บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
โบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ เป็นการศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย์เริ่มต้นขึ้นโดยอาศัยระยะเวลายาวนานจากบรรพบุรุษของมนุษย์เมื่อราว 3 ล้านปีก่อน จนกระทั่งกลายมาเป็น Homo sapiens sapiens ในประเทศไทยปัจจุบันเอง วิวัฒนาการของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์อาจสืบย้อนไปได้ราว 90,000 ปีที่ผ่านมาเท่านั้นเอง ในขณะที่นักโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติรวมถึงนักวิชาการสาขาอื่นก็ต่างพยายามค้นหามนุษย์ Homo erectus ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบันในประเทศไทย
เหตุที่มีการพยายามตามหามนุษย์โฮโม อีเรคตัสในประเทศไทยนี้ สืบเนื่องมาจากทฤษฎีการแพร่กระจายของมนุษย์โดยการเคลื่อนย้ายออกจากแอฟริกา (Out of Africa)โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกระจายตัวออกไปไกลเกินทวีปยุโรปเมื่อราว 1.6 ล้านปีมาแล้ว การแพร่กระจายมายังเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้มีหลักฐานปรากฏโด่งดังที่สุดได้แก่ "มนุษย์ปักกิ่ง" ที่พบจากการขุดค้นที่ถ้ำโจวโข่วเถี้ยนในประเทศจีนและ "มนุษย์ชวา" ที่พบในอินโดนีเซีย สัณฐานของโครงกระดูกทั้งสองนี้บ่งชี้ว่าเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ Homo erectus ที่เดินทางมาถึงโดยพื้นที่รอยต่อระหว่างจีนกับอินโดนีเซียบริเวณพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยสภาพแวดล้อมเขตร้อนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นจุดที่เหมาะแก่การอยู่อาศัยในช่วงไพลสโตซีนตอนต้น (Early Pleistocene: 1.8 - 0.73 MYA) แบ่งตามการแบ่งยุคสมัยทางธรณีวิทยาของ ดร.รัศมี ชูทรงเดช
ไพลสโตซีนตอนต้น - ตอนกลาง
ยุคนี้จะสัมพันธ์กับการแบ่งยุคสมัยโดยอาศัยรูปแบบและวัสดุคือตรงกับสมัยหินเก่า (เมื่อ 500,000-10,000 ปีมาแล้ว
ในระยะแรกเริ่ม ด็อกเตอร์ เดวิดสัน แบล็ค ได้เข้ามาค้นหาโฮโม อิเรคตัสในไทยแต่ไม่พบหลักฐานใด ใน พ.ศ. 2515-2517 ดร.เปีย ซอเรนเซน นักโบราณคดีชาวเดนมาร์ก ได้เข้ามาทำการสำรวจและขุดค้นในหลายพื้นที่ได้แก่ อ.แม่ทะ และ อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง และ อ.เมือง อ.ร้องกวาง และอ.สอง จ.แพร่ เพื่อสืบค้นร่องรอยของคนในสมัยไพลสโตซีน ปรากฏว่าพบร่องรอยของเครื่องมือหินกะเทาะกลุ่มสับตัดถึง 3,158 ชิ้น จากการกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์สามารถกำหนดอายุแหล่งโบราณคดีได้ในราว 866,000+-100 แม้ว่าการสำรวจและขุดค้นครั้งนี้จะพบเพียงเครื่องมือหิน แต่ก็สะท้อนให้เห็นถึงร่องรอยของคนที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยในสมัยไพลสโตซีนตอนต้นเลยทีเดียว
ต่อมาในพ.ศ. 2521ดร.เจ็ฟฟรี โป๊บ อาจารย์ สุภาพร นาคบัลลังก์ คุณมาลัย เลียงเจริญ และคุณพินิจ กุลสิงห์ ได้ทำการขุดค้นที่เขาป่าหนาม จังหวัดลำปาง และได้พบโบราณวัตถุคือเครื่องมือหินกะเทาะ กลุ่มเครื่องมือสับตัด กระดูกสัตว์ตระกูลวัว ควาย กวาง ฮิปโปโปเตมัส และเสือ และยังพบร่องรอยของกองไฟด้วย แสดงให้เห็นว่าบริเวณนี้คงเคยเป็นที่พักอาศัยชั่วคราวของบรรพบุรุษของมนุษย์ในสมัยนั้น (คนสมัยก่อนจะเคลื่อนย้ายถิ่นฐานไปเรื่อยๆ ทั้งนี้คงขึ้นกับทรัพยากรและฤดูกาล)นอกจากนี้ การพบกระดูกสัตว์ดังที่ได้กล่าวมาแล้วยังสะท้อนให้เห็นสภาพแวดล้อมในสมัยโบราณซึ่งมีลักษณะเป็นป่าโปร่งด้วย ทั้งนี้ จากการหาค่าอายุโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สามารถกำหนดอายุของแหล่งโบราณคดีนี้ได้ในราว 800,000-600,000 ปีมาแล้ว
ไพลสโตซีนตอนกลาง
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- แบ่งตามการแบ่งยุคสมัยของศาสตราจารย์ ชิน อยู่ดี
- รัศมี ชูทรงเดช. เอกสารคำสอนวิชา 300 221 โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย. [ม.ป.ท.] : คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549. หน้า 52-53.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul obrankhdikxnprawtisastr khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir obrankhdikxnprawtisastr epnkarsuksawiwthnakarkhxngmnusyerimtnkhunodyxasyrayaewlayawnancakbrrphburuskhxngmnusyemuxraw 3 lanpikxn cnkrathngklaymaepn Homo sapiens sapiens inpraethsithypccubnexng wiwthnakarkhxngmnusykxnprawtisastrxacsubyxnipidraw 90 000 pithiphanmaethannexng inkhnathinkobrankhdikxnprawtisastrthngchawithyaelachawtangchatirwmthungnkwichakarsakhaxunktangphyayamkhnhamnusy Homo erectus sungepnbrrphburuskhxngmnusypccubninpraethsithy ehtuthimikarphyayamtamhamnusyohom xierkhtsinpraethsithyni subenuxngmacakthvsdikaraephrkracaykhxngmnusyodykarekhluxnyayxxkcakaexfrika Out of Africa odyechphaaxyangying karkracaytwxxkipiklekinthwipyuorpemuxraw 1 6 lanpimaaelw karaephrkracaymayngexechiytawnxxkaelaexechiytawnxxkechiyngitnimihlkthanpraktodngdngthisudidaek mnusypkking thiphbcakkarkhudkhnthithaocwokhwethiyninpraethscinaela mnusychwa thiphbinxinodniesiy snthankhxngokhrngkradukthngsxngnibngchiwaepnbrrphburuskhxngmnusy Homo erectus thiedinthangmathungodyphunthirxytxrahwangcinkbxinodniesiy briewnphunthwipexechiytawnxxkechiyngit odysphaphaewdlxmekhtrxnkhxngexechiytawnxxkechiyngit epncudthiehmaaaekkarxyuxasyinchwngiphlsotsintxntn Early Pleistocene 1 8 0 73 MYA aebngtamkaraebngyukhsmythangthrniwithyakhxng dr rsmi chuthrngedchiphlsotsintxntn txnklangyukhnicasmphnthkbkaraebngyukhsmyodyxasyrupaebbaelawsdukhuxtrngkbsmyhineka emux 500 000 10 000 pimaaelw inrayaaerkerim dxketxr edwidsn aeblkh idekhamakhnhaohom xierkhtsinithyaetimphbhlkthanid in ph s 2515 2517 dr epiy sxernesn nkobrankhdichawednmark idekhamathakarsarwcaelakhudkhninhlayphunthiidaek x aemtha aela x aememaa c lapang aela x emuxng x rxngkwang aelax sxng c aephr ephuxsubkhnrxngrxykhxngkhninsmyiphlsotsin praktwaphbrxngrxykhxngekhruxngmuxhinkaethaaklumsbtdthung 3 158 chin cakkarkahndxayuthangwithyasastrsamarthkahndxayuaehlngobrankhdiidinraw 866 000 100 aemwakarsarwcaelakhudkhnkhrngnicaphbephiyngekhruxngmuxhin aetksathxnihehnthungrxngrxykhxngkhnthiekaaekthisudinpraethsithyinsmyiphlsotsintxntnelythiediyw txmainph s 2521dr ecffri opb xacary suphaphr nakhbllngk khunmaly eliyngecriy aelakhunphinic kulsingh idthakarkhudkhnthiekhapahnam cnghwdlapang aelaidphbobranwtthukhuxekhruxngmuxhinkaethaa klumekhruxngmuxsbtd kradukstwtrakulww khway kwang hipopopetms aelaesux aelayngphbrxngrxykhxngkxngifdwy aesdngihehnwabriewnnikhngekhyepnthiphkxasychwkhrawkhxngbrrphburuskhxngmnusyinsmynn khnsmykxncaekhluxnyaythinthaniperuxy thngnikhngkhunkbthrphyakraelavdukal nxkcakni karphbkradukstwdngthiidklawmaaelwyngsathxnihehnsphaphaewdlxminsmyobransungmilksnaepnpaoprngdwy thngni cakkarhakhaxayuodywithikarthangwithyasastr samarthkahndxayukhxngaehlngobrankhdiniidinraw 800 000 600 000 pimaaelwiphlsotsintxnklangswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxingaebngtamkaraebngyukhsmykhxngsastracary chin xyudi rsmi chuthrngedch exksarkhasxnwicha 300 221 obrankhdismykxnprawtisastrinpraethsithy m p th khnaobrankhdi mhawithyalysilpakr 2549 hna 52 53 bthkhwammnusy manusywithya aelaeruxngthiekiywkhxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk