โบราณคดี (อังกฤษ: Archaeology) คือ วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ โดยผ่านทางการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่ได้มาจากการสำรวจ การขุดค้น (โบราณวัตถุ) การขุดแต่ง (โบราณสถาน) และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ (ศิลาจารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร) โดยทั่วไป จะต้องใช้ศาสตร์ด้านอื่น ๆ ประกอบในการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางโบราณคดีที่ได้จากกระบวนการข้างต้น เพื่อให้เรื่องราวในอดีตของมนุษย์มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ศาสตร์เหล่านั้น เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ธรณีวิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ เป็นต้น ที่ประเทศไทย มีการเปิดสอนคณะโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศไทย และมีกรมศิลปากร เป็นหน่วยงานราชการหลักที่รับผิดชอบการดำเนินงานทางโบราณคดีส่วนใหญ่ในประเทศไทยและมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารจัดการแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย.
วิธีวิทยาทางโบราณคดี
การศึกษาโบราณคดี การศึกษาทางโบราณคดีเป็นการศึกษาจากหลักฐานต่าง ๆ ดังกล่าวมาแล้ว การที่จะทราบเรื่องราวของมนุษย์ในยุคใดในสมัยใดได้ละเอียดมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับหลักฐานที่พบเป็นหลัก
- แนวทางการศึกษาทางโบราณคดีอาจแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ
- 1. การสำรวจ (survey)
เป็นการตรวจหาแหล่งโบราณคดี อาจทำได้โดยการตรวจสอบจากภาพถ่ายทางอากาศ การศึกษาจากเอกสารและการเดินสำรวจเพื่อเป็นการรวบรวมหลักฐานสำหรับประเมินค่าของแหล่งโบราณคดีนั้น ๆ ในการวางแผนขุดค้นต่อไป
- 2. ขุดค้น (excavation)
เป็นกรรมวิธีขั้นที่สองของการศึกษาทางโบราณคดี เพื่อให้ได้หลักฐานที่ถูกต้องมากที่สุด การขุดค้นจะต้องทำอย่างระมัดระวังเพื่อให้ได้หลักฐานที่ถูกต้องมากที่สุด เพื่อไม่ให้เป็นการทำลายหลักฐานที่ทับถมอยู่ในดินเป็นเวลาหลายร้อยหลายพันปีจึงต้องมีการบันทึกอย่างละเอียด และการวาดภาพหรือถ่ายภาพประกอบด้วย
- 3. วิเคราะห์ (analysis)
หลักฐานที่ได้จากการขุดค้น จะต้องนำมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเพื่อหาแบบอย่างของรูปร่างของสิ่งของที่ขุดได้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อไป
- 4. การแปลความ (interpretation)
และการเขียนรายงานเป็นการรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจการขุดค้น และการวิเคราะห์แล้วนำมาแปลความหมายเพื่อเขียนเป็นรายงานพิมพ์ออกเผยแผร่และจัดนิทรรศการสรุปเรื่องราวของมนุษย์ในยุคนั้น สมัยนั้นต่อจากนั้นก็เป็นการรักษาโบราณศิลปวัตถุที่ค้นพบซึ่งได้แก่ การจัดแสดงข้อมูลในพิพิธภัณฑ์เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับการนำเสนอข้อมูลการศึกษาทางโบราณคดีต่อสาธารณชน.
บทความภาษาไทย
- ศ.เกียรติคุณ ปรีชา กาญจนาคม. "โบราณคดีเบื้องต้น" (2557)
แหล่งข้อมูลอื่น
- สำนักโบราณคดี 2011-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เว็บไซต์ สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร
- หน้าบ้านโบราณคดี 2018-09-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เว็บรวมเรื่องราวเกี่ยวกับโบราณคดี
- โบราณคดีสาธารณะ เว็บเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโบราณคดี
- คณะโบราณคดี 2010-11-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน เว็บไซต์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
อ้างอิง
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-04-11. สืบค้นเมื่อ 2015-03-22.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
obrankhdi xngkvs Archaeology khux wichathiwadwy karsuksaeruxngrawinxditkhxngmnusy odyphanthangkarsuksahlkthanthangobrankhdi thiidmacakkarsarwc karkhudkhn obranwtthu karkhudaetng obransthan aelakarsuksaexksarthangprawtisastrpraephthtang silacaruk cdhmayehtu phngsawdar odythwip catxngichsastrdanxun prakxbinkarwiekhraahaelatikhwamhlkthanthangobrankhdithiidcakkrabwnkarkhangtn ephuxiheruxngrawinxditkhxngmnusymikhwamchdecnmakyingkhun sastrehlann echn prawtisastrsilpa thrniwithya stwwithya phvkssastr epntn thipraethsithy mikarepidsxnkhnaobrankhdi thimhawithyalysilpakr wngthaphra epnephiyngaehngediywinpraethsithy aelamikrmsilpakr epnhnwynganrachkarhlkthirbphidchxbkardaeninnganthangobrankhdiswnihyinpraethsithy aelamixanachnathiinkarbriharcdkaraehlngobrankhdiinpraethsithy karkhudkhnobransthan inphaphnkobrankhdikalngbnthuktaaehnngkarwangtwkhxngobranwtthuinhlumkhudkhnwithiwithyathangobrankhdikarsuksaobrankhdi karsuksathangobrankhdiepnkarsuksacakhlkthantang dngklawmaaelw karthicathraberuxngrawkhxngmnusyinyukhidinsmyididlaexiydmaknxyephiyngidyxmkhunxyukbhlkthanthiphbepnhlk aenwthangkarsuksathangobrankhdixacaebngxxkepn 4 khntxn khux 1 karsarwc survey epnkartrwchaaehlngobrankhdi xacthaidodykartrwcsxbcakphaphthaythangxakas karsuksacakexksaraelakaredinsarwcephuxepnkarrwbrwmhlkthansahrbpraeminkhakhxngaehlngobrankhdinn inkarwangaephnkhudkhntxip 2 khudkhn excavation epnkrrmwithikhnthisxngkhxngkarsuksathangobrankhdi ephuxihidhlkthanthithuktxngmakthisud karkhudkhncatxngthaxyangramdrawngephuxihidhlkthanthithuktxngmakthisud ephuximihepnkarthalayhlkthanthithbthmxyuindinepnewlahlayrxyhlayphnpicungtxngmikarbnthukxyanglaexiyd aelakarwadphaphhruxthayphaphprakxbdwy 3 wiekhraah analysis hlkthanthiidcakkarkhudkhn catxngnamawiekhraahinhxngptibtikarephuxhaaebbxyangkhxngruprangkhxngsingkhxngthikhudidephuxpraoychninkarsuksatxip 4 karaeplkhwam interpretation aelakarekhiynraynganepnkarrwbrwmhlkthantang thiidcakkarsarwckarkhudkhn aelakarwiekhraahaelwnamaaeplkhwamhmayephuxekhiynepnraynganphimphxxkephyaephraelacdnithrrskarsruperuxngrawkhxngmnusyinyukhnn smynntxcaknnkepnkarrksaobransilpwtthuthikhnphbsungidaek karcdaesdngkhxmulinphiphithphnthephuxepnpraoychnsahrbkarnaesnxkhxmulkarsuksathangobrankhditxsatharnchn bthkhwamphasaithys ekiyrtikhun pricha kaycnakhm obrankhdiebuxngtn 2557 aehlngkhxmulxunsankobrankhdi 2011 06 21 thi ewyaebkaemchchin ewbist sankobrankhdi krmsilpakr hnabanobrankhdi 2018 09 08 thi ewyaebkaemchchin ewbrwmeruxngrawekiywkbobrankhdi obrankhdisatharna ewbephyaephrkhwamruekiywkbobrankhdi khnaobrankhdi 2010 11 26 thi ewyaebkaemchchin ewbist khnaobrankhdi mhawithyalysilpakrxangxing PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2016 04 11 subkhnemux 2015 03 22 bthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk