ไมเคิล ฟาราเดย์ (อังกฤษ: Michael Faraday; 22 กันยายน ค.ศ. 1791 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1867) เป็นนักเคมีและนักฟิสิกส์ ชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดค้นในปี ค.ศ. 1821
ไมเคิล ฟาราเดย์ | |
---|---|
เกิด | 22 กันยายน ค.ศ. 1791 เซอร์รีย์ ประเทศอังกฤษ |
เสียชีวิต | 25 สิงหาคม ค.ศ. 1867 อังกฤษ | (75 ปี)
สัญชาติ | ชาวอังกฤษ |
อาชีพ | นักฟิสิกส์ นักเคมี |
ประวัติ
ไมเคิล ฟาราเดย์ เกิดที่เซอร์เรย์ ประเทศอังกฤษ ในครอบครัวที่มีฐานะยากจน เป็นบุตรคนที่ 3 จากจำนวน 10 บิดาของเขาชื่อเจมส์เป็นช่างตีเหล็ก เขาเริ่มทำงานเมื่ออายุ 13 ปี โดยการเป็นเด็กส่งหนังสือพิมพ์และฝึกงานใน แผนกเย็บปกและซ่อมหนังสือ เขายังเป็นคนชอบอ่านหนังสือ ศึกษาหาความรู้โดยเฉพาะเรื่องของไฟฟ้า เขาพยายามหาโอกาสไปฟังการบรรยายทางวิทยาศาสตร์ตามสถานที่ต่าง ๆ เสมอ และจะมีการจดบันทึกไว้อย่างละเอียดและเข้าเล่มเก็บไว้ มีครั้งหนึ่งในปี 1812 มีลูกค้าซ่อมหนังสือเห็นว่าเขาสนใจเรื่องการบรรยายของนักวิทยาศาสตร์ จึงได้มอบบัตรในการฟังการบรรยายวิทยาศาสตร์ของน้องเกย์มีรยายที่ราชสมาคม เขาจดรายละเอียดการบรรยาย วาดรูปประกอบ เรียบเรียงอย่างเป็นระเบียบ จากนั้นเขาจึงไปสมัครเป็นผู้ช่วยเดวี่ โดยนำหนังสือเล่มนี้ไปด้วย ทำให้เดวี่ประทับใจ รับเขาทำงาน
เขาทำงานทุกอย่างในการเป็นผู้ช่วยเดวี่ ตั้งแต่ภารโรง เลขา ด้วยเงินที่ได้รับสัปดาห์ละ 25 ชิลลิง ซึ่งน้อยกว่าทำงานที่ร้านหนังสือ แต่เขาพอใจกับงานและคอยสังเกตการทดลองของเดวี่ อย่างสนใจ เขามีโอกาสได้ตามเดวี่ไปสถานที่ต่าง ๆ ในยุโรป ทำให้เขาได้รู้จักกับคนสำคัญและนักวิทยาศาสตร์ เช่น หลังจากติดตามเดวี่มา 2 ปี ก็เดินทางกลับอังกฤษและได้เงินเพิ่มเป็นสัปดาห์ละ 30 ชิลลิง นอกจากนี้เขายังเขียนบทความและรายงานทางวิทยาศาสตร์ ทำให้เขามีชื่อเสียงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และริเริ่มจัดตั้ง City Philosophical Society ซึ่งเป็นสถานที่แลกเปลี่ยนพบปะคุยกันของบรรดาผู้ที่สนใจวิทยาศาสตร์ เขาเริ่มสนใจวิชาเคมีในช่วงนี้ ต่อมาปลายปี 1820 เขาแต่งงานกับ ซาราห์ เบอร์นาด ลูกสาวช่างเงิน
การทำงาน
เขาเริ่มสนใจเกี่ยวกับเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า เขาทดลองเรื่อง อำนาจแม่เหล็กให้เป็นพลังงานไฟฟ้าอยู่หลายครั้ง จนการทดลองหนึ่ง เขาพันขดลวด 2 ขดในวงแหวนอันเดียวกัน โดยต่อปลายทั้งสองของขดลวดหนึ่งเข้ากับ กัลวานอมิเตอร์ และต่อขดลวดที่เหลือกับแหล่งจ่ายไฟและปิดเปิดสวิตซ์ให้กระแสไฟฟ้าผ่านเข้าในขดลวด เขาสังเกตเห็นว่า ที่ต่อกับอีกขดหนึ่งนั้นขยับ แสดงว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลในขดที่ 2 ทั้งที่ไม่ได้จ่ายไฟเข้าขดนั้นเลย จากการทดลองนี้เขาพัฒนาเป็นหม้อแปลงไฟฟ้าในเวลาต่อมา เขายังค้นพบเส้นแรงแม่เหล็กจากการ ทดลองเทผงตะไบเหล็ก ลงบนกระดาษที่อยู่บนแม่เหล็ก
ฟาราเดย์ได้ทดลองใช้ลวดขดเป็นวงหลายรอบแบบที่เราเรียกว่า โดยต่อปลายทั้งสองของขดลวดเข้ากับ และทดลองสอดแท่งแม่เหล็กเข้าไปในระหว่างขดลวด พบว่า กัลวานอมิเตอร์กระดิกไปข้างหนึ่ง และพอแม่เหล็กหยุดนิ่ง เข็มก็เบนกลับที่เดิม พอเขาดึงแท่งแม่เหล็กออก เข็มก็เบนไปอีกทางหนึ่ง ตรงข้ามกับตอนแรก แล้วหยุดนิ่ง เขาพบว่า ไฟฟ้าเกิดจากการที่เส้นแรงแม่เหล็กตัดกับขดลวด เขาจึงเรียกกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นว่า (Induced current) ซึ่งเขาพบว่ากระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำจะเกิดก็ต่อเมื่อมีการเคลื่อนที่ตัดกันของสนามแม่เหล็กกับขดลวดเท่านั้น ถ้าหยุดเคลื่อนที่กระแสไฟฟ้าก็หายไป เขาจึงมีแนวคิดที่จะให้กระแสไฟฟ้าไหลอยู่ตลอดเวลา จึงหมุนขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็กตลอดเวลา เกิดสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่าในเวลาต่อมา ที่ถือว่าเป็นเครื่องแรกของโลกที่ไม่ต้องใช้ปฏิกิริยาทางเคมีเหมือนเดิม *การที่ไดนาโมจะผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาได้มากแค่ไหนขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการ คือ:-
1. ความเร็วของขดลวดตัวนำ และแท่งแม่เหล็ก ถ้าเคลื่อนที่ตัดกันเร็วก็จะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้มากกว่าการเคลื่อนที่ช้า
2. จำนวนขดลวดในโซเลนอยด์ ถ้าจำนวนมากขึ้นเท่าไรก็ยิ่งทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าได้สูงมากเท่านั้น
ฟาราเดย์เผยแพร่ผลงานชิ้นนี้ออกไปในปี ค.ศ. 1822 ในหนังสือที่มีชื่อว่า Experimental researches in electricity
ต่อมาในปีในปี 1823 เขาค้นพบวิธีการทำเหล็กกล้ามีความแข็งแรงทนทานมากกว่าเดิมและไม่เป็นสนิม โดยใช้เหล็ก + นิกเกิล เรียกว่า เหล็กสเตนเลส (Stainless Steel) ต่อมาในปี 1825 เขาพบ สารประกอบเบนซีน พบการทำให้คลอรีนเป็นของเหลว เขาเป็นคนบัญญัติศัพท์เกี่ยวกับการแยกสารละลายด้วยไฟฟ้าหลาย ๆ คำ
เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ ประจำวิชาเคมีแห่งราชสมาคม ในปี ค.ศ. 1833 ในช่วงหลังเขาสนใจในเรื่องแสง และศึกษาค้นคว้าตลอดมา เขาล้มป่วยเป็นโรคความจำเสื่อมในบั้นปลายของชีวิต และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ.1867 ที่แฮมป์ตันคอร์ท อายุได้ 75 ปี
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-24. สืบค้นเมื่อ 2008-09-14.
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ไมเคิล ฟาราเดย์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
imekhil faraedy xngkvs Michael Faraday 22 knyayn kh s 1791 25 singhakhm kh s 1867 epnnkekhmiaelankfisiks chawxngkvs epnphukhidkhninpi kh s 1821imekhil faraedyekid22 knyayn kh s 1791 esxrriy praethsxngkvsesiychiwit25 singhakhm kh s 1867 1867 08 25 75 pi xngkvssychatichawxngkvsxachiphnkfisiks nkekhmiprawtiimekhil faraedy ekidthiesxrery praethsxngkvs inkhrxbkhrwthimithanayakcn epnbutrkhnthi 3 cakcanwn 10 bidakhxngekhachuxecmsepnchangtiehlk ekhaerimthanganemuxxayu 13 pi odykarepnedksnghnngsuxphimphaelafuknganin aephnkeybpkaelasxmhnngsux ekhayngepnkhnchxbxanhnngsux suksahakhwamruodyechphaaeruxngkhxngiffa ekhaphyayamhaoxkasipfngkarbrryaythangwithyasastrtamsthanthitang esmx aelacamikarcdbnthukiwxyanglaexiydaelaekhaelmekbiw mikhrnghnunginpi 1812 milukkhasxmhnngsuxehnwaekhasniceruxngkarbrryaykhxngnkwithyasastr cungidmxbbtrinkarfngkarbrryaywithyasastrkhxngnxngekymiryaythirachsmakhm ekhacdraylaexiydkarbrryay wadrupprakxb eriyberiyngxyangepnraebiyb caknnekhacungipsmkhrepnphuchwyedwi odynahnngsuxelmniipdwy thaihedwiprathbic rbekhathangan ekhathanganthukxyanginkarepnphuchwyedwi tngaetpharorng elkha dwyenginthiidrbspdahla 25 chilling sungnxykwathanganthiranhnngsux aetekhaphxickbnganaelakhxysngektkarthdlxngkhxngedwi xyangsnic ekhamioxkasidtamedwiipsthanthitang inyuorp thaihekhaidruckkbkhnsakhyaelankwithyasastr echn hlngcaktidtamedwima 2 pi kedinthangklbxngkvsaelaidenginephimepnspdahla 30 chilling nxkcakniekhayngekhiynbthkhwamaelaraynganthangwithyasastr thaihekhamichuxesiyngephimkhuneruxy aelarierimcdtng City Philosophical Society sungepnsthanthiaelkepliynphbpakhuyknkhxngbrrdaphuthisnicwithyasastr ekhaerimsnicwichaekhmiinchwngni txmaplaypi 1820 ekhaaetngngankb sarah ebxrnad luksawchangenginkarthanganekhaerimsnicekiywkberuxngaemehlkiffa ekhathdlxngeruxng xanacaemehlkihepnphlngnganiffaxyuhlaykhrng cnkarthdlxnghnung ekhaphnkhdlwd 2 khdinwngaehwnxnediywkn odytxplaythngsxngkhxngkhdlwdhnungekhakb klwanxmietxr aelatxkhdlwdthiehluxkbaehlngcayifaelapidepidswitsihkraaesiffaphanekhainkhdlwd ekhasngektehnwa thitxkbxikkhdhnungnnkhyb aesdngwamikraaesiffaihlinkhdthi 2 thngthiimidcayifekhakhdnnely cakkarthdlxngniekhaphthnaepnhmxaeplngiffainewlatxma ekhayngkhnphbesnaerngaemehlkcakkar thdlxngethphngtaibehlk lngbnkradasthixyubnaemehlk faraedyidthdlxngichlwdkhdepnwnghlayrxbaebbthieraeriykwa odytxplaythngsxngkhxngkhdlwdekhakb aelathdlxngsxdaethngaemehlkekhaipinrahwangkhdlwd phbwa klwanxmietxrkradikipkhanghnung aelaphxaemehlkhyudning ekhmkebnklbthiedim phxekhadungaethngaemehlkxxk ekhmkebnipxikthanghnung trngkhamkbtxnaerk aelwhyudning ekhaphbwa iffaekidcakkarthiesnaerngaemehlktdkbkhdlwd ekhacungeriykkraaesiffathiekidkhunwa Induced current sungekhaphbwakraaesiffaehniywnacaekidktxemuxmikarekhluxnthitdknkhxngsnamaemehlkkbkhdlwdethann thahyudekhluxnthikraaesiffakhayip ekhacungmiaenwkhidthicaihkraaesiffaihlxyutlxdewla cunghmunkhdlwdtdkbsnamaemehlktlxdewla ekidsingpradisththieriykwainewlatxma thithuxwaepnekhruxngaerkkhxngolkthiimtxngichptikiriyathangekhmiehmuxnedim karthiidnaomcaphlitkraaesiffaxxkmaidmakaekhihnkhunxyukbpccy 2 prakar khux 1 khwamerwkhxngkhdlwdtwna aelaaethngaemehlk thaekhluxnthitdknerwkcathaihekidkraaesiffaidmakkwakarekhluxnthicha 2 canwnkhdlwdinoselnxyd thacanwnmakkhunethairkyingthaihekidaerngekhluxniffaidsungmakethann faraedyephyaephrphlnganchinnixxkipinpi kh s 1822 inhnngsuxthimichuxwa Experimental researches in electricity txmainpiinpi 1823 ekhakhnphbwithikarthaehlkklamikhwamaekhngaerngthnthanmakkwaedimaelaimepnsnim odyichehlk nikekil eriykwa ehlksetnels Stainless Steel txmainpi 1825 ekhaphb sarprakxbebnsin phbkarthaihkhlxrinepnkhxngehlw ekhaepnkhnbyytisphthekiywkbkaraeyksarlalaydwyiffahlay kha ekhaidrbkaraetngtngepnsastracary pracawichaekhmiaehngrachsmakhm inpi kh s 1833 inchwnghlngekhasnicineruxngaesng aelasuksakhnkhwatlxdma ekhalmpwyepnorkhkhwamcaesuxminbnplaykhxngchiwit aelathungaekkrrmemuxwnthi 25 singhakhm kh s 1867 thiaehmptnkhxrth xayuid 75 pixangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 04 24 subkhnemux 2008 09 14 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb imekhil faraedy