บทความนี้ไม่มีจาก |
ยาต้านไวรัส (อังกฤษ: Antiviral drugs) เป็นกลุ่มยาที่ใช้รักษาเฉพาะการติดเชื้อจากไวรัส เช่นเดียวกับยาปฏิชีวนะ ยาต้านไวรัสก็ใช้ได้กับไวรัสบางชนิดเท่านั้น
การแพทย์ดั้งเดิมจะไม่มียาฆ่าหรือต้านเชื้อไวรัสโดยตรง ถ้ามีการติดเชื้อไวรัสวิธีปฏิบัติคือ ถ้าเป็นโรคที่ไม่ร้ายแรงเช่น หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ก็จะให้พักผ่อนและดื่มน้ำมาก ๆ ก็จะหายเอง แต่ถ้าติดเชื้อร้ายแรงอย่างโรคพิษสุนัขบ้านั้นไม่มียารักษา แต่ถึงแม้ไม่มียารักษาแต่ก็มีวัคซีนป้องกัน
จนกระทั่งตั้งแต่กลางปี ค.ศ. 1980 ก็ได้เกิดยาต้านไวรัสขึ้นมาเป็นสิบๆ ตัว จากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์สาขาพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลที่ทำให้เราเข้าใจโครงสร้างและการทำงานของเชื้อไวรัส ประกอบกับความกดดันทางการแพทย์ ที่จะต้องหาทางรักษาโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องจากเชื้อไวรัสเอชไอวี (human immunodeficiency virus - HIV) ที่ทำให้เกิดโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์ (acquired immunodeficiency syndrome - AIDS) มีคนกล่าวว่าเราควรขอบคุณโรคเอดส์ เพราะมันกดดันเราอย่างมากให้ต้องพัฒนาเทคโนโลยีการต่อต้านไวรัส
ยาต้านไวรัสส่วนใหญ่ถูกออกแบบให้เกี่ยวข้องกับเชื้อไวรัสที่ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น
- (herpesvirus) ที่ทราบกันดีว่ามันทำให้เกิดแผลเจ็บ (cold sores) แต่จริงๆ แล้วมันทำให้เกิดโรคอีกมากมาย
- ไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ที่ทำให้เกิดมะเร็งตับ ขณะนี้นักวิจัยกำลังขยายผลการใช้ยาต้านไวรัสในโรคอีกมากมาย
พัฒนาการของยาต้านไวรัส
การทดลองเกี่ยวกับยาต้านไวรัสเกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1960 เป็นการทดลองเกี่ยวกับ ไวรัสเริม (herpesvirus) (trial-and-error) ไวรัสอาจจะกล่าวได้ว่าเป็นกึ่งสารเคมีกึ่งสิ่งมีชีวิตเพราะมันประกอบด้วยจีโนม (genome) และบางครั้งมี เอนไซม์ (enzyme-iocatalysts) สองสามตัวบรรจุอยู่ในที่ทำด้วยโปรตีน และบางครั้งห่อหุ้มด้วยชั้นของ ลิพิด (lipid) ไวรัสไม่สามารถสืบพันธุ์ได้ด้วยตัวของมันเอง แต่สามารถแพร่ข้อมูลของมันโดยการเข้าไปครอบครองเซลล์ (hijacking cells) แล้วบังคับให้เซลล์แพร่พันธุ์โดยมีข้อมูลของมันติดไปด้วย
การพัฒนายาต้านไวรัสยุคแรก นักวิจัยจะเพาะเลี้ยงเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสเป้าหมาย แล้วใส่สารเคมีเข้าไปในเซลล์ที่เพาะเลี้ยงนั้น แล้วสังเกตผลการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส ว่าสารเคมีที่ใช้มีผลยับยั้งไวรัสได้หรือไม่. การทำเช่นนี้ใช้เวลามาก กว่าจะค้นพบยาต้านไวรัสซักตัว จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1980 เมื่อนักวิทยาศาสตร์สามารถค้นพบข้อมูลทางพันธุกรรมของไวรัสทั้งหมด และทราบกลไกการทำงานของมันอย่างละเอียด ซึ่งเปิดช่องทางให้สามารถหาชนิดโมเลกุลของสารเคมี ที่จะไปหยุด หรือรบกวนการการแพร่พันธุ์ของไวรัสได้ง่ายขึ้น. ความฝันของนักวิจัย ในขั้นตอนต่อไปของการค้นคว้าหายาต้านไวรัสคือ การดัดแปลงสารเคมีในร่างมนุษย์เพื่อใช้เป็นยาต้านไวรัส เพราะจะมีผลข้างเคียงน้อยกว่าการใช้สารเคมีจากภายนอกร่างกาย
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir yataniwrs xngkvs Antiviral drugs epnklumyathiichrksaechphaakartidechuxcakiwrs echnediywkbyaptichiwna yataniwrskichidkbiwrsbangchnidethannyataniwrsthikacdechux HIV karaephthydngedimcaimmiyakhahruxtanechuxiwrsodytrng thamikartidechuxiwrswithiptibtikhux thaepnorkhthiimrayaerngechn hwdhruxikhhwdihykcaihphkphxnaeladumnamak kcahayexng aetthatidechuxrayaerngxyangorkhphissunkhbannimmiyarksa aetthungaemimmiyarksaaetkmiwkhsinpxngkn cnkrathngtngaetklangpi kh s 1980 kidekidyataniwrskhunmaepnsib tw cakkhwamecriykawhnathangkaraephthysakhaphnthusastrradbomelkulthithaiheraekhaicokhrngsrangaelakarthangankhxngechuxiwrs prakxbkbkhwamkddnthangkaraephthy thicatxnghathangrksaorkhphumikhumknbkphrxngcakechuxiwrsexchixwi human immunodeficiency virus HIV thithaihekidorkhphumikhumknbkphrxnghruxorkhexds acquired immunodeficiency syndrome AIDS mikhnklawwaerakhwrkhxbkhunorkhexds ephraamnkddneraxyangmakihtxngphthnaethkhonolyikartxtaniwrs yataniwrsswnihythukxxkaebbihekiywkhxngkbechuxiwrsthithaihphumikhumknbkphrxng echn herpesvirus thithrabkndiwamnthaihekidaephlecb cold sores aetcring aelwmnthaihekidorkhxikmakmay iwrstbxkesb bi aela si thithaihekidmaerngtb khnaninkwicykalngkhyayphlkarichyataniwrsinorkhxikmakmayphthnakarkhxngyataniwrskarthdlxngekiywkbyataniwrsekidkhunkhrngaerkinpi kh s 1960 epnkarthdlxngekiywkb iwrserim herpesvirus trial and error iwrsxaccaklawidwaepnkungsarekhmikungsingmichiwitephraamnprakxbdwycionm genome aelabangkhrngmi exnism enzyme iocatalysts sxngsamtwbrrcuxyuinthithadwyoprtin aelabangkhrnghxhumdwychnkhxng liphid lipid iwrsimsamarthsubphnthuiddwytwkhxngmnexng aetsamarthaephrkhxmulkhxngmnodykarekhaipkhrxbkhrxngesll hijacking cells aelwbngkhbihesllaephrphnthuodymikhxmulkhxngmntidipdwy karphthnayataniwrsyukhaerk nkwicycaephaaeliyngesllthitidechuxiwrsepahmay aelwissarekhmiekhaipinesllthiephaaeliyngnn aelwsngektphlkarepliynaeplngkhxngesllthitidechuxiwrs wasarekhmithiichmiphlybyngiwrsidhruxim karthaechnniichewlamak kwacakhnphbyataniwrssktw cnkrathngthungpi kh s 1980 emuxnkwithyasastrsamarthkhnphbkhxmulthangphnthukrrmkhxngiwrsthnghmd aelathrabklikkarthangankhxngmnxyanglaexiyd sungepidchxngthangihsamarthhachnidomelkulkhxngsarekhmi thicaiphyud hruxrbkwnkarkaraephrphnthukhxngiwrsidngaykhun khwamfnkhxngnkwicy inkhntxntxipkhxngkarkhnkhwahayataniwrskhux karddaeplngsarekhmiinrangmnusyephuxichepnyataniwrs ephraacamiphlkhangekhiyngnxykwakarichsarekhmicakphaynxkrangkayduephimsthaniyxyephschkrrmAntiretroviral drug