บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
โรคพาร์คินสันเป็นความผิดปรกติการเสื่อมของระบบประสาทส่วนกลาง อาการของโรคพากินสันเกิดจากเซลล์ที่ผลิตโดปามีนใน อันเป็นบริเวณหนึ่งในสมองส่วนกลาง ตาย ซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุของการตายของเซลล์นี้ ในช่วงที่เป็นโรคใหม่ ๆ อาการเด่นชัดที่สุดเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว ซึ่งรวมการสั่น สภาพแข็งเกร็ง เคลื่อนไหวช้าและเดินและลำบาก ต่อมา อาจเกิดปัญหาการคิดและพฤติกรรมได้ โดยภาวะสมองเสื่อมเกิดได้ทั่วไปในระยะท้ายของโรค ขณะที่ภาวะซึมเศร้าเป็นอาการจิตเวชที่พบบ่อยที่สุด อาการอื่นมีปัญหารับความรู้สึก การหลับและอารมณ์ โรคพาร์คินสันพบมากในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยส่วนมากเกิดอาการหลังอายุ 50 ปี
โรคพาร์คินสัน (Parkinson's disease) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Parkinson disease, idiopathic or primary parkinsonism, hypokinetic rigid syndrome, paralysis agitans, shaking palsy |
ภาพวาดแสดงอาการของผู้ป่วยโรคพาร์คินสันโดย William Richard Gowers ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือ คู่มือโรคของระบบประสาท (ค.ศ. 1886) | |
สาขาวิชา | ประสาทวิทยา |
อาการ | , , , |
ภาวะแทรกซ้อน | , depression, anxiety |
การตั้งต้น | อายุเกิน 60 ปี |
สาเหตุ | ไม่ทราบสาเหตุ |
ปัจจัยเสี่ยง | exposure, |
วิธีวินิจฉัย | วินิจฉัยจากอาการ |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | Dementia with Lewy bodies, , , antipsychotic use |
การรักษา | รักษาด้วยยาและการผ่าตัด |
ยา | , |
พยากรณ์โรค | Life expectancy ~ 15 years |
ความชุก | 6.2 million (2015) |
การเสียชีวิต | 117,400 (2015) |
อาการสั่งการหลักเรียกรวมว่า พาร์คินสันนิซึม (parkinsonism) หรือ กลุ่มอาการพาร์คินสัน (parkinsonian syndrome) โรคพาร์คินสันมักนิยามเป็นกลุ่มอาการพาร์คินสันที่ (ไม่มีสาเหตุที่ทราบ) แม้ผู้ป่วยนอกแบบบางคนมีสาเหตุจากพันธุกรรม มีการสืบสวนปัจจัยเสี่ยงและป้องกันหลายอย่าง หลักฐานชัดเจนที่สุด คือ ผู้ที่สัมผัสยาฆ่าแมลงบางชนิดจะมีความเสี่ยงต่อโรคพาร์คินสันมากขึ้น แต่ผู้สูบบุหรี่มีความเสี่ยงลดลง พยาธิสภาพของโรคเป็นลักษณะของการสะสมโปรตีนชื่อ แอลฟา-ไซนิวคลีอิน (alpha-synuclein) ใน (inclusion body) เรียก (Lewy body) ในเซลล์ประสาท และจากการสร้างและกัมมันตภาพของโดปามีนที่ผลิตในเซลล์ประสาทบางชนิดในหลายส่วนของสมองส่วนกลางไม่เพียงพอ เลวีบอดีเป็นเครื่องหมายพยาธิวิทยาของโรคนี้ และการกระจายของเลวีบอดีตลอดสมองของผู้ป่วยแตกต่างกันไปตามบุคคล การกระจายทางกายวิภาคศาสตร์ของเลวีบอดีมักสัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกและระดับอาการทางคลินิกของแต่ละบุคคล การวินิจฉัยผู้ป่วยตรงแบบอาศัยอาการเป็นหลัก โดยใช้การทดสอบอย่างการสร้างภาพประสาท (neuroimaging) เพื่อยืนยัน
กลไกการเกิดโรค
โรคพาร์คินสันในคนส่วนใหญ่นั้นไม่รู้สาเหตุ ทว่าในผู้ป่วยสัดส่วนน้อยรู้สาเหตุว่ามาจากปัจจัยทางพันธุกรรมที่ทราบ มีการระบุว่าปัจจัยอื่นสัมพันธ์กับความเสี่ยงการเป็นโรคพาร์คินสัน แต่ไม่มีการพิสูจน์ความสัมพันธ์เชิงเหตุ
โรคพาร์คินสันเกิดจากการตายของเซลล์สมองที่เรียกว่า Substantia nigra pars compacta (SNpc) สาเหตุการตายของเซลล์มีหลายทฤษฎี ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในปัจจุบัน คือทฤษฎีออกซิเดชั่น ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสาเหตุ ได้แก่ ปัจจัยทางพันธุกรรม สิ่งแวดล้อมบางอย่าง และอาจเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อไวรัสบางชนิด
สารเคมีในสมองที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ได้แก่ โดปามีน และอะซิทิลโคลีน ซึ่งอยู่ในภาวะสมดุล เมื่อเซลล์สมองที่สร้างโดปามีนตายไป สมดุลดังกล่าวก็เสียไป ร่างกายจึงเกิดความผิดปกติขึ้น ปรากฏเป็นอาการของโรคพาร์คินสัน
อาการของโรค
โรคพาร์คินสันทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการทางระบบประสาทที่เด่นชัด 3 ประการ ได้แก่ อาการสั่น เกร็ง และเคลื่อนไหวช้า
- อาการสั่น มักเกิดขึ้นขณะอยู่เฉยๆ มีลักษณะเฉพาะคือ สั่นมากเวลาอยู่นิ่งๆ แต่ถ้าเคลื่อนไหว หรือยื่นมือทำอะไร อาการสั่นจะลดลงหรือหายไป มักเกิดขึ้นที่มือข้างใดข้างหนึ่ง สังเกตได้จากมือสั่นเวลาผู้ป่วยเดิน
- อาการเกร็ง มักมีอาการแข็งตึงของแขนขา และลำตัว ทำให้เคลื่อนไหวลำบาก ปวดตามกล้ามเนื้อ
- อาการเคลื่อนไหวช้า ทำอะไรช้าลงไปจากเดิมมาก ไม่กระฉับกระเฉงว่องไวเหมือนเดิม เดินช้าและงุ่มง่าม แบบสโลว์โมชั่น สังเกตได้ว่าแขนไม่แกว่ง และผู้ป่วยมักบ่นว่าแขนขาไม่มีแรง
การวินิจฉัยโรค
โดยทั่วไปหากผู้ป่วยปรากฏอาการชัดเจน สามารถวินิจฉัยได้จากลักษณะอาการและการตรวจร่างกายทางระบบประสาทอย่างละเอียด การตรวจภาพรังสีและการตรวจเลือดไม่ช่วยในการวินิจฉัยโรค อาจใช้เพื่อวินิจฉัยแยกโรคในบางรายเท่านั้น
ระยะแรกเริ่ม อาจวินิจฉัยยาก จำเป็นต้องวินิจฉัยแยกโรคก่อนเสมอ
ผู้ที่สงสัยว่าจะป่วยเป็นโรคพาร์คินสัน ควรได้รับการตรวจวินิจฉัยจากอายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านประสาทวิทยา หรือที่เรียกว่าประสาทแพทย์
แนวทางการรักษา
การรักษาทางยา
ยาที่ให้แม้จะไม่สามารถทำให้เซลล์สมองที่ตายไปแล้วฟื้นตัวกลับมาหรืองอกใหม่ทดแทนเซลล์เดิมได้ แต่ยาจะออกฤทธิ์โดยไปเพิ่มโดพามีนในสมองให้มีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย แต่การใช้ยาต้องอาศัยความร่วมมือกับคนไข้ในการกินยาอย่างสม่ำเสมอ และต้องมีการปรับขนาดยาไม่ให้ยามากหรือน้อยเกินไป เพราะยาเหล่านี้มักจะมีผลข้างเคียงหากใช้ในขนาดไม่เหมาะสม รายละเอียดเรื่องการใช้ยาจะได้กล่าวในตอนต่อไป
การกระตุ้นสมองด้วยสนามแม่เหล็กเชิงลึก
การกระตุ้นสมองด้วยสนามแม่เหล็กเชิงลึก (Deep Transcranial Magnetic Stimulation หรือ DTMS) ได้รับ CE Mark จากสหภาพยุโรป ให้รักษาพาร์คินสันได้ โดยผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษาสามารถเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวันได้ดีขึ้นอย่างมาก โรงพยาบาลรัฐบาลเฉพาะทางด้านจิตเวช และโรงพยาบาลทั่วไปหลายแห่งในประเทศไทย มีการรักษาในรูปแบบดังกล่าว
การรักษาทางกายภาพบำบัด
เราต้องการให้ผู้ป่วยสามารถกลับคืนมาสู่การมีคุณภาพชีวิตใกล้เคียงเหมือนเดิมให้มากที่สุด เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และมีความสุขทั้งทางด้านจิตใจและร่างกาย การรักษาทางกายภาพบำบัดจะช่วยได้ในการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องและสมส่วน ท่าเดิน นั่ง การทรงตัว ตลอดจนการออกกายบริหารและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น หลังโกง ไหล่ติด ปวดหลัง ปวดเอว ปวดคอ ปวดขา เป็นต้น
การรักษาโดยการผ่าตัด
ปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางประสาทศัลยกรรม มีวิธีใหม่ๆอย่างเช่น DBS (Deep Brain Stimulation) เป็นการผ่าตัดแบบใหม่ โดยอาศัยการฝังสายเพื่อกระตุ้นทางไฟฟ้าอย่างอ่อนในสมองส่วนที่เรียกว่า Globus Pallidus หรือ Subthalamic mucleus ส่งผลให้คนไข้ที่เคยมีอาการสั่น ให้กลับมาเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น ยิ่งไปกว่านั้นยังมีการวิจัยการปลูกถ่ายเซล (Transplantation) โดยผ่าตัดสมองโดยเอาเนื้อเยื่อจากต่อมหมวกไต หรือปมประสาทบริเวณคอไปปลูกเลี้ยงในโพรงสมองเพื่อให้เนื้อเยื่อเหล่านี้ สร้างสารเคมีโดพามีนขึ้นมาทดแทนส่วนที่สมองขาดไปได้ ผลดีของการรักษาวิธีนี้ คือ ผู้ป่วยอาจไม่ต้องกินยาหรือลดขนาดยาลงได้ เพราะยาส่วนใหญ่มีราคาแพง ส่วนผลแทรกซ้อนของการผ่าตัดก็มีมากเช่นกัน นิยมตัดในรายผู้ป่วยที่อายุน้อยและมีอาการไม่มากนัก และค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดสูง
อ้างอิง
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNIH2016
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSv2016
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อCar2016
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อLancet2015
- Ferri, Fred F. (2010). Ferri's differential diagnosis : a practical guide to the differential diagnosis of symptoms, signs, and clinical disorders (2nd ed.). Philadelphia, PA: Elsevier/Mosby. p. Chapter P. ISBN .
- Leyton, Cristian E.; Golbe, Lawrence I. (27 November 2018). "Life expectancy in Parkinson disease". Neurology (ภาษาอังกฤษ). 91 (22): 991–992. doi:10.1212/WNL.0000000000006560. ISSN 0028-3878. PMID 30381371.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGBD2015Pre
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อGBD2015De
- "Parkinson's device". news (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 7 Jul 2020. สืบค้นเมื่อ 7 Jul 2020.
- "device's technology". news (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 7 Jul 2020. สืบค้นเมื่อ 7 Jul 2020.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-29. สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
- "ข่าว". news (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 7 Jul 2020. สืบค้นเมื่อ 7 Jul 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
- Parkinson's Disease ที่เว็บไซต์ Curlie
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng orkhpharkhinsnepnkhwamphidprktikaresuxmkhxngrabbprasathswnklang xakarkhxngorkhphakinsnekidcakesllthiphlitodpaminin xnepnbriewnhnunginsmxngswnklang tay sungyngimthrabsaehtukhxngkartaykhxngesllni inchwngthiepnorkhihm xakarednchdthisudekiywkhxngkbkarekhluxnihw sungrwmkarsn sphaphaekhngekrng ekhluxnihwchaaelaedinaelalabak txma xacekidpyhakarkhidaelaphvtikrrmid odyphawasmxngesuxmekididthwipinrayathaykhxngorkh khnathiphawasumesraepnxakarcitewchthiphbbxythisud xakarxunmipyharbkhwamrusuk karhlbaelaxarmn orkhpharkhinsnphbmakinphusungxayu phupwyswnmakekidxakarhlngxayu 50 piorkhpharkhinsn Parkinson s disease chuxxunParkinson disease idiopathic or primary parkinsonism hypokinetic rigid syndrome paralysis agitans shaking palsyphaphwadaesdngxakarkhxngphupwyorkhpharkhinsnody William Richard Gowers tiphimphkhrngaerkinhnngsux khumuxorkhkhxngrabbprasath kh s 1886 sakhawichaprasathwithyaxakar phawaaethrksxn depression anxietykartngtnxayuekin 60 pisaehtuimthrabsaehtupccyesiyngexposure withiwinicchywinicchycakxakarorkhxunthikhlayknDementia with Lewy bodies antipsychotic usekarrksarksadwyyaaelakarphatdya phyakrnorkhLife expectancy 15 yearskhwamchuk6 2 million 2015 karesiychiwit117 400 2015 xakarsngkarhlkeriykrwmwa pharkhinsnnisum parkinsonism hrux klumxakarpharkhinsn parkinsonian syndrome orkhpharkhinsnmkniyamepnklumxakarpharkhinsnthi immisaehtuthithrab aemphupwynxkaebbbangkhnmisaehtucakphnthukrrm mikarsubswnpccyesiyngaelapxngknhlayxyang hlkthanchdecnthisud khux phuthismphsyakhaaemlngbangchnidcamikhwamesiyngtxorkhpharkhinsnmakkhun aetphusubbuhrimikhwamesiyngldlng phyathisphaphkhxngorkhepnlksnakhxngkarsasmoprtinchux aexlfa isniwkhlixin alpha synuclein in inclusion body eriyk Lewy body inesllprasath aelacakkarsrangaelakmmntphaphkhxngodpaminthiphlitinesllprasathbangchnidinhlayswnkhxngsmxngswnklangimephiyngphx elwibxdiepnekhruxnghmayphyathiwithyakhxngorkhni aelakarkracaykhxngelwibxditlxdsmxngkhxngphupwyaetktangkniptambukhkhl karkracaythangkaywiphakhsastrkhxngelwibxdimksmphnthodytrngkbkaraesdngxxkaelaradbxakarthangkhlinikkhxngaetlabukhkhl karwinicchyphupwytrngaebbxasyxakarepnhlk odyichkarthdsxbxyangkarsrangphaphprasath neuroimaging ephuxyunynklikkarekidorkhorkhpharkhinsninkhnswnihynnimrusaehtu thwainphupwysdswnnxyrusaehtuwamacakpccythangphnthukrrmthithrab mikarrabuwapccyxunsmphnthkbkhwamesiyngkarepnorkhpharkhinsn aetimmikarphisucnkhwamsmphnthechingehtu orkhpharkhinsnekidcakkartaykhxngesllsmxngthieriykwa Substantia nigra pars compacta SNpc saehtukartaykhxngesllmihlaythvsdi thiidrbkaryxmrbmakthisudinpccubn khuxthvsdixxksiedchn pccythiekiywkhxngkbsaehtu idaek pccythangphnthukrrm singaewdlxmbangxyang aelaxacekiywkhxngkbkartidechuxiwrsbangchnid sarekhmiinsmxngthiekiywkhxngkbkarekhluxnihwkhxngrangkay idaek odpamin aelaxasithilokhlin sungxyuinphawasmdul emuxesllsmxngthisrangodpamintayip smduldngklawkesiyip rangkaycungekidkhwamphidpktikhun praktepnxakarkhxngorkhpharkhinsnxakarkhxngorkhorkhpharkhinsnthaihphupwyekidxakarthangrabbprasaththiednchd 3 prakar idaek xakarsn ekrng aelaekhluxnihwcha xakarsn mkekidkhunkhnaxyuechy milksnaechphaakhux snmakewlaxyuning aetthaekhluxnihw hruxyunmuxthaxair xakarsncaldlnghruxhayip mkekidkhunthimuxkhangidkhanghnung sngektidcakmuxsnewlaphupwyedin xakarekrng mkmixakaraekhngtungkhxngaekhnkha aelalatw thaihekhluxnihwlabak pwdtamklamenux xakarekhluxnihwcha thaxairchalngipcakedimmak imkrachbkraechngwxngiwehmuxnedim edinchaaelangumngam aebbsolwomchn sngektidwaaekhnimaekwng aelaphupwymkbnwaaekhnkhaimmiaerngkarwinicchyorkhodythwiphakphupwypraktxakarchdecn samarthwinicchyidcaklksnaxakaraelakartrwcrangkaythangrabbprasathxyanglaexiyd kartrwcphaphrngsiaelakartrwceluxdimchwyinkarwinicchyorkh xacichephuxwinicchyaeykorkhinbangrayethann rayaaerkerim xacwinicchyyak caepntxngwinicchyaeykorkhkxnesmx phuthisngsywacapwyepnorkhpharkhinsn khwridrbkartrwcwinicchycakxayuraephthyphuechiywchaythangdanprasathwithya hruxthieriykwaprasathaephthyaenwthangkarrksakarrksathangya yathiihaemcaimsamarththaihesllsmxngthitayipaelwfuntwklbmahruxngxkihmthdaethneslledimid aetyacaxxkvththiodyipephimodphamininsmxngihmiprimanephiyngphxkbkhwamtxngkarkhxngrangkay aetkarichyatxngxasykhwamrwmmuxkbkhnikhinkarkinyaxyangsmaesmx aelatxngmikarprbkhnadyaimihyamakhruxnxyekinip ephraayaehlanimkcamiphlkhangekhiynghakichinkhnadimehmaasm raylaexiyderuxngkarichyacaidklawintxntxip karkratunsmxngdwysnamaemehlk echingluk karkratunsmxngdwysnamaemehlk echingluk Deep Transcranial Magnetic Stimulation hrux DTMS idrb CE Mark cakshphaph yuorp ihrksapharkhinsnid odyphupwythitxbsnxngtxkarrksasamarthekhluxnihwrangkayinchiwitpracawniddikhunxyangmak orngphyabalrthbalechphaathangdancitewch aelaorngphyabalthwiphlayaehnginpraethsithy mikarrksainrupaebbdngklaw karrksathangkayphaphbabd eratxngkarihphupwysamarthklbkhunmasukarmikhunphaphchiwitiklekhiyngehmuxnedimihmakthisud ephuxihphupwysamarthchwyehluxtnexngid aelamikhwamsukhthngthangdanciticaelarangkay karrksathangkayphaphbabdcachwyidinkarekhluxnihwthithuktxngaelasmswn thaedin nng karthrngtw tlxdcnkarxxkkaybriharaelaaekikhphawaaethrksxntang echn hlngokng ihltid pwdhlng pwdexw pwdkhx pwdkha epntn karrksaodykarphatd pccubnmikhwamkawhnathangprasathslykrrm miwithiihmxyangechn DBS Deep Brain Stimulation epnkarphatdaebbihm odyxasykarfngsayephuxkratunthangiffaxyangxxninsmxngswnthieriykwa Globus Pallidus hrux Subthalamic mucleus sngphlihkhnikhthiekhymixakarsn ihklbmaekhluxnihwiddikhun yingipkwannyngmikarwicykarplukthayesl Transplantation odyphatdsmxngodyexaenuxeyuxcaktxmhmwkit hruxpmprasathbriewnkhxipplukeliynginophrngsmxngephuxihenuxeyuxehlani srangsarekhmiodphaminkhunmathdaethnswnthismxngkhadipid phldikhxngkarrksawithini khux phupwyxacimtxngkinyahruxldkhnadyalngid ephraayaswnihymirakhaaephng swnphlaethrksxnkhxngkarphatdkmimakechnkn niymtdinrayphupwythixayunxyaelamixakarimmaknk aelakhaichcayinkarphatdsungxangxingxangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux NIH2016 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Sv2016 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Car2016 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Lancet2015 Ferri Fred F 2010 Ferri s differential diagnosis a practical guide to the differential diagnosis of symptoms signs and clinical disorders 2nd ed Philadelphia PA Elsevier Mosby p Chapter P ISBN 978 0323076999 Leyton Cristian E Golbe Lawrence I 27 November 2018 Life expectancy in Parkinson disease Neurology phasaxngkvs 91 22 991 992 doi 10 1212 WNL 0000000000006560 ISSN 0028 3878 PMID 30381371 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux GBD2015Pre xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux GBD2015De Parkinson s device news phasaxngkvsaebbxemrikn 7 Jul 2020 subkhnemux 7 Jul 2020 device s technology news phasaxngkvsaebbxemrikn 7 Jul 2020 subkhnemux 7 Jul 2020 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 06 29 subkhnemux 7 July 2020 khaw news phasaxngkvsaebbxemrikn 7 Jul 2020 subkhnemux 7 Jul 2020 aehlngkhxmulxunkarcaaenkorkhDICD 10 G20 F02 3ICD 332 168600 556500MeSH D010300 9651thrphyakrphaynxk 000755 neuro 304 neuro 635 in young pmr 99 rehab Parkinson Disease Overvieworkhpharkhinsn thiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy hakhwamhmaycakwikiphcnanukrmphaphaelasuxcakkhxmmxnsenuxhakhawcakwikikhawkhakhmcakwikikhakhmkhxmultnchbbcakwikisxrshnngsuxcakwikitarakhxmulcakwikisneths Parkinson s Disease thiewbist Curlie bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk