratunthiimnayindieriykwa singeraimmienguxnikh unconditional stimulus aelakhwamklwthiekidkhuninthisudkhxngkarprbsphawaeriykwa kartxbsnxngmienguxnikh conditional response mikarsuksaeruxngkarprbphawaihekidkhwamklwinstwspichistang erimtngaethxythakcnkrathngthungmnusy inmnusy khwamklwmienguxnikhwdidodykarrayngankhxngphurbkarthdsxbaelakartxbsnxngthangphiwhnngodykarnakraaesif galvanic skin response instwxun khwamklwmienguxnikhwdidodykarmitwaekhngkhxngstw khuxchwngewlathistwthakarsngektkarnodyimmikarekhluxnihw hruxody fear potentiated startle sungepnkartxbsnxngodyrieflkstxtwkratunthinaklw khwamepliynaeplngkhxngxtrakaretnkhxnghwic xtrakarhayic aelakartxbsnxnginklamenuxwdodykarbnthukkhluniffainklamenux electromyography ksamarthichidinkarwdkhwamklwmienguxnikh karprbphawaihekidkhwamklwechuxknwa xasyekhtinsmxngthieriykwa xamikdala amygdala kartdxxkhruxkarybyngkarthangankhxngxamikdalasamarthybyngthngkareriynruaelakaraesdngxxkkhxngkhwamklw karprbphawaihekidkhwamklwbangpraephth aebb contextual aela trace kxasyekhthipopaekhmpsdwy sungepnekhtsmxngechuxknwarbphlngprasathnaekhacakxamikdalaaelaprasansyyannnkbkhxmulprasbkarnthiekhymimakxnthithaihtwkratunnnmikhwamhmay thvsdithiichxthibayprasbkarnthiihekidkhwambadecbhruxkhwamekhriydthangcitic bxkepnnywa khwamhwadklwthixasyxamikdalacaimxasyhipopaekhmpsinchwngewlathikalngprasbkhwamekhriydxyangrunaerng aelacamikarbnthukprasbkarnnniwthangkayphaphhruxodyepnphaph epnkhwamrusukthisamarthcaklbmaekidkhunxikpraktepnxakartang thangkayphaph hruxepnphaphyxnhlng flashback odythiimmikhwamhmayekiywkhxngehtukarnthikalngekidinpccubn nkthvsdibangphwkesnxwa khwamklwmienguxnikhepniprwmkbehtuekidkhxngorkhwitkkngwlpraephthtang thngodykicaelaodyrabbprasath nganwicyekiywkbkaridma acquisition karthaihmnkhng consolidation aelakhwamsuyip extinction khxngkhwamklwmienguxnikh xaccanaipsukarbabdrksathangewchkrrmhruxthangcitbabdihm ephuxorkhtang echn orkhklwpraephthtang aelakhwamphidpktithiekidhlngkhwamekhriydthisaethuxnic post traumatic stress disorder phlnganwicykhxngocesf elxdusocesf elxdus nkprasathwithyasastrchawxemrikn phbwithiprasathsxngthanginxamikdalainsmxngkhxnghnuthdlxngthithakarthdlxngodykarprbphawaihekidkhwamklwaelaodytharxyorkh elxduseriykwithiprasathehlannwa thangbn high road aelathanglang low road thanglangepnwithiprasaththisngsyyancaktwkratunipyngthalams txcaknnipyngxamikdalasungerimkartxbsnxngdwykhwamklwinrangkay ladbkarthanganniekidkhunnxkxanacciticimprakxbdwykarrbrutwkratun echnstwyngimthnmikhwamrusukwaehntwkratun aetkekidkhwamklwaelw nuepnthangprasaththierwthisudthicaihekidkartxbsnxngthangkay aetwa thangbnnnkerimthanganipphrxm knkbthanglang aetwaepnthangthichakwasungekiywkhxngkbepluxksmxngekhttang thiinthisudnaipsukarrbruwatwkratun thithaihekidkhwamklw nnkhuxxair thanglangepnrabbitepluxksmxng subcortical ethann dngnn epnthangthiphicarnawaepnklikkarpxngkntwaebbdngedimthiimsbsxn aelamixyutamlaphnginstwthimiwiwthnakarthitakwa thiyngimmikarphthnaswnthisbsxnkwakhxngsmxng swninstwthimiwiwthnakarthisungkwa thngthangbnthanglangthanganipphrxm knephuxkxihekidthngkartxbsnxngdwykhwamklwaelathngkhxmulpxnklbkhuxkarrbrutwkratunthithaihekidkhwamklwkarprbphawaihekidkhwamklwdwyklininhnuthdlxngmikarichsarxinthriyprakxb Acetophenone inkarthdlxngephuxtrwcsxbwamikarsubthxdthangphnthukrrmkhxngprasbkarnthikxihekidkhwamekhriydcakphxaemhruxim odyepnkarthdlxngaebbkarprbphawaihekidkhwamklwdwyklin klinkhxng Acetophenone caerimkarthangankhxngesllrbklin odorant receptor inrabbprasath sungnamaichinkarprbsphawaihhnu karthdlxngkhxngidaexsaelaerserxr aesdngwa khxmulekiywkbsingaewdlxmxaccamikarsubthxdthangphnthukrrmthipraktthangphvtikrrm thangprasathkaywiphakh aelathangxiphiecentiksduephimkarpramwlphlihepnkhwamklwinsmxng xamikdalaechingxrrthaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng conditioning wa karprbphawa Maren Stephen 2001 Neurobiology of Pavlovian fear conditioning Annual Review of Neuroscience 24 897 931 doi 10 1146 annurev neuro 24 1 897 PMID 11520922 kartxbsnxngkhxngphiwhnngodykarnakraaesif galvanic skin response epnwithikarwdkarnakraaesiffakhxngphiwhnng sungmikhatang knipkhunxyukbkhwamchunkhxngphiw niepnsingthinasnicephraawa txmehnguxxyuitkarbngkhbkhxngrabbprasathsimphaethtik dngnn karnakraaesiffakhxngphiwsamarthichepnekhruxngbngthungkhwamtuntwthangcitaelathangkayphaph fear potentiated startle epnkartxbsnxngaebbrieflksthangkayphaphtxtwkratunthiprakt sungepntwchibxkptikiriyathiprakxbdwykhwamklwinsingmichiwit ptikiriyaniekididenuxngcaktwkratunxairkidthinaklw echncaepnwtthu hruxbukhkhl hruxsthankarnthithaihstwprasbkbkhwamrusukklw aetinkarthdlxng mkcaichesiyng echnesiyngdng hruxaesng echnaesngswangmak aelawdptikiriyathiekidkhunodyxtrakaretnkhxnghwic Bromberg Philip M 2003 Something wicked this way comes Trauma dissociation and conflict The space where psychoanalysis cognitive science and neuroscience overlap Psychoanalytic Psychology 20 3 558 74 doi 10 1037 0736 9735 20 3 558 Rosen Jeffrey B Schulkin Jay 1998 From normal fear to pathological anxiety Psychological Review 105 2 325 50 doi 10 1037 0033 295X 105 2 325 PMID 9577241 LeDoux Joseph 1996 The Emotional Brain The Mysterious Underpinnings of Emotional Life New York Simon amp Schuster Acetophenone epnsarxinthriyprakxb organic compound misutrekhmi C6H5C 0 CH3 epnkhiotnaebb aromatic thingaythisud epnkhxngehlwimmisi epnsartngtnkhxngersinaelanahxm Dias B G amp Ressler K J 2013 Parental olfactory experience influences behavior and neural structure in subsequent generations Nature Neuroscience Dec 01 2013 PMID 24292232 Retrieved December 21 2013