บทความนี้ไม่มีจาก |
สารภูมิต้านทาน หรือ แอนติบอดี (อังกฤษ: antibody) หรือ อิมมิวโนโกลบูลิน (อังกฤษ: immunoglobulin) เป็นโปรตีนขนาดใหญ่ในระบบภูมิคุ้มกันที่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ชั้นสูงอื่นๆ สร้างขึ้นเพื่อตรวจจับและทำลายฤทธิ์ของสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย เช่น แบคทีเรีย และไวรัส แอนตีบอดีแต่ละชนิดจะจดจำโมเลกุลเป้าหมายที่จำเพาะของมันคือ แอนติเจน (antigen)
แอนติบอดีส่วนใหญ่ถูกหลั่งออกมาจากเซลล์พลาสมา (plasma cell) ซึ่งเป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดบีลิมโฟไซต์ (B lymphocyte) การกำจัดสิ่งแปลกปลอมโดยการสร้างแอนติบอดีเป็นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันที่เรียกว่า humoral immune response
โครงสร้าง
ของแอนติบอดีอยู่ในรูปตัววาย (Y shape) ประกอบด้วยสาย 4 เส้น คือ เส้นหนัก (heavy chain) เหมือนกัน 2 เส้น และเส้นเบา (light chain) เหมือนกัน 2 เส้น โดยเปรียบเทียบจากขนาดน้ำหนักโมเลกุล
บริเวณปลายทั้งสองของตัว Y (ปลาย N-terminal) จะเป็นตำแหน่งที่ใช้จับกับแอนติเจน เรียกว่า antigen binding site ลำดับกรดอะมิโนของบริเวณนี้จึงมีความหลากหลายสูง โดยจะแตกต่างกันไปตามแอนติบอดีแต่ละตัว ทำให้แอนติบอดีแต่ละตัวมีความจำเพาะต่อแอนติเจนคนละชนิดกัน บริเวณปลายทั้งสองนี้จึงว่าบริเวณแปรผัน (variable region) อย่างไรก็ตาม ในแอนติบอดีตัวเดียวกัน antigen binding site ทั้งสองจะเหมือนกันและจะจับกับเอปิโทปของแอนติเจนชนิดเดียวกัน ดังนั้นเพื่อให้ระบบภูมิคุ้มกันสามารถตรวจจับแอนติเจนได้มากชนิดที่สุด ร่างกายจึงต้องผลิตแอนติบอดีให้มี antigen binding site ได้นับล้านรูปแบบ ความหลากหลายของ antigen binding site เกิดขึ้นได้จากกระบวนการ somatic recombination
ถัดลงมาจากบริเวณแปรผันจนถึงโคนของตัว Y (ปลาย C-terminal) นั้นเรียกว่า บริเวณคงที่ (constant region) เพราะแอนติบอดีในคลาสเดียวกันจะมีลำดับของกรดอะมิโนบริเวณนี้เหมือนกัน บริเวณคงที่จะแสดงลักษณะการทำงานของแอนติบอดี รวมถึงบ่งบอกถึงชนิดของแอนติบอดีว่าเป็นคลาสใด บริเวณคงที่ใน IgG, IgA และ IgD จะประกอบด้วยสายโปรตีนเส้นหนักที่มี 4 โดเมน ส่วนใน IgM และ IgE จะประกอบด้วยสายโปรตีนเส้นหนักที่มี 5 โดเมน
ชนิดของแอนติบอดี
อิมมูโนโกลบูลินจี (IgG)
อิมมูโนโกลบูลินจี (IgG) เป็นแอนติบอดีที่พบมากที่สุดในซีรั่ม คือประมาณ 13 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร หรือคิดเป็นประมาณ 80% ของ Ig ทั้งหมดในซีรั่ม ทำหน้าที่กำจัดแบคทีเรีย ไวรัส และสารพิษในเลือดและน้ำเหลือง IgG จะอยู่ในรูปโมโนเมอร์ (โครงสร้างรูปตัว Y) IgG ในมนุษย์แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มย่อย เรียงตามปริมาณที่พบในซีรั่ม คือ IgG1, IgG2, IgG3 และ IgG4 ทั้ง 4 กลุ่มย่อยนี้มีลำดับกรดอะมิโนคล้ายกันประมาณ 90-95% แต่จะมีโครงสร้างแตกต่างกันบ้าง เช่น จำนวนของพันธะไดซัลไฟด์ที่เชื่อมบริเวณข้อพับ (hinge region) ของเส้นหนักสองเส้น IgG ในระบบเลือดของแม่สามารถเข้าไปสู่ในครรภ์ได้ผ่านทางรก จัดเป็นการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแบบรับมา (passive immunization) ให้แก่ทารก
อิมมูโนโกลบูลินเอ (IgA)
อิมมูโนโกลบูลินเอ (IgA) เป็นแอนติบอดีหลักที่หลั่งออกนอกร่างกาย พบในน้ำลาย น้ำตา เหงื่อ น้ำนม เมือกน้ำอสุจิ และอื่นๆ นอกจากนี้ยังพบที่บริเวณเยื่อเมือก (mucosal membrane) ที่บุทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมบริเวณชั้นเยื่อผิวเพื่อไม่ให้ผ่านเข้าไปในร่างกายได้ นอกจากนี้ IgA ใน (colostrum) ยังช่วยป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารของทารกแรกเกิด
IgA ที่พบในซีรั่มมักอยู่ในรูปของโมโนเมอร์ (โครงสร้างรูปตัว Y) สำหรับ IgA ที่หลั่งออกมา (secretory IgA) จะอยู่ในรูปไดเมอร์ ซึ่งก็คือโมโนเมอร์ 2 โมเลกุล (ตัว Y สองตัว) เชื่อมกันด้วยสายเชื่อม (joining chain หรือ J chain)
ขั้นตอนการหลั่ง IgA ออกมาที่ชั้นเนื้อเยื่อผิว
- เซลล์พลาสมาหลั่ง IgA ออกมาในรูปไดเมอร์
- IgA จะถูกลำเลียงไปสู่เนื้อเยื่อข้างใต้ชั้นเนื้อเยื่อผิว ซึ่งมักเป็นเยื่อบุผิวทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ช่องสืบพันธุ์ ต่อมน้ำนม ต่อมน้ำลาย และต่อมน้ำตา
- IgA เข้าไปเกาะกับตัวรับที่เรียกว่าพอลิเมอริก อิมมิวโนโกลบูลิน รีเซ็ปเตอร์ (polymeric immunoglobulin receptor หรือ pIgR) บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์เยื่อผิว และถูกรับเข้าไปในเซลล์โดยเอนโดไซโทซิส (receptor-mediated endocytosis)
- IgA ถูกปล่อยออกสู่ด้านนอกของเซลล์เยื่อผิว โดย pIgR ส่วนหนึ่งจะหลุดติดไปพร้อมกับ IgA ด้วย กลายเป็นส่วนที่เรียกว่าตัวคัดหลั่ง (secretory component) ทำหน้าที่ช่วยปกป้อง IgA จากกรดและเอนไซม์ในทางเดินอาหาร
อิมมูโนโกลบูลินเอ็ม (IgM)
อิมมูโนโกลบูลินเอ็ม (IgM) เป็นแอนติบอดีชนิดแรกๆ ที่เซลล์พลาสมาผลิตออกมาสู่กระแสเลือดเมื่อพบกับแอนติเจน IgM ในเลือดมักอยู่ในรูปของเพนตะเมอร์ (pentamer) คือเป็นโมโนเมอร์ 5 หน่วยเชื่อมกันด้วยพันธะไดซัลไฟด์ ทำให้มีตำแหน่งสำหรับจับกับแอนติเจนรวมกัน 10 ตำแหน่ง (2 ตำแหน่งจากแต่ละโมโนเมอร์)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2017-12-21.
- สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, พื้นฐานชีววิทยา, 2558
- Sadava, David. (2012). LIFE: The Science of Biology 10th ed.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir sarphumitanthan hrux aexntibxdi xngkvs antibody hrux ximmiwonoklbulin xngkvs immunoglobulin epnoprtinkhnadihyinrabbphumikhumknthirangkaymnusyhruxstwchnsungxun srangkhunephuxtrwccbaelathalayvththikhxngsingaeplkplxmthiekhamainrangkay echn aebkhthieriy aelaiwrs aexntibxdiaetlachnidcacdcaomelkulepahmaythicaephaakhxngmnkhux aexntiecn antigen Each antibody binds to a specific antigen an interaction similar to a lock and key aexntibxdiswnihythukhlngxxkmacakesllphlasma plasma cell sungepnesllemdeluxdkhawchnidbilimofist B lymphocyte karkacdsingaeplkplxmodykarsrangaexntibxdiepnkartxbsnxngkhxngrabbphumikhumknthieriykwa humoral immune responseokhrngsrangkhxngaexntibxdixyuinruptwway Y shape prakxbdwysay 4 esn khux esnhnk heavy chain ehmuxnkn 2 esn aelaesneba light chain ehmuxnkn 2 esn odyepriybethiybcakkhnadnahnkomelkul briewnplaythngsxngkhxngtw Y play N terminal caepntaaehnngthiichcbkbaexntiecn eriykwa antigen binding site ladbkrdxamionkhxngbriewnnicungmikhwamhlakhlaysung odycaaetktangkniptamaexntibxdiaetlatw thaihaexntibxdiaetlatwmikhwamcaephaatxaexntiecnkhnlachnidkn briewnplaythngsxngnicungwabriewnaeprphn variable region xyangirktam inaexntibxditwediywkn antigen binding site thngsxngcaehmuxnknaelacacbkbexpiothpkhxngaexntiecnchnidediywkn dngnnephuxihrabbphumikhumknsamarthtrwccbaexntiecnidmakchnidthisud rangkaycungtxngphlitaexntibxdiihmi antigen binding site idnblanrupaebb khwamhlakhlaykhxng antigen binding site ekidkhunidcakkrabwnkar somatic recombination thdlngmacakbriewnaeprphncnthungokhnkhxngtw Y play C terminal nneriykwa briewnkhngthi constant region ephraaaexntibxdiinkhlasediywkncamiladbkhxngkrdxamionbriewnniehmuxnkn briewnkhngthicaaesdnglksnakarthangankhxngaexntibxdi rwmthungbngbxkthungchnidkhxngaexntibxdiwaepnkhlasid briewnkhngthiin IgG IgA aela IgD caprakxbdwysayoprtinesnhnkthimi 4 odemn swnin IgM aela IgE caprakxbdwysayoprtinesnhnkthimi 5 odemnchnidkhxngaexntibxdiximmuonoklbulinci IgG ximmuonoklbulinci IgG epnaexntibxdithiphbmakthisudinsirm khuxpraman 13 millikrm millilitr hruxkhidepnpraman 80 khxng Ig thnghmdinsirm thahnathikacdaebkhthieriy iwrs aelasarphisineluxdaelanaehluxng IgG caxyuinrupomonemxr okhrngsrangruptw Y IgG inmnusyaebngxxkepn 4 klumyxy eriyngtamprimanthiphbinsirm khux IgG1 IgG2 IgG3 aela IgG4 thng 4 klumyxynimiladbkrdxamionkhlayknpraman 90 95 aetcamiokhrngsrangaetktangknbang echn canwnkhxngphnthaidslifdthiechuxmbriewnkhxphb hinge region khxngesnhnksxngesn IgG inrabbeluxdkhxngaemsamarthekhaipsuinkhrrphidphanthangrk cdepnkarsrangesrimphumikhumknaebbrbma passive immunization ihaekthark ximmuonoklbulinex IgA ximmuonoklbulinex IgA epnaexntibxdihlkthihlngxxknxkrangkay phbinnalay nata ehngux nanm emuxknaxsuci aelaxun nxkcakniyngphbthibriewneyuxemuxk mucosal membrane thibuthangedinxaharaelathangedinhayic thahnathikacdsingaeplkplxmbriewnchneyuxphiwephuximihphanekhaipinrangkayid nxkcakni IgA in colostrum yngchwypxngknkartidechuxinrabbthangedinxaharkhxngtharkaerkekid IgA thiphbinsirmmkxyuinrupkhxngomonemxr okhrngsrangruptw Y sahrb IgA thihlngxxkma secretory IgA caxyuinrupidemxr sungkkhuxomonemxr 2 omelkul tw Y sxngtw echuxmkndwysayechuxm joining chain hrux J chain khntxnkarhlng IgA xxkmathichnenuxeyuxphiw esllphlasmahlng IgA xxkmainrupidemxr IgA cathuklaeliyngipsuenuxeyuxkhangitchnenuxeyuxphiw sungmkepneyuxbuphiwthangedinxahar thangedinhayic chxngsubphnthu txmnanm txmnalay aelatxmnata IgA ekhaipekaakbtwrbthieriykwaphxliemxrik ximmiwonoklbulin riespetxr polymeric immunoglobulin receptor hrux pIgR bneyuxhumesllkhxngeslleyuxphiw aelathukrbekhaipinesllodyexnodisothsis receptor mediated endocytosis IgA thukplxyxxksudannxkkhxngeslleyuxphiw ody pIgR swnhnungcahludtidipphrxmkb IgA dwy klayepnswnthieriykwatwkhdhlng secretory component thahnathichwypkpxng IgA cakkrdaelaexnisminthangedinxaharximmuonoklbulinexm IgM ximmuonoklbulinexm IgM epnaexntibxdichnidaerk thiesllphlasmaphlitxxkmasukraaeseluxdemuxphbkbaexntiecn IgM ineluxdmkxyuinrupkhxngephntaemxr pentamer khuxepnomonemxr 5 hnwyechuxmkndwyphnthaidslifd thaihmitaaehnngsahrbcbkbaexntiecnrwmkn 10 taaehnng 2 taaehnngcakaetlaomonemxr duephimrabbphumikhumkn aexntiecnxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 07 15 subkhnemux 2017 12 21 sthabnsngesrimkarsxnwithyasastraelaethkhonolyi phunthanchiwwithya 2558 Sadava David 2012 LIFE The Science of Biology 10th ed bthkhwamchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk