ในสาขาจิตวิทยาเชิงประชานและทฤษฎีการตัดสินใจ ความอนุรักษนิยม หรือ ความเอนเอนเอียงเชิงอนุรักษนิยม (อังกฤษ: conservatism, conservatism bias) เป็นความโน้มเอียงที่จะเปลี่ยนความเชื่อของตนอย่างไม่เพียงพอเมื่อได้หลักฐานใหม่ ๆ เป็นลักษณะการเปลี่ยนความเชื่อของมนุษย์ที่ให้ความสำคัญกับความน่าจะเป็นก่อน (prior distribution, base rate) เกินจริง และให้ความสำคัญแก่หลักฐานใหม่น้อยเกินไปโดยเทียบกับแบบจำลองการเปลี่ยนความคิดแบบเบย์เซียน (Bayesian belief-revision)
ตามทฤษฎีนี้ "ความคิดเห็นเปลี่ยนไปอย่างมีระเบียบมาก มักจะเป็นไปตามสัดส่วนของตัวเลขที่ระบุโดยทฤษฎีของเบยส์ แต่ก็ยังน้อยเกินไป" กล่าวอีกอย่างก็คือ มนุษย์จะอัปเดตความเชื่อที่มีอยู่ก่อนเมื่อมีหลักฐานใหม่ แต่ก็เปลี่ยนช้าเกินไปเทียบกับทฤษฎีของเบยส์
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน วาร์ด เอ็ดวาร์ดส์ได้รายงานถึงปรากฏการณ์นี้ในปี 1968 ตามการทดลองเช่นดังต่อไปนี้
มีกระเป๋าสะพายหลังสองใบ ใบหนึ่งมีเบี้ยสีแดง 700 อัน และเบี้ยสีน้ำเงิน 300 อัน กระเป๋าอีกใบมีเบี้ยแดง 300 อัน และเบี้ยน้ำเงิน 700 อัน ให้เอากระเป๋ามาใบหนึ่ง ต่อไปให้สุ่มตัวอย่างเอาเบี้ยอันหนึ่งแล้วนำคืนใส่กระเป๋า ในการชักตัวอย่าง 12 ครั้ง คุณได้เบี้ยสีแดง 8 อัน สีน้ำเงิน 4 อัน มีความน่าจะเป็นเท่าไรที่กระเป๋าที่คุณได้เป็นกระเป๋าที่มีเบี้ยแดงโดยมาก
ผู้ร่วมการทดลองโดยมากเลือกคำตอบราว ๆ .7 แต่คำตอบตามทฤษฎีของเบยส์อยู่ใกล้ ๆ .97 เอ็ดวาร์ดส์เสนอว่า มนุษย์เปลี่ยนความเชื่ออย่างอนุรักษนิยม เป็นไปตามทฤษฎีของเบยส์แต่ก็ช้ากว่า คือ เปลี่ยนค่าความน่าจะเป็นที่เริ่มจาก .5 อย่างไม่แม่นยำ โดยเป็นไปตามความเอนเอียงที่เห็นได้จากการทดลองหลายการทดลอง
ในการเงิน
ในสาขาการเงิน มีหลักฐานว่านักลงทุนตอบสนองน้อยเกินไปต่อเหตุการณ์ที่เกิดกับบริษัท ซึ่งเป็นไปตามคาดเนื่องกับปรากฏการณ์นี้ เหตุการณ์รวมทั้งการประกาศรายได้ การเปลี่ยนเงินปันผล และการแตกหุ้น
คำอธิบาย
คำอธิบายดั้งเดิมของปรากฏการณ์นี้ก็คือมันเป็นส่วนเพิ่มของ ความเอนเอียงโดยตั้งหลัก (anchoring bias) "หลัก" (anchor) ที่ตั้งไว้แต่แรกคือค่าความน่าจะเป็นที่ .5 เมื่อมีทางเลือกสองทางโดยไม่มีหลักฐานอื่น แล้วต่อมาไม่สามารถปรับให้ไกลจากหลักนี้ได้พอ แต่งานศึกษาปี 2012 เสนอว่า ความอนุรักษนิยมในการเปลี่ยนความคิดอาจอธิบายได้โดยกลไกทางทฤษฎีสารสนเทศที่สมมุติว่า การแปลงหลักฐานที่เป็นปรวิสัย (คือหลักฐานที่ได้) ให้เป็นค่าประเมินทางอัตวิสัย (คือการตัดสินใจ) เป็นกระบวนการที่มีสัญญาณกวนมาก งานศึกษาอธิบายว่า ค่าประเมินของความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไขเป็นไปในทางอนุรักษนิยม เพราะมีสัญญาณรบกวนในการระลึกถึงความจำ โดยสัญญาณรบกวนนิยามว่า เป็นหลักฐานที่ผสมผเสกัน
งานทดลองที่ให้รางวัลกับผู้ร่วมการทดลองพบว่า ปรากฏการณ์นี้สามารถทำให้ลดลงได้สำหรับผู้ที่มีสมรรถภาพทางประชานดี แต่ก็ยังไม่หายไปโดยสิ้นเชิง
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Edwards, Ward. "Conservatism in Human Information Processing (excerpted)". In Daniel Kahneman, Paul Slovic and Amos Tversky. (1982). Judgment under uncertainty: Heuristics and biases. New York: Cambridge University Press.Original work published 1968.
- Kadiyala, Padmaja; Rau, P. Raghavendra (2004). "Investor Reaction to Corporate Event Announcements: Under-reaction or Over-reaction?". The Journal of Business. 77 (4): 357–386. doi:10.1086/381273. JSTOR 10.1086/381273. . Earlier version at doi:10.2139/ssrn.249979
- Hilbert, Martin (2012). "Toward a synthesis of cognitive biases: How noisy information processing can bias human decision making" (PDF). Psychological Bulletin. 138 (2): 211–237. doi:10.1037/a0025940. PMID 22122235.
- Oechssler, Jörg; Roider, Andreas; Schmitz, Patrick W. (2009). "Cognitive abilities and behavioral biases" (PDF). Journal of Economic Behavior & Organization. 72 (1): 147–152. doi:10.1016/j.jebo.2009.04.018.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha insakhacitwithyaechingprachanaelathvsdikartdsinic khwamxnurksniym hrux khwamexnexnexiyngechingxnurksniym xngkvs conservatism conservatism bias epnkhwamonmexiyngthicaepliynkhwamechuxkhxngtnxyangimephiyngphxemuxidhlkthanihm epnlksnakarepliynkhwamechuxkhxngmnusythiihkhwamsakhykbkhwamnacaepnkxn prior distribution base rate ekincring aelaihkhwamsakhyaekhlkthanihmnxyekinipodyethiybkbaebbcalxngkarepliynkhwamkhidaebbebyesiyn Bayesian belief revision tamthvsdini khwamkhidehnepliynipxyangmiraebiybmak mkcaepniptamsdswnkhxngtwelkhthirabuodythvsdikhxngebys aetkyngnxyekinip klawxikxyangkkhux mnusycaxpedtkhwamechuxthimixyukxnemuxmihlkthanihm aetkepliynchaekinipethiybkbthvsdikhxngebys nkcitwithyachawxemrikn ward exdwardsidraynganthungpraktkarnniinpi 1968 tamkarthdlxngechndngtxipni mikraepasaphayhlngsxngib ibhnungmiebiysiaedng 700 xn aelaebiysinaengin 300 xn kraepaxikibmiebiyaedng 300 xn aelaebiynaengin 700 xn ihexakraepamaibhnung txipihsumtwxyangexaebiyxnhnungaelwnakhuniskraepa inkarchktwxyang 12 khrng khunidebiysiaedng 8 xn sinaengin 4 xn mikhwamnacaepnethairthikraepathikhunidepnkraepathimiebiyaedngodymak phurwmkarthdlxngodymakeluxkkhatxbraw 7 aetkhatxbtamthvsdikhxngebysxyuikl 97 exdwardsesnxwa mnusyepliynkhwamechuxxyangxnurksniym epniptamthvsdikhxngebysaetkchakwa khux epliynkhakhwamnacaepnthierimcak 5 xyangimaemnya odyepniptamkhwamexnexiyngthiehnidcakkarthdlxnghlaykarthdlxnginkarengininsakhakarengin mihlkthanwanklngthuntxbsnxngnxyekiniptxehtukarnthiekidkbbristh sungepniptamkhadenuxngkbpraktkarnni ehtukarnrwmthngkarprakasrayid karepliynenginpnphl aelakaraetkhunkhaxthibaykhaxthibaydngedimkhxngpraktkarnnikkhuxmnepnswnephimkhxng khwamexnexiyngodytnghlk anchoring bias hlk anchor thitngiwaetaerkkhuxkhakhwamnacaepnthi 5 emuxmithangeluxksxngthangodyimmihlkthanxun aelwtxmaimsamarthprbihiklcakhlkniidphx aetngansuksapi 2012 esnxwa khwamxnurksniyminkarepliynkhwamkhidxacxthibayidodyklikthangthvsdisarsnethsthismmutiwa karaeplnghlkthanthiepnprwisy khuxhlkthanthiid ihepnkhapraeminthangxtwisy khuxkartdsinic epnkrabwnkarthimisyyankwnmak ngansuksaxthibaywa khapraeminkhxngkhwamnacaepnaebbmienguxnikhepnipinthangxnurksniym ephraamisyyanrbkwninkarralukthungkhwamca odysyyanrbkwnniyamwa epnhlkthanthiphsmpheskn nganthdlxngthiihrangwlkbphurwmkarthdlxngphbwa praktkarnnisamarththaihldlngidsahrbphuthimismrrthphaphthangprachandi aetkyngimhayipodysinechingduephimehtuphlwibtiodyxtraphunthan Belief perseverance raychuxkhwamexnexiyngthangprachanechingxrrthaelaxangxingEdwards Ward Conservatism in Human Information Processing excerpted In Daniel Kahneman Paul Slovic and Amos Tversky 1982 Judgment under uncertainty Heuristics and biases New York Cambridge University Press Original work published 1968 Kadiyala Padmaja Rau P Raghavendra 2004 Investor Reaction to Corporate Event Announcements Under reaction or Over reaction The Journal of Business 77 4 357 386 doi 10 1086 381273 JSTOR 10 1086 381273 Earlier version at doi 10 2139 ssrn 249979 Hilbert Martin 2012 Toward a synthesis of cognitive biases How noisy information processing can bias human decision making PDF Psychological Bulletin 138 2 211 237 doi 10 1037 a0025940 PMID 22122235 Oechssler Jorg Roider Andreas Schmitz Patrick W 2009 Cognitive abilities and behavioral biases PDF Journal of Economic Behavior amp Organization 72 1 147 152 doi 10 1016 j jebo 2009 04 018