บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
บทความนี้ไม่มีจาก |
เอราโตสเทแนส (กรีก: Ἐρατοσθένης; Eratosthenes, [e.ra.tos.tʰé.nɛːs]) เป็นนักภูมิศาสตร์ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งภูมิศาสตร์” (father of geography) เนื่องจากว่าระหว่างที่ปราชญ์ท่านอื่นให้ความสนใจต่อการบรรยายทางภูมิศาสตร์อยู่นั้น เอราโตสเทแนสเป็นคนแรกที่ใช้คำว่าภูมิศาสตร์และเรียกตัวเองว่าเป็นนักภูมิศาสตร์ (geographer) และจากการสังเกตพบว่า งานทางภูมิศาสตร์ที่ผ่านมาทั้งหลายไม่ได้เกิดจากนักภูมิศาสตร์ที่แท้จริง นอกจากนี้ปราชญ์ผู้ศึกษาปรากฏการณ์เองก็ไม่ได้มีเป้าหมายในการอธิบายในเชิงภูมิศาสตร์ กล่าวกันว่า เขามีแนวทางในการศึกษาโดยมุ่งเน้นว่า โลกเป็นที่อยู่อาศัยของมวลมนุษย์ โดยเป็นคนแรกที่ค้นคิดหาวิธีการกำหนดตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่ต่างได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ จากการพิจารณาความสัมพันธ์ของที่ตั้งของเทหะวัตถุบนท้องฟ้า หรือจุดตำแหน่งบนพื้นผิวโลกกับการเคลื่อนที่ของเทหะวัตถุ ทั้งนี้ การคิดค้นระบบเส้นกริดอย่างหยาบ ๆ ของเอราโตสเทแนส ทำโดยการแบ่งโลกออกเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีเส้นสมมุติลากผ่านเมืองสำคัญและลักษณะภูมิประเทศที่โดดเด่น ระบบเส้นกริดนี้ใช้เป็นกรอบสำหรับสร้างแผนที่และการกำหนดที่ตั้ง ทำให้แผนที่มีความถูกต้องยิ่งขึ้น
เอราโตสเทแนสได้รับการศึกษาหลากหลายสาขา เป็นต้นว่า นิรุกติศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา เชื่อกันว่าเขาได้เข้าศึกษาทั้งใน Academy ของเพลโต และ Lyceam ของแอริสตอเติล เขาเกิดในอาณาจักรกรีกที่ไซรีนี (Cyrene) ในลิเบีย ต่อมาจึงย้ายไปอยู่ในเอเธนส์ ในปี 244 ก่อนคริสตกาล เขาได้รับเชิญจากกษัตริย์อียิปต์ให้ทำหน้าที่เป็นผู้สอนส่วนพระองค์ (royal tutor) และต่อมาได้เข้าทำงานที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ศูนย์รวมวิทยากรสมัยกรีก ในฐานะหัวหน้างานบรรณารักษ์ นานถึง 42 ปี (ระหว่าง ปี 234 – 192 ก่อนคริสตกาล)
ชื่อเสียงของเอราโตสเทแนสขจรกระจายอย่างกว้างขวาง เนื่องจากการยอมรับว่าโลกกลม และเขาพยายามคำนวณเส้นรอบโลก หรือ วงกลมใหญ่ และผลการคำนวณใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด กล่าวคือ คำนวณได้ 25,000 ไมล์ คาดเคลื่อนไปเพียง 140 ไมล์เท่านั้น วิธีการคำนวณนั้นเขาได้สังเกตตำแหน่งของพระอาทิตย์ ณ บริเวณ 2 จุด คือ เมืองไซอีนี (อัสวานในปัจจุบัน) และอะเล็กซานเดรีย ในช่วงครีษมายัน (วันที่ 21 มิถุนายน วันนี้มีแสงตั้งฉากของพระอาทิตย์จะขึ้นไปได้ไกลที่สุดในซีกโลกเหนือ และจะตกลงที่ละติจูด 23 องศาเหนือ ทุกส่วนในซีกโลกเหนือที่เหนือแนววงกลมอาร์กติก จะเป็นเวลากลางวัน 24 ชั่วโมง ส่วนในซีกโลกใต้ต่ำกว่าแนววงกลมแอนตาร์กติก จะเป็นเวลากลางคืน 24 ชั่วโมง ผลที่เกิดขึ้นในแต่ละละติจูดจะทำให้เส้นแบ่งเวลากลางวัน–กลางคืน ไม่เท่ากัน)
ณ เมืองไซอีนีบนเกาะแห่งหนึ่งในแม่น้ำไนล์ บริเวณพระอาทิตย์สะท้อนขึ้นมาจากน้ำก้นบ่อ เหตุการณ์เกิดขึ้นมาช้านานโดยไม่มีนักเดินทางคนใดเป็นพยานได้ เพราะขาดความสนใจ ลักษณะเช่นนี้แสดงว่า พระอาทิตย์ส่องแสงลงมาตรงหัวพอดี ในเวลาเที่ยงวัน และตำแหน่งที่สองที่เขาสังเกตคือ บริเวณนอกพิพิธภัณฑ์ในอะเล็กซานเดรีย ซึ่งมีอนุสาวรีย์ยอดแหลมตั้งอยู่ และเขาก็สามารถใช้อนุสาวรีย์แทน gnomon แล้ววัดความยาวของเงาอนุสาวรีย์ช่วงเที่ยงวันของวันครีษมายัน เพื่อคำนวณมุมระหว่างยอดอนุสาวรีย์กับทิศทางของแสงพระอาทิตย์
ด้วยข้อมูลเหล่านี้ เอราโตสเทแนสใช้หลักการเรขาคณิตของเธลีสข้อที่สามเกี่ยวกับเส้นคู่ขนานและมุมตรงข้าม ด้วยการสร้างเส้นคู่ขนานสมมุติขึ้นจากทิศทางของแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบพื้นโลกในวันนั้น ลำแสงอาทิตย์ ณ เมืองไซอีนีจะตั้งตรง ซึ่งเขาโยงไปยังแกนกลางโลก (SC) ส่วนที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ฐานของอนุสาวรีย์จะชี้ไปยัง (BOC) จะต้องมีค่าเท่ากับมุมตรงข้าม ณ ศูนย์กลางโลก (OCS)
คำถามต่อไปคือมุม OCS มีค่าเป็นเท่าไรของวงกลม เอราโตสเทแนสวัดระยะทางนี้ได้ 1/50 ของวงกลม โดยระยะทางระหว่างไซอีนี และอะเล็กซานเดรีย ชาวอียิปต์วัดได้ 5,000 stades ดังนั้น เขาจึงวัดเส้นรอบโลกได้เท่ากับ 50×5,000 หรือ 250,000 stades โดย 10 stades เท่ากับ 1 ไมล์ ดังนั้นความยาวของเส้นรอบโลกของเขา จึงเท่ากับ 25,000 ไมล์ ซึ่งถือกันว่าใกล้กับความจริงมากที่สุดเท่าที่มีการวัดมาของปราชญ์กรีกโบราณ ทั้งนี้เพราะเส้นรอบโลกวัดจากขั้นโลกเท่ากับ 24,860 ไมล์ อย่างไรก็ดีระยะทางระหว่างเมืองไซอีนี กับอะเล็กซานเดรียที่แท้จริงเท่ากับ 453 ไมล์
เอราโตสเทแนสเขียนหนังสือบรรยายถึงดินแดนที่มนุษย์ สามารถอาศัยอยู่ได้ หรือ ekumene (เอราโตสเทแนส เชื่อว่า ดินแดนที่มนุษย์สามารถอาศัยอยู่ได้แผ่ขยายจากเมือง Thule ทางเหนือลงมาถึง Taproban (Ceylon หรือศรีลังกา) ทางใต้ ส่วนทางตะวันตกเริ่มจากมหาสมุทรแอตแลนติกไปถึงอ่าวเบงกอลทางตะวันออก) ซึ่งเขายอมรับว่ามีอยู่จริง และยังได้แบ่งโลกออกเป็นสามส่วนคือ ยุโรป เอเชีย และลิเบีย นอกจากนี้ยังยอมรับการแบ่งส่วนของโลกออกเป็น 5 ส่วนที่แอริสตอเติลเสนอไว้ ได้แก่ เขตร้อน (torrid zone) เขตอบอุ่น 2 เขต (two temperate zones) และเขตหนาวเย็น 2 เขต (two frigid zones) เขาได้เสนอแนะเพิ่มเติมโดยใช้คณิตศาสตร์เข้าช่วยในการกำหนดเขตดังกล่าว กล่าวคือ เขตร้อนนั้น เขาคิดว่ามีความกว้างประมาณ 48 องศา โดยอยู่ระหว่างละติจูด 24 องศาเหนือ–ใต้ เขตหนาวเย็นกระจายอยู่ที่ขั้วโลกราว 24 องศา หรือตั้งแต่ละติจูด 84 องศาเหนือ–ใต้ขึ้นไป ขณะที่เขตอบอุ่นเป็นเขตที่อยู่ตรงกลางระหว่างละติจูด 24–89 องศาเหนือใต้
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir exraotsethaens krik Ἐratos8enhs Eratosthenes e ra tos tʰe nɛːs epnnkphumisastrthiidrbkarykyxngwaepn bidaaehngphumisastr father of geography enuxngcakwarahwangthiprachythanxunihkhwamsnictxkarbrryaythangphumisastrxyunn exraotsethaensepnkhnaerkthiichkhawaphumisastraelaeriyktwexngwaepnnkphumisastr geographer aelacakkarsngektphbwa nganthangphumisastrthiphanmathnghlayimidekidcaknkphumisastrthiaethcring nxkcakniprachyphusuksapraktkarnexngkimidmiepahmayinkarxthibayinechingphumisastr klawknwa ekhamiaenwthanginkarsuksaodymungennwa olkepnthixyuxasykhxngmwlmnusy odyepnkhnaerkthikhnkhidhawithikarkahndtaaehnngthitngkhxngsthanthitangidxyangthuktxng aemnya cakkarphicarnakhwamsmphnthkhxngthitngkhxngethhawtthubnthxngfa hruxcudtaaehnngbnphunphiwolkkbkarekhluxnthikhxngethhawtthu thngni karkhidkhnrabbesnkridxyanghyab khxngexraotsethaens thaodykaraebngolkxxkepnrupsiehliymphunpha miesnsmmutilakphanemuxngsakhyaelalksnaphumipraethsthioddedn rabbesnkridniichepnkrxbsahrbsrangaephnthiaelakarkahndthitng thaihaephnthimikhwamthuktxngyingkhun exraotsethaensidrbkarsuksahlakhlaysakha epntnwa niruktisastr khnitsastr aelaprchya echuxknwaekhaidekhasuksathngin Academy khxngephlot aela Lyceam khxngaexristxetil ekhaekidinxanackrkrikthiisrini Cyrene inliebiy txmacungyayipxyuinexethns inpi 244 kxnkhristkal ekhaidrbechiycakkstriyxiyiptihthahnathiepnphusxnswnphraxngkh royal tutor aelatxmaidekhathanganthiemuxngxaelksanedriy sunyrwmwithyakrsmykrik inthanahwhnanganbrrnarks nanthung 42 pi rahwang pi 234 192 kxnkhristkal chuxesiyngkhxngexraotsethaenskhcrkracayxyangkwangkhwang enuxngcakkaryxmrbwaolkklm aelaekhaphyayamkhanwnesnrxbolk hrux wngklmihy aelaphlkarkhanwniklekhiyngkhwamepncringmakthisud klawkhux khanwnid 25 000 iml khadekhluxnipephiyng 140 imlethann withikarkhanwnnnekhaidsngekttaaehnngkhxngphraxathity n briewn 2 cud khux emuxngisxini xswaninpccubn aelaxaelksanedriy inchwngkhrismayn wnthi 21 mithunayn wnnimiaesngtngchakkhxngphraxathitycakhunipidiklthisudinsikolkehnux aelacatklngthilaticud 23 xngsaehnux thukswninsikolkehnuxthiehnuxaenwwngklmxarktik caepnewlaklangwn 24 chwomng swninsikolkittakwaaenwwngklmaexntarktik caepnewlaklangkhun 24 chwomng phlthiekidkhuninaetlalaticudcathaihesnaebngewlaklangwn klangkhun imethakn n emuxngisxinibnekaaaehnghnunginaemnainl briewnphraxathitysathxnkhunmacaknaknbx ehtukarnekidkhunmachananodyimminkedinthangkhnidepnphyanid ephraakhadkhwamsnic lksnaechnniaesdngwa phraxathitysxngaesnglngmatrnghwphxdi inewlaethiyngwn aelataaehnngthisxngthiekhasngektkhux briewnnxkphiphithphnthinxaelksanedriy sungmixnusawriyyxdaehlmtngxyu aelaekhaksamarthichxnusawriyaethn gnomon aelwwdkhwamyawkhxngengaxnusawriychwngethiyngwnkhxngwnkhrismayn ephuxkhanwnmumrahwangyxdxnusawriykbthisthangkhxngaesngphraxathity dwykhxmulehlani exraotsethaensichhlkkarerkhakhnitkhxngethliskhxthisamekiywkbesnkhukhnanaelamumtrngkham dwykarsrangesnkhukhnansmmutikhuncakthisthangkhxngaesngxathitythitkkrathbphunolkinwnnn laaesngxathity n emuxngisxinicatngtrng sungekhaoyngipyngaeknklangolk SC swnthiemuxngxaelksanedriy thankhxngxnusawriycachiipyng BOC catxngmikhaethakbmumtrngkham n sunyklangolk OCS khathamtxipkhuxmum OCS mikhaepnethairkhxngwngklm exraotsethaenswdrayathangniid 1 50 khxngwngklm odyrayathangrahwangisxini aelaxaelksanedriy chawxiyiptwdid 5 000 stades dngnn ekhacungwdesnrxbolkidethakb 50 5 000 hrux 250 000 stades ody 10 stades ethakb 1 iml dngnnkhwamyawkhxngesnrxbolkkhxngekha cungethakb 25 000 iml sungthuxknwaiklkbkhwamcringmakthisudethathimikarwdmakhxngprachykrikobran thngniephraaesnrxbolkwdcakkhnolkethakb 24 860 iml xyangirkdirayathangrahwangemuxngisxini kbxaelksanedriythiaethcringethakb 453 iml exraotsethaensekhiynhnngsuxbrryaythungdinaednthimnusy samarthxasyxyuid hrux ekumene exraotsethaens echuxwa dinaednthimnusysamarthxasyxyuidaephkhyaycakemuxng Thule thangehnuxlngmathung Taproban Ceylon hruxsrilngka thangit swnthangtawntkerimcakmhasmuthraextaelntikipthungxawebngkxlthangtawnxxk sungekhayxmrbwamixyucring aelayngidaebngolkxxkepnsamswnkhux yuorp exechiy aelaliebiy nxkcakniyngyxmrbkaraebngswnkhxngolkxxkepn 5 swnthiaexristxetilesnxiw idaek ekhtrxn torrid zone ekhtxbxun 2 ekht two temperate zones aelaekhthnaweyn 2 ekht two frigid zones ekhaidesnxaenaephimetimodyichkhnitsastrekhachwyinkarkahndekhtdngklaw klawkhux ekhtrxnnn ekhakhidwamikhwamkwangpraman 48 xngsa odyxyurahwanglaticud 24 xngsaehnux it ekhthnaweynkracayxyuthikhwolkraw 24 xngsa hruxtngaetlaticud 84 xngsaehnux itkhunip khnathiekhtxbxunepnekhtthixyutrngklangrahwanglaticud 24 89 xngsaehnuxit bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk