ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม (อังกฤษ: Classical Conditioning) ของ อีวาน พาฟลอฟ
พฤติกรรมที่จะเกิดการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกได้มักเป็นพฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อน อันมีพื้นฐานมาจากการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การทำงานของต่อมต่าง ๆในร่างกาย การทำงานของระบบกล้ามเนื้อต่าง ๆ พฤติกรรมการตอบสนองในการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเหล่านี้ เรียกว่า พฤติกรรมตอบสนอง หรือพฤติกรรมที่เป็นไปโดยไม่ตั้งใจ
พาร์พลอฟ เชื่อว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตจำนวนมากเกิดจากการวางเงื่อนไข (conditioning) กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้าหนึ่งมักมีเงื่อนไขหรือสถานการณ์เกิดขึ้น ซึ่งในสภาพปกติหรือในชีวิตประจำวันการตอบสนองเช่นนั้นอาจไม่มี เช่น กรณีสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งและน้ำลายไหล เสียงกระดิ่งเป็นสิ่งเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข (เพราะโดยปกติเสียงกระดิ่งมิได้ทำให้สุนัขน้ำลายไหล แต่คนต้องการให้สุนัขน้ำลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง) พาร์พลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข (conditioned stimulus) และปฏิกิริยาน้ำลายไหล เป็นการตอบสนองที่เรียกว่าการตอบสนองที่มีเงื่อนไข (conditioned response)
อ้างอิง
- Jami, S.A., Wright, W.G. & Glanzman, D.L. (2007). Differential Classical Conditioning of the Gill-Withdrawal Reflex in Aplysia Recruits Both NMDA Receptor-Dependent Enhancement and NMDA Receptor-Dependent Depression of the Reflex. The Journal of Neuroscience, 27, 3064-3068.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thvsdikarwangenguxnikhaebbdngedim xngkvs Classical Conditioning khxng xiwan phaflxf phvtikrrmthicaekidkarwangenguxnikhaebbkhlassikidmkepnphvtikrrmhruxkartxbsnxngthiekidcakptikiriyasathxn xnmiphunthanmacakkarthangankhxngrabbprasathxtonmti echn karthangankhxngtxmtang inrangkay karthangankhxngrabbklamenuxtang phvtikrrmkartxbsnxnginkarwangenguxnikhaebbkhlassik epnphvtikrrmthiekidkhunexngtamthrrmchati emuxmisingeramakratun phvtikrrmthiekidkhuntamthrrmchatiehlani eriykwa phvtikrrmtxbsnxng hruxphvtikrrmthiepnipodyimtngic kareriynruodywangenguxnikhenguxnikhaebbdngedimkbsunkhdwywithikarkhxngpharphlxf pharphlxf echuxwakareriynrukhxngsingmichiwitcanwnmakekidcakkarwangenguxnikh conditioning klawkhux kartxbsnxnghruxkareriynruthiekidkhuntxsingerahnungmkmienguxnikhhruxsthankarnekidkhun sunginsphaphpktihruxinchiwitpracawnkartxbsnxngechnnnxacimmi echn krnisunkhidyinesiyngkradingaelanalayihl esiyngkradingepnsingerathitxngkarihekidkareriynrucakkarwangenguxnikh ephraaodypktiesiyngkradingmiidthaihsunkhnalayihl aetkhntxngkarihsunkhnalayihlemuxidyinesiyngkrading pharphlxf eriykwa singerathimienguxnikh conditioned stimulus aelaptikiriyanalayihl epnkartxbsnxngthieriykwakartxbsnxngthimienguxnikh conditioned response xangxingJami S A Wright W G amp Glanzman D L 2007 Differential Classical Conditioning of the Gill Withdrawal Reflex in Aplysia Recruits Both NMDA Receptor Dependent Enhancement and NMDA Receptor Dependent Depression of the Reflex The Journal of Neuroscience 27 3064 3068 aehlngkhxmulxunbthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk