ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ฐานข้อมูลประกอบด้วยกลุ่มการจัดการข้อมูลสำหรับผู้ใช้หนึ่งคนหรือหลายๆ คน โดยทั่วไปมักอยู่ในรูปแบบดิจิทัล วิธีการแบ่งชนิดของฐานข้อมูลได้รูปแบบหนึ่งคือแบ่งตามชนิดของเนื้อหา เช่น บรรณานุกรม, เอกสารตัวอักษร, สถิติ โดยฐานข้อมูลดิจิทัลจะถูกจัดการโดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลซึ่งเก็บเนื้อหาฐานข้อมูล โดยอนุญาตให้สร้าง, ดูแลรักษา, ค้นหา และการเข้าถึงในรูปแบบอื่นๆ
ประวัติ
ฐานข้อมูลในลักษณะที่คล้ายกับฐานข้อมูลสมัยใหม่ ถูกพัฒนาเป็นครั้งแรกในทศวรรษ 1960 ซึ่งผู้บุกเบิกในสาขานี้คือ แบบจำลองข้อมูลสำคัญสองแบบเกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ ซึ่งเริ่มต้นด้วย (พัฒนาโดย CODASYL) และตามด้วย (นำไปปฏิบัติใน IMS) แบบจำลองทั้งสองแบบนี้ ในภายหลังถูกแทนที่ด้วย ซึ่งอยู่ร่วมสมัยกับแบบจำลองอีกสองแบบ แบบจำลองแบบแรกเรียกกันว่า ซึ่งออกแบบสำหรับงานที่มีขนาดเล็กมาก ๆ แบบจำลองร่วมสมัยกับแบบจำลองเชิงสัมพันธ์อีกแบบ คือ ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ หรือ โอโอดีบี3 (OODB)
ในขณะที่แบบจำลองเชิงสัมพันธ์ มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีเซต ได้มีการเสนอแบบจำลองดัดแปลงซึ่งใช้ทฤษฎีเซตคลุมเครือ (ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก) ขึ้นเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง
ปัจจุบันมีการกล่าวถึงมาตรฐานโครงสร้างฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลต่างระบบ ให้สืบค้นรวมกันเสมือนเป็นฐานข้อมูลเดียวกัน และการสืบค้นต้องแสดงผลตรงตามคำถาม มาตรฐานดังกล่าวได้แก่ XML RDF Dublin Core Metadata เป็นต้น และสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่จะช่วยให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลรหว่างต่างหน่วยงานได้ดี คือการใช้ Taxonomy และ อรรถาภิธาน ซึ่งเป็นเครื่องมือสำหรับจัดการความรู้ในลักษณะศัพท์ควบคุม เพื่อจำกัดความหมายของคำที่ใช้ได้หลายคำในความหมายเดียวกัน
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล ประกอบด้วย 3 ระดับ คือ ระดับภายนอก, ระดับแนวคิด และ ระดับภายใน โดยทั้ง 3 ระดับ จะถูกแบ่งแยกออกจากกันโดยชัดเจน ซึ่งทั้ง 3 ระดับเป็นลักษณะสำคัญหลักๆ ของแบบจำลองเชิงสัมพันธ์/แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ () ที่นิยมนำมาใช้กับฐานข้อมูลในยุคศตวรรษที่ 21
ระดับภายนอก คือ การบอกผู้ใช้ให้เข้าใจว่าจะจัดการข้อมูลได้อย่างไร โดยในฐานข้อมูลหนึ่งๆ สามารถมีจำนวนวิวที่ระดับภายในกี่วิวก็ได้ ระดับภายใน คือ การที่ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในที่จัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพและประมวลผลโดยระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างไร สถาปัตยกรรมภายในจะมีเกี่ยวข้องกับ ต้นทุน, ประสิทธิภาพ, การขยายขนาดของงาน และ ปัจจัยในการดำเนินการอื่นๆ ระดับแนวคิด คือ ระดับที่อยู่ระหว่างระดับภายในและระดับภายนอก โดยจะต้องจัดเตรียมวิวของฐานของมูลให้ไม่ซับซ้อน โดยจะมีรายละเอียดว่าจะจัดเก็บหรือจัดการข้อมูลอย่างไร, และสามารถรวมระดับภายนอกที่หลากหลายต่างๆ ให้สอดคล้องเข้าไว้ด้วยกัน
ระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) ประกอบด้วยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล, จัดเตรียมพื้นที่ในการเก็บ, การเข้าถึง, ระบบรักษาความปลอดภัย, สำรองข้อมูล และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถแบ่งหมวดหมู่ได้ตาม () ที่สนับสนุน อาทิเช่น () หรือ เป็นต้น แบ่งตามประเภทของคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุน อาทิเช่น server cluster หรือ โทรศัพท์พกพา เป็นต้น แบ่งตามประภทของภาษาสอบถามที่ใช้ในการเข้าถึงฐานข้อมูล อาทิเช่น ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง หรือ แบ่งตามประสิทธิภาพในการ trade-offs อาทิเช่น ขนาดที่ใหญ่ที่สุด หรือ ความเร็วสูงสุด หรือ อื่นๆ เป็นต้น ในบาง DBMS จะครอบคลุมมากกว่าหนึ่งหมวดหมู่ เช่น สนับสนุนภาษาสอบถามได้หลายๆ ภาษา ยกตัวอย่างเช่น ใน DBMS ที่นิยมใช้การอย่างแพร่หลาย MySQL, PostgreSQL, Microsoft Access, SQL Server, FileMaker,Oracle,Sybase, dBASE, Clipper,FoxPro อื่นๆ ในทุกๆ ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลจะมี Open Database Connectivity (ODBC) driver มาให้ด้วย เพื่ออนุญาตให้ฐานข้อมูลสามารถทำงานร่วมกับฐานข้อมูลแบบอื่นๆ ได้
การออกแบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูล (Designing Databases) มีความสำคัญต่อการจัดการระบบฐานข้อมูล (DBMS) ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลที่อยู่ภายในฐานข้อมูลจะต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล โครงสร้างของข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลและกระบวนการที่โปรแกรมประยุกต์จะเรียกใช้ฐานข้อมูล ดังนั้น เราจึงสามารถแบ่งวิธีการสร้างฐานข้อมูลได้ 3 ประเภท
1. รูปแบบข้อมูลแบบลำดับขั้น หรือโครงสร้างแบบลำดับขั้น (Hierarchical data model) วิธีการสร้างฐาน ข้อมูลแบบลำดับขั้นถูกพัฒนาโดยบริษัท ไอบีเอ็ม จำกัด ในปี 1980 ได้รับความนิยมมาก ในการพัฒนาฐานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง โดยที่โครงสร้างข้อมูลจะสร้างรูปแบบเหมือนต้นไม้ โดยความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหลาย (One- to -Many)
2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือข่าย (Network data Model) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายมีความคล้ายคลึงกับฐาน ข้อมูลแบบลำดับชั้น ต่างกันที่โครงสร้างแบบเครือข่าย อาจจะมีการติดต่อหลายต่อหนึ่ง (Many-to-one) หรือ หลายต่อหลาย (Many-to-many) กล่าวคือลูก (Child) อาจมีพ่อแม่ (Parent) มากกว่าหนึ่ง สำหรับตัวอย่างฐานข้อมูลแบบเครือข่ายให้ลองพิจารณาการจัดการข้อมูลของห้องสมุด ซึ่งรายการจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ ที่อยู่ ประเภท
3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล () เป็นลักษณะการออกแบบฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางที่มีระบบคล้ายแฟ้ม โดยที่ข้อมูลแต่ละแถว (Row) ของตารางจะแทนเรคอร์ด (Record) ส่วน ข้อมูลนแนวดิ่งจะแทนคอลัมน์ (Column) ซึ่งเป็นขอบเขตของข้อมูล (Field) โดยที่ตารางแต่ละตารางที่สร้างขึ้นจะเป็นอิสระ ดังนั้นผู้ออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึงตารางข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ เช่นระบบฐานข้อมูลบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วย ตารางประวัติพนักงาน ตารางแผนกและตารางข้อมูลโครงการ แสดงประวัติพนักงาน ตารางแผนก และตารางข้อมูลโครงการ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การออกแบบฐานข้อมูลในองค์กรขนาดเล็กเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานอาจเป็นเรื่องที่ไม่ยุ่งยากนัก เนื่องจากระบบและขั้นตอนการทำงานภายในองค์กรไม่ซับซ้อน ปริมาณข้อมูลที่มีก็ไม่มาก และจำนวนผู้ใช้งานฐานข้อมูลก็มีเพียงไม่กี่คน หากทว่าในองค์กรขนาดใหญ่ ซึ่งมีระบบและขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อน รวมทั้งมีปริมาณข้อมูลและผู้ใช้งานจำนวนมาก การออกแบบฐานข้อมูลจะเป็นเรื่องที่มีความละเอียดซับซ้อน และต้องใช้เวลาในการดำเนินการนานพอควรทีเดียว ทั้งนี้ ฐานข้อมูลที่ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสมจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้งานภายในหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กรได้ ซึ่งจะทำให้การดำเนินงานขององค์กรมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เป็นผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อการลงทุนเพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลภายในองค์กรทั้งนี้ การออกแบบฐานข้อมูลที่นำซอฟต์แวร์ระบบจัดการฐานข้อมูลมาช่วยในการดำเนินการ สามารถจำแนกหลักในการดำเนินการได้ 6 ขั้นตอน คือ
1.การรวบรวมและวิเคราะห์ความต้องการในการใช้ข้อมูล
2.การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล
3.การออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด
4.การนำฐานข้อมูลที่ออกแบบในระดับแนวคิดเข้าสู่ระบบจัดการฐานข้อมูล
5.การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ
6.การนำฐานข้อมูลไปใช้และการประเมินผล
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ หรือในระดับแนวความคิด เป็นขั้นตอนการออกแบบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในระบบโดยใช้แบบจำลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ซึ่งอธิบายโดยใช้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (E-R Diagram) จากแผนภาพ E-R Diagram นำมาสร้างเป็นตารางข้อมูล (Mapping E-R Diagram to Relation) และใช้ทฤษฏีการ Normalization เพื่อเป็นการรับประกันว่าข้อมูลมีความซ้ำซ้อนกันน้อยที่สุด ซึ่งการออกแบบเชิงตรรกะนี้จะบอกถึงรายละเอียดของ Relation , Attribute และ Entity
อ้างอิง
- Date 1990, pp. 31–32
แหล่งข้อมูล
- (1973). "The Programmer as Navigator". Communications of the ACM. 16 (11): 653–658. doi:10.1145/355611.362534.
- Beynon-Davies, Paul (2003). Database Systems (3rd ed.). Palgrave Macmillan. ISBN .
- Chapple, Mike (2005). "SQL Fundamentals". Databases. About.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 February 2009. สืบค้นเมื่อ 28 January 2009.
- (1968a). Description of a set-theoretic data structure (PDF) (Technical report). CONCOMP (Research in Conversational Use of Computers) Project. University of Michigan. Technical Report 3.
- (1968b). Feasibility of a set-theoretic data structure: a general structure based on a reconstituted definition (PDF) (Technical report). CONCOMP (Research in Conversational Use of Computers) Project. University of Michigan. Technical Report 6.
- Chong, Raul F.; Wang, Xiaomei; Dang, Michael; Snow, Dwaine R. (2007). "Introduction to DB2". Understanding DB2: Learning Visually with Examples (2nd ed.). ISBN . สืบค้นเมื่อ 17 March 2013.
- (1970). "A Relational Model of Data for Large Shared Data Banks" (PDF). Communications of the ACM. 13 (6): 377–387. doi:10.1145/362384.362685. S2CID 207549016.
- Connolly, Thomas M.; Begg, Carolyn E. (2014). Database Systems – A Practical Approach to Design Implementation and Management (6th ed.). Pearson. ISBN .
- (2003). An Introduction to Database Systems (8th ed.). Pearson. ISBN .
- Halder, Raju; Cortesi, Agostino (2011). "Abstract Interpretation of Database Query Languages" (PDF). Computer Languages, Systems & Structures. 38 (2): 123–157. doi:10.1016/j.cl.2011.10.004. ISSN 1477-8424.
- Hershey, William; Easthope, Carol (1972). A set theoretic data structure and retrieval language. Spring Joint Computer Conference, May 1972. ACM SIGIR Forum. Vol. 7 no. 4. pp. 45–55. doi:10.1145/1095495.1095500.
- Nelson, Anne Fulcher; Nelson, William Harris Morehead (2001). Building Electronic Commerce: With Web Database Constructions. Prentice Hall. ISBN .
- North, Ken (10 March 2010). "Sets, Data Models and Data Independence". Dr. Dobb's. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 October 2010.
- Tsitchizris, Dionysios C.; Lochovsky, Fred H. (1982). Data Models. Prentice–Hall. ISBN .
- Ullman, Jeffrey; Widom, Jennifer (1997). A First Course in Database Systems. Prentice–Hall. ISBN .
- Wagner, Michael (2010), SQL/XML:2006 – Evaluierung der Standardkonformität ausgewählter Datenbanksysteme, Diplomica Verlag, ISBN
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
- Ling Liu and Tamer M. Özsu (Eds.) (2009). "Encyclopedia of Database Systems, 4100 p. 60 illus. ISBN .
- Gray, J. and Reuter, A. Transaction Processing: Concepts and Techniques, 1st edition, Morgan Kaufmann Publishers, 1992.
- Kroenke, David M. and David J. Auer. Database Concepts. 3rd ed. New York: Prentice, 2007.
- and , Database Management Systems
- , , S. Sudarshan, Database System Concepts
- Lightstone, S.; Teorey, T.; Nadeau, T. (2007). Physical Database Design: the database professional's guide to exploiting indexes, views, storage, and more. Morgan Kaufmann Press. ISBN .
- Teorey, T.; Lightstone, S. and Nadeau, T. Database Modeling & Design: Logical Design, 4th edition, Morgan Kaufmann Press, 2005. ISBN
แหล่งข้อมูลอื่น
- DB File extension – ข้อมูลเกี่ยวกับไฟล์ที่มีนามสกุล DB
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud thankhxmulprakxbdwyklumkarcdkarkhxmulsahrbphuichhnungkhnhruxhlay khn odythwipmkxyuinrupaebbdicithl withikaraebngchnidkhxngthankhxmulidrupaebbhnungkhuxaebngtamchnidkhxngenuxha echn brrnanukrm exksartwxksr sthiti odythankhxmuldicithlcathukcdkarodyichrabbcdkarthankhxmulsungekbenuxhathankhxmul odyxnuyatihsrang duaelrksa khnha aelakarekhathunginrupaebbxunprawtithankhxmulinlksnathikhlaykbthankhxmulsmyihm thukphthnaepnkhrngaerkinthswrrs 1960 sungphubukebikinsakhanikhux aebbcalxngkhxmulsakhysxngaebbekidkhuninchwngewlani sungerimtndwy phthnaody CODASYL aelatamdwy naipptibtiin IMS aebbcalxngthngsxngaebbni inphayhlngthukaethnthidwy sungxyurwmsmykbaebbcalxngxiksxngaebb aebbcalxngaebbaerkeriykknwa sungxxkaebbsahrbnganthimikhnadelkmak aebbcalxngrwmsmykbaebbcalxngechingsmphnthxikaebb khux thankhxmulechingwtthu hrux oxoxdibi3 OODB inkhnathiaebbcalxngechingsmphnth miphunthanmacakthvsdiest idmikaresnxaebbcalxngddaeplngsungichthvsdiestkhlumekhrux sungmiphunthanmacak khunepnxikthangeluxkhnung pccubnmikarklawthungmatrthanokhrngsrangthankhxmul ephuxihsamarthechuxmoyngthankhxmultangrabb ihsubkhnrwmknesmuxnepnthankhxmulediywkn aelakarsubkhntxngaesdngphltrngtamkhatham matrthandngklawidaek XML RDF Dublin Core Metadata epntn aelasingsakhyxikprakarhnungthicachwyihkaraelkepliynkhxmulrhwangtanghnwynganiddi khuxkarich Taxonomy aela xrrthaphithan sungepnekhruxngmuxsahrbcdkarkhwamruinlksnasphthkhwbkhum ephuxcakdkhwamhmaykhxngkhathiichidhlaykhainkhwamhmayediywknsthaptykrrmsthaptykrrmthankhxmul prakxbdwy 3 radb khux radbphaynxk radbaenwkhid aela radbphayin odythng 3 radb cathukaebngaeykxxkcakknodychdecn sungthng 3 radbepnlksnasakhyhlk khxngaebbcalxngechingsmphnth aebbcalxngthankhxmulechingsmphnth thiniymnamaichkbthankhxmulinyukhstwrrsthi 21 radbphaynxk khux karbxkphuichihekhaicwacacdkarkhxmulidxyangir odyinthankhxmulhnung samarthmicanwnwiwthiradbphayinkiwiwkid radbphayin khux karthikhxmulcathukekbiwinthicdekbkhxmulechingkayphaphaelapramwlphlodyrabbkhxmphiwetxridxyangir sthaptykrrmphayincamiekiywkhxngkb tnthun prasiththiphaph karkhyaykhnadkhxngngan aela pccyinkardaeninkarxun radbaenwkhid khux radbthixyurahwangradbphayinaelaradbphaynxk odycatxngcdetriymwiwkhxngthankhxngmulihimsbsxn odycamiraylaexiydwacacdekbhruxcdkarkhxmulxyangir aelasamarthrwmradbphaynxkthihlakhlaytang ihsxdkhlxngekhaiwdwyknrabbcdkarthankhxmulrabbcdkarthankhxmul DBMS prakxbdwysxftaewrthiichinkarcdkarthankhxmul cdetriymphunthiinkarekb karekhathung rabbrksakhwamplxdphy sarxngkhxmul aelasingxanwykhwamsadwkxun rabbcdkarthankhxmulsamarthaebnghmwdhmuidtam thisnbsnun xathiechn hrux epntn aebngtampraephthkhxngkhxmphiwetxrthisnbsnun xathiechn server cluster hrux othrsphthphkpha epntn aebngtampraphthkhxngphasasxbthamthiichinkarekhathungthankhxmul xathiechn phasasxbthamechingokhrngsrang hrux aebngtamprasiththiphaphinkar trade offs xathiechn khnadthiihythisud hrux khwamerwsungsud hrux xun epntn inbang DBMS cakhrxbkhlummakkwahnunghmwdhmu echn snbsnunphasasxbthamidhlay phasa yktwxyangechn in DBMS thiniymichkarxyangaephrhlay MySQL PostgreSQL Microsoft Access SQL Server FileMaker Oracle Sybase dBASE Clipper FoxPro xun inthuk sxftaewrthankhxmulcami Open Database Connectivity ODBC driver maihdwy ephuxxnuyatihthankhxmulsamarththanganrwmkbthankhxmulaebbxun idkarxxkaebbthankhxmulkarxxkaebbthankhxmul Designing Databases mikhwamsakhytxkarcdkarrabbthankhxmul DBMS thngnienuxngcakkhxmulthixyuphayinthankhxmulcatxngsuksathungkhwamsmphnthkhxngkhxmul okhrngsrangkhxngkhxmulkarekhathungkhxmulaelakrabwnkarthiopraekrmprayuktcaeriykichthankhxmul dngnn eracungsamarthaebngwithikarsrangthankhxmulid 3 praephth 1 rupaebbkhxmulaebbladbkhn hruxokhrngsrangaebbladbkhn Hierarchical data model withikarsrangthan khxmulaebbladbkhnthukphthnaodybristh ixbiexm cakd inpi 1980 idrbkhwamniymmak inkarphthnathankhxmulbnekhruxngkhxmphiwetxrkhnadihyaelakhnadklang odythiokhrngsrangkhxmulcasrangrupaebbehmuxntnim odykhwamsmphnthepnaebbhnungtxhlay One to Many 2 rupaebbkhxmulaebbekhruxkhay Network data Model thankhxmulaebbekhruxkhaymikhwamkhlaykhlungkbthan khxmulaebbladbchn tangknthiokhrngsrangaebbekhruxkhay xaccamikartidtxhlaytxhnung Many to one hrux hlaytxhlay Many to many klawkhuxluk Child xacmiphxaem Parent makkwahnung sahrbtwxyangthankhxmulaebbekhruxkhayihlxngphicarnakarcdkarkhxmulkhxnghxngsmud sungraykarcaprakxbdwy chuxeruxng phuaetng sankphimph thixyu praephth 3 rupaebbkhwamsmphnthkhxmul epnlksnakarxxkaebbthankhxmulodycdkhxmulihxyuinrupkhxngtarangthimirabbkhlayaefm odythikhxmulaetlaaethw Row khxngtarangcaaethnerkhxrd Record swn khxmulnaenwdingcaaethnkhxlmn Column sungepnkhxbekhtkhxngkhxmul Field odythitarangaetlatarangthisrangkhuncaepnxisra dngnnphuxxkaebbthankhxmulcatxngmikarwangaephnthungtarangkhxmulthicaepntxngich echnrabbthankhxmulbristhaehnghnung prakxbdwy tarangprawtiphnkngan tarangaephnkaelatarangkhxmulokhrngkar aesdngprawtiphnkngan tarangaephnk aelatarangkhxmulokhrngkar karxxkaebbthankhxmulechingsmphnth karxxkaebbthankhxmulinxngkhkrkhnadelkephuxtxbsnxngkhwamtxngkarkhxngphuichnganxacepneruxngthiimyungyaknk enuxngcakrabbaelakhntxnkarthanganphayinxngkhkrimsbsxn primankhxmulthimikimmak aelacanwnphuichnganthankhxmulkmiephiyngimkikhn hakthwainxngkhkrkhnadihy sungmirabbaelakhntxnkarthanganthisbsxn rwmthngmiprimankhxmulaelaphuichngancanwnmak karxxkaebbthankhxmulcaepneruxngthimikhwamlaexiydsbsxn aelatxngichewlainkardaeninkarnanphxkhwrthiediyw thngni thankhxmulthiidrbkarxxkaebbxyangehmaasmcasamarthtxbsnxngtxkhwamtxngkarkhxngphuichnganphayinhnwyngantang khxngxngkhkrid sungcathaihkardaeninngankhxngxngkhkrmiprasiththiphaphdiyingkhun epnphltxbaethnthikhumkhatxkarlngthunephuxphthnarabbthankhxmulphayinxngkhkrthngni karxxkaebbthankhxmulthinasxftaewrrabbcdkarthankhxmulmachwyinkardaeninkar samarthcaaenkhlkinkardaeninkarid 6 khntxn khux 1 karrwbrwmaelawiekhraahkhwamtxngkarinkarichkhxmul 2 kareluxkrabbcdkarthankhxmul 3 karxxkaebbthankhxmulinradbaenwkhid 4 karnathankhxmulthixxkaebbinradbaenwkhidekhasurabbcdkarthankhxmul 5 karxxkaebbthankhxmulinradbkayphaph 6 karnathankhxmulipichaelakarpraeminphl karxxkaebbthankhxmulinradbtrrka karxxkaebbthankhxmulinradbtrrka hruxinradbaenwkhwamkhid epnkhntxnkarxxkaebbkhwamsmphnthrahwangkhxmulinrabbodyichaebbcalxngkhxmulechingsmphnth sungxthibayodyichaephnphaphaesdngkhwamsmphnthrahwangkhxmul E R Diagram cakaephnphaph E R Diagram namasrangepntarangkhxmul Mapping E R Diagram to Relation aelaichthvstikar Normalization ephuxepnkarrbpraknwakhxmulmikhwamsasxnknnxythisud sungkarxxkaebbechingtrrkanicabxkthungraylaexiydkhxng Relation Attribute aela EntityxangxingDate 1990 pp 31 32harvnb error no target CITEREFDate1990 aehlngkhxmul 1973 The Programmer as Navigator Communications of the ACM 16 11 653 658 doi 10 1145 355611 362534 Beynon Davies Paul 2003 Database Systems 3rd ed Palgrave Macmillan ISBN 978 1403916013 Chapple Mike 2005 SQL Fundamentals Databases About com ekbcakaehlngedimemux 22 February 2009 subkhnemux 28 January 2009 1968a Description of a set theoretic data structure PDF Technical report CONCOMP Research in Conversational Use of Computers Project University of Michigan Technical Report 3 1968b Feasibility of a set theoretic data structure a general structure based on a reconstituted definition PDF Technical report CONCOMP Research in Conversational Use of Computers Project University of Michigan Technical Report 6 Chong Raul F Wang Xiaomei Dang Michael Snow Dwaine R 2007 Introduction to DB2 Understanding DB2 Learning Visually with Examples 2nd ed ISBN 978 0131580183 subkhnemux 17 March 2013 1970 A Relational Model of Data for Large Shared Data Banks PDF Communications of the ACM 13 6 377 387 doi 10 1145 362384 362685 S2CID 207549016 Connolly Thomas M Begg Carolyn E 2014 Database Systems A Practical Approach to Design Implementation and Management 6th ed Pearson ISBN 978 1292061184 2003 An Introduction to Database Systems 8th ed Pearson ISBN 978 0321197849 Halder Raju Cortesi Agostino 2011 Abstract Interpretation of Database Query Languages PDF Computer Languages Systems amp Structures 38 2 123 157 doi 10 1016 j cl 2011 10 004 ISSN 1477 8424 Hershey William Easthope Carol 1972 A set theoretic data structure and retrieval language Spring Joint Computer Conference May 1972 ACM SIGIR Forum Vol 7 no 4 pp 45 55 doi 10 1145 1095495 1095500 Nelson Anne Fulcher Nelson William Harris Morehead 2001 Building Electronic Commerce With Web Database Constructions Prentice Hall ISBN 978 0201741308 North Ken 10 March 2010 Sets Data Models and Data Independence Dr Dobb s ekbcakaehlngedimemux 24 October 2010 Tsitchizris Dionysios C Lochovsky Fred H 1982 Data Models Prentice Hall ISBN 978 0131964280 Ullman Jeffrey Widom Jennifer 1997 A First Course in Database Systems Prentice Hall ISBN 978 0138613372 Wagner Michael 2010 SQL XML 2006 Evaluierung der Standardkonformitat ausgewahlter Datenbanksysteme Diplomica Verlag ISBN 978 3836696098hnngsuxxanephimetimLing Liu and Tamer M Ozsu Eds 2009 Encyclopedia of Database Systems 4100 p 60 illus ISBN 978 0 387 49616 0 Gray J and Reuter A Transaction Processing Concepts and Techniques 1st edition Morgan Kaufmann Publishers 1992 Kroenke David M and David J Auer Database Concepts 3rd ed New York Prentice 2007 and Database Management Systems S Sudarshan Database System Concepts Lightstone S Teorey T Nadeau T 2007 Physical Database Design the database professional s guide to exploiting indexes views storage and more Morgan Kaufmann Press ISBN 978 0 12 369389 1 Teorey T Lightstone S and Nadeau T Database Modeling amp Design Logical Design 4th edition Morgan Kaufmann Press 2005 ISBN 0 12 685352 5aehlngkhxmulxunthankhxmul thiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy phaphaelasuxcakkhxmmxnsenuxhakhawcakwikikhawkhakhmcakwikikhakhmkhxmultnchbbcakwikisxrshnngsuxcakwikitara DB File extension khxmulekiywkbiflthiminamskul DB bthkhwamkhxmphiwetxr xupkrntang hruxekhruxkhayniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk