ไมโครเลนส์ของแรงโน้มถ่วง (อังกฤษ: Gravitational microlensing) คือปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณ์เลนส์ความโน้มถ่วง สามารถใช้ในการตรวจจับวัตถุที่มีขนาดมวลเท่าดาวเคราะห์ไปจนถึงมวลขนาดดาวฤกษ์ได้ โดยไม่ต้องสนใจว่ามันเปล่งแสงออกมาหรือไม่ โดยทั่วไปแล้วนักดาราศาสตร์สามารถตรวจจับได้แต่เพียงวัตถุที่ส่องสว่างซึ่งจะเปล่งแสงออกมาจำนวนมาก (คือดาวฤกษ์) หรือวัตถุขนาดใหญ่ที่บดบังแสงที่อยู่พื้นหลัง (เช่นกลุ่มเมฆแก๊สและฝุ่น) ซึ่งวัตถุเหล่านี้ครอบครองมวลเพียงเศษส่วนเล็กน้อยของดาราจักรเท่านั้น เทคนิคไมโครเลนส์ช่วยให้เราสามารถศึกษาวัตถุที่เปล่งแสงเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีแสงเลยได้
เมื่อดาวฤกษ์ที่ห่างไกลหรือเควซาร์อยู่ในแนวที่พอเหมาะพอดีกับวัตถุมวลมากอัดแน่นที่บังอยู่เบื้องหน้า จะมีการเบี่ยงเบนของแสงเนื่องมาจากสนามแรงโน้มถ่วง ดังที่ไอน์สไตน์เคยทำนายไว้ในปี 1915 ทำให้เกิดภาพที่บิดเบี้ยวไปในการสังเกตการณ์อย่างมีนัยสำคัญ ขอบเขตด้านเวลาของการสว่างขึ้นชั่วครู่ยามนี้ขึ้นอยู่กับมวลของวัตถุที่บดบังอยู่ด้านหน้า เช่นกันกับการเคลื่อนที่เฉพาะที่เกี่ยวข้องระหว่าง "แหล่งกำเนิด" เบื้องหลังกับวัตถุเบื้องหน้าที่ทำตัวเป็น "เลนส์"
การสังเกตการเกิดไมโครเลนส์นี้มิได้มีความเกี่ยวข้องกับรังสีที่วัตถุที่เป็นเลนส์ได้รับ ดังนั้นปรากฏการณ์นี้จึงช่วยให้นักดาราศาสตร์สามารถศึกษาวัตถุมวลมากได้ไม่ว่ามันจะจางแสงเพียงไรก็ตาม และด้วยเหตุนี้ เทคนิคนี้จึงเป็นเทคนิคในอุดมคติสำหรับใช้ศึกษาประชากรของดาราจักรที่จางแสงมากๆ หรือมืดมากอย่างเช่น ดาวแคระน้ำตาล ดาวแคระแดง ดาวเคราะห์ ดาวแคระขาว ดาวนิวตรอน หลุมดำ และ นอกจากนั้น ปรากฏการณ์ไมโครเลนส์ก็ไม่ได้ขึ้นกับความยาวคลื่น ทำให้สามารถศึกษาแหล่งกำเนิดที่แผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าแบบใดก็ได้โดยไม่จำกัด
มีการใช้เทคนิคไมโครเลนส์ตรวจจับวัตถุโดดเดี่ยวได้ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1993 นับจากนั้นก็มีการใช้เทคนิคนี้เพื่อศึกษาธรรมชาติของสสารมืด ใช้ตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ ศึกษาการมืดคล้ำที่ขอบของดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างไกล ขีดจำกัดของประชากรดาวคู่ และเงื่อนไขโครงสร้างของแผ่นจานทางช้างเผือก นอกจากนี้ยังมีการเสนอให้ใช้เทคนิคไมโครเลนส์เพื่อค้นหาวัตถุมืดดังเช่นดาวแคระน้ำตาลหรือหลุมดำ การศึกษาจุดมืดบนดาวฤกษ์ วัดการหมุนรอบตัวเองของดาวฤกษ์ ค้นหา ศึกษากระจุกดาวทรงกลม และตรวจสอบเควซาร์ รวมไปถึงจานพอกพูนมวลของมันด้วย
อ้างอิง
- Wambsganss (2006), "Gravitational Microlensing", Saas-Fee Lectures, Springer-Verlag
- Kochanek, C. S. (2004). "Quantitative Interpretation of Quasar Microlensing Light Curves". The Astrophysical Journal. 605: 58–77. :astro-ph/0307422. Bibcode:2004ApJ...605...58K. doi:10.1086/382180.
- Poindexter, Shawn; Morgan, Nicholas; และคณะ (2008), "The Spatial Structure of An Accretion Disk", The Astrophysical Journal, vol. 673, p. 34, doi:10.1086/524190
{{}}
: CS1 maint: extra punctuation () - Eigenbrod, A.; Courbin, F.; และคณะ (2008), "Microlensing variability in the gravitationally lensed quasar QSO 2237+0305 = the Einstein Cross. II. Energy profile of the accretion disk", Astronomy & Astrophysics, vol. 490, p. 933
{{}}
: CS1 maint: extra punctuation () - Mosquera, A. M.; Muñoz, J. A.; และคณะ (2009), "Detection of chromatic microlensing in Q 2237+0305 A", The Astrophysical Journal, vol. 691, p. 1292, doi:10.1088/0004-637X/691/2/1292
{{}}
: CS1 maint: extra punctuation () - Floyd, David J. E.; Bate, N. F.; และคณะ (2009), "The accretion disc in the quasar SDSS J0924+0219", ArXiv:0905.2651v1 [astro-ph.HE]
แหล่งข้อมูลอื่น
- Discovery of planet five times as massive as earth orbiting a star 20,000 light-years away 2008-09-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
imokhrelnskhxngaerngonmthwng xngkvs Gravitational microlensing khuxpraktkarnthangdarasastrchnidhnungthiekidkhuncakpraktkarnelnskhwamonmthwng samarthichinkartrwccbwtthuthimikhnadmwlethadawekhraahipcnthungmwlkhnaddawvksid odyimtxngsnicwamneplngaesngxxkmahruxim odythwipaelwnkdarasastrsamarthtrwccbidaetephiyngwtthuthisxngswangsungcaeplngaesngxxkmacanwnmak khuxdawvks hruxwtthukhnadihythibdbngaesngthixyuphunhlng echnklumemkhaeksaelafun sungwtthuehlanikhrxbkhrxngmwlephiyngessswnelknxykhxngdarackrethann ethkhnikhimokhrelnschwyiherasamarthsuksawtthuthieplngaesngephiyngelknxyhruximmiaesngelyidphaphimokhrelnskhxngaerngonmthwng aesngcakdawvksiklophnthukebiyngebn odysnamonmthwngkhxngdawvksaelarabbdawekhraahthihmunxyuodyrxb thixyurahwangklangebuxnghna sungnaipsuphaphbidebiywxyangnxysamphaph karepliynaeplngkhxngmuminthxngfannsxdkhlxngkbkarephimkhunkhxngkhwamswangkhxngdawvksthitrwcwdid emuxdawvksthihangiklhruxekhwsarxyuinaenwthiphxehmaaphxdikbwtthumwlmakxdaennthibngxyuebuxnghna camikarebiyngebnkhxngaesngenuxngmacaksnamaerngonmthwng dngthiixnsitnekhythanayiwinpi 1915 thaihekidphaphthibidebiywipinkarsngektkarnxyangminysakhy khxbekhtdanewlakhxngkarswangkhunchwkhruyamnikhunxyukbmwlkhxngwtthuthibdbngxyudanhna echnknkbkarekhluxnthiechphaathiekiywkhxngrahwang aehlngkaenid ebuxnghlngkbwtthuebuxnghnathithatwepn elns karsngektkarekidimokhrelnsnimiidmikhwamekiywkhxngkbrngsithiwtthuthiepnelnsidrb dngnnpraktkarnnicungchwyihnkdarasastrsamarthsuksawtthumwlmakidimwamncacangaesngephiyngirktam aeladwyehtuni ethkhnikhnicungepnethkhnikhinxudmkhtisahrbichsuksaprachakrkhxngdarackrthicangaesngmak hruxmudmakxyangechn dawaekhranatal dawaekhraaedng dawekhraah dawaekhrakhaw dawniwtrxn hlumda aela nxkcaknn praktkarnimokhrelnskimidkhunkbkhwamyawkhlun thaihsamarthsuksaaehlngkaenidthiaephrngsiaemehlkiffaaebbidkidodyimcakd mikarichethkhnikhimokhrelnstrwccbwtthuoddediywidkhrngaerkinpi kh s 1993 nbcaknnkmikarichethkhnikhniephuxsuksathrrmchatikhxngssarmud ichtrwccbdawekhraahnxkrabb suksakarmudkhlathikhxbkhxngdawvksthixyuhangikl khidcakdkhxngprachakrdawkhu aelaenguxnikhokhrngsrangkhxngaephncanthangchangephuxk nxkcakniyngmikaresnxihichethkhnikhimokhrelnsephuxkhnhawtthumuddngechndawaekhranatalhruxhlumda karsuksacudmudbndawvks wdkarhmunrxbtwexngkhxngdawvks khnha suksakracukdawthrngklm aelatrwcsxbekhwsar rwmipthungcanphxkphunmwlkhxngmndwyxangxingWambsganss 2006 Gravitational Microlensing Saas Fee Lectures Springer Verlag Kochanek C S 2004 Quantitative Interpretation of Quasar Microlensing Light Curves The Astrophysical Journal 605 58 77 astro ph 0307422 Bibcode 2004ApJ 605 58K doi 10 1086 382180 Poindexter Shawn Morgan Nicholas aelakhna 2008 The Spatial Structure of An Accretion Disk The Astrophysical Journal vol 673 p 34 doi 10 1086 524190 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint extra punctuation Eigenbrod A Courbin F aelakhna 2008 Microlensing variability in the gravitationally lensed quasar QSO 2237 0305 the Einstein Cross II Energy profile of the accretion disk Astronomy amp Astrophysics vol 490 p 933 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint extra punctuation Mosquera A M Munoz J A aelakhna 2009 Detection of chromatic microlensing in Q 2237 0305 A The Astrophysical Journal vol 691 p 1292 doi 10 1088 0004 637X 691 2 1292 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint extra punctuation Floyd David J E Bate N F aelakhna 2009 The accretion disc in the quasar SDSS J0924 0219 ArXiv 0905 2651v1 astro ph HE aehlngkhxmulxunDiscovery of planet five times as massive as earth orbiting a star 20 000 light years away 2008 09 05 thi ewyaebkaemchchin