แหนแดง Mosquito fern | |
---|---|
Azolla caroliniana | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
หมวด: | Pteridophyta |
ชั้น: | |
อันดับ: | |
วงศ์: | Azollaceae |
สกุล: | Azolla |
Species | |
Willd. |
แหนแดง (อังกฤษ: Mosquito fern, Water fern) เป็นพืชน้ำเล็ก ๆ ตระกูลเฟิร์นลอยน้ำ พบเจริญเติบโตอยู่บนผิวน้ำในที่มีน้ำขังในเขตร้อนและอบอุ่นทั่วไป มีไนโตรเจนสูง พร้อมทั้ง โปรตีนไม่น้อยกว่า 30%
ลักษณะ
แหนแดงเป็นเฟินน้ำ ขนาดเล็ก ลอยบนผิวน้ำ ต้นแก่ที่ได้รับแสงเต็มที่จะเป็นสีแดงคล้ำ ต้นอ่อนหรือได้รับแสงไม่เต็มที่จะเป็นสีเขียว แตกกิ่งแบบขนนก รากเป็นรากพิเศษ ยาวอยู่ทางด้านใต้ของลำต้น ทั้งต้นและกิ่งมีใบขนาดเล็กปกคลุม เรียงสลับซ้อนกัน ใบแต่ละใบแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน ส่วนบนหนา สีเขียวหรือสีแดง ส่วนล่างบางอยู่ใต้น้ำ ไม่ค่อยมีสี ใบล่างสุดสร้าง sporocrap 2-4 อัน ที่แกนของใบด้านใต้ใบ ภายในมีเมกะสปอร์และไมโครสปอร์
ในใบของแหนแดงมีโพรงขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นที่อาศัยของ ซึ่งเป็นสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน Anabenaeได้รับสารอาหารจากแหนแดง ส่วนแหนแดงจะได้ไนโตรเจนจากการตรึงไนโตรเจนของ Anabenae
องค์ประกอบที่สำคัญได้แก่โปรตีน ไขมัน และเซลลูโลส แร่ธาตุ แหนแดงต้องการธาตุอาหารหลักที่สำคัญได้แก่ และ และจุลธาตุที่สำคัญได้แก่ เหล็ก และ โมลิบดินัม ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของเอนไซม์ ในการตรึงไนโตรเจน แหนแดงสามารถมีชีวิตอยู่ได้ตั้งแต่อุณหภูมิ 5 – 45องศาเซลเซียส เจริญได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิ 20 – 30 องศาเซลเซียส แหนแดงจะเจริญเติบโตได้ดีที่สุดที่มีแสงประมาณ 50 – 70 เปอร์เซ็นต์ของแสงสว่าง พีเอชที่เหมาะสมที่แหนแดงเจริญเติบโตได้ดีที่สุดคือ 4.0 – 5.5 ความลึกของน้ำความลึกที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของแหนแดงคือประมาณ 10 เซนติเมตร
ประโยชน์ของแหนแดง
แหนแดงเป็นพืชน้ำมีกระจัดกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย เป็นทรัพยากรที่ใช้ไม่หมดสิ้น และแหนแดงมีโปรตีนสูง เน่าสลายปลดปล่อยธาตุอาหารออกมาได้อย่างรวดเร็ว และสามารถขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย มีประโยชน์ดังต่อไปนี้
- ใช้เป็นปุ๋ยพืชสดในนาข้าวทดแทนไนโตรเจน โดยที่ในโพรงใบแหนแดง สามารถดึงเอาไนโตรเจนจากอากาศมาใช้สำหรับการเจริญเติบโตและขยายพันธุ์ แหนแดงมีอัตราส่วนระหว่างคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C : N) อยู่ระหว่าง 8 – 13 หลังถูกไถกลบ จะย่อยสลายและปลดปล่อยธาตุอาหารออกมาในระยะเวลาที่สั้นประมาณ 8 สัปดาห์ ทำให้พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เร็วขึ้น ลดปริมาณวัชพืชในนาข้าว แหนแดงจะคลุมผิวน้ำป้องกันไม่ให้แสงแดดส่องลงไปในน้ำ ทำให้วัชพืชในน้ำเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที่
- แหนแดงสามารถเลี้ยงได้ในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแหนแดงในนาข้าวร่วมกับการเลี้ยงปลา พบว่า มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตข้าวใกล้เคียงกับการเลี้ยงปลาในนาข้าวโดยใช้ปุ๋ยเคมีตามปกติ และยังให้ผลผลิตสูงกว่าการใช้ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนเพียงอย่างเดียว
- โครงสร้างของชีวมวลของแหนแดงมีหมู่คาร์บอกซิลและหมู่ฟอสเฟตจึงใช้เป็นตัวดูดซับโลหะหนักได้ โดยแหนแดงที่ทำปฏิกิริยากับจะดูดซับ ตะกั่ว แคดเมียม ทองแดงและสังกะสีในน้ำเสียได้ดี
อ้างอิง
- ประยูร สวัสดีและคณะ, 2531
- Ngah, W.S., and Hanafiah, M.A.K.M. 2008. Removal of heavy metal from wastewater by chemically modified plant wastes as adsorbents: A review. Bioresource Technology. 99, 3935 – 3948
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aehnaedng Mosquito fernAzolla carolinianakarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaehmwd Pteridophytachn xndb wngs Azollaceaeskul AzollaSpeciesWilld Lam Franch amp Sav Presl Kaulf Decne ex Mett R Br aehnaedng xngkvs Mosquito fern Water fern epnphuchnaelk trakulefirnlxyna phbecriyetibotxyubnphiwnainthiminakhnginekhtrxnaelaxbxunthwip miinotrecnsung phrxmthng oprtinimnxykwa 30 lksnaaehnaedngepnefinna khnadelk lxybnphiwna tnaekthiidrbaesngetmthicaepnsiaedngkhla tnxxnhruxidrbaesngimetmthicaepnsiekhiyw aetkkingaebbkhnnk rakepnrakphiess yawxyuthangdanitkhxnglatn thngtnaelakingmiibkhnadelkpkkhlum eriyngslbsxnkn ibaetlaibaebngepn 2 swnethakn swnbnhna siekhiywhruxsiaedng swnlangbangxyuitna imkhxymisi iblangsudsrang sporocrap 2 4 xn thiaeknkhxngibdanitib phayinmiemkaspxraelaimokhrspxr inibkhxngaehnaedngmiophrngkhnadihy sungepnthixasykhxng sungepnsahraysiekhiywaekmnaengin Anabenaeidrbsarxaharcakaehnaedng swnaehnaedngcaidinotrecncakkartrunginotrecnkhxng Anabenae xngkhprakxbthisakhyidaekoprtin ikhmn aelaeslluols aerthatu aehnaedngtxngkarthatuxaharhlkthisakhyidaek aela aelaculthatuthisakhyidaek ehlk aela omlibdinm sungepnxngkhprakxbthisakhykhxngexnism inkartrunginotrecn aehnaedngsamarthmichiwitxyuidtngaetxunhphumi 5 45xngsaeslesiys ecriyiddithisudthixunhphumi 20 30 xngsaeslesiys aehnaedngcaecriyetibotiddithisudthimiaesngpraman 50 70 epxresntkhxngaesngswang phiexchthiehmaasmthiaehnaedngecriyetibotiddithisudkhux 4 0 5 5 khwamlukkhxngnakhwamlukthiehmaasmsahrbkarecriyetibotkhxngaehnaedngkhuxpraman 10 esntiemtrpraoychnkhxngaehnaedngaehnaedngepnphuchnamikracdkracayxyuthwpraethsithy epnthrphyakrthiichimhmdsin aelaaehnaedngmioprtinsung enaslaypldplxythatuxaharxxkmaidxyangrwderw aelasamarthkhyayphnthuidxyangrwderwxikdwy mipraoychndngtxipni ichepnpuyphuchsdinnakhawthdaethninotrecn odythiinophrngibaehnaedng samarthdungexainotrecncakxakasmaichsahrbkarecriyetibotaelakhyayphnthu aehnaedngmixtraswnrahwangkharbxntxinotrecn C N xyurahwang 8 13 hlngthukithklb cayxyslayaelapldplxythatuxaharxxkmainrayaewlathisnpraman 8 spdah thaihphuchsamarthnaipichpraoychniderwkhun ldprimanwchphuchinnakhaw aehnaedngcakhlumphiwnapxngknimihaesngaeddsxnglngipinna thaihwchphuchinnaecriyetibotidimetmthiaehnaedngsamartheliyngidindinthimikhwamxudmsmburnta nganwicythiekiywkhxngkbaehnaednginnakhawrwmkbkareliyngpla phbwa miprasiththiphaphinkarephimphlphlitkhawiklekhiyngkbkareliyngplainnakhawodyichpuyekhmitampkti aelayngihphlphlitsungkwakarichpuyekhmiinotrecnephiyngxyangediyw okhrngsrangkhxngchiwmwlkhxngaehnaedngmihmukharbxksilaelahmufxseftcungichepntwdudsbolhahnkid odyaehnaedngthithaptikiriyakbcadudsb takw aekhdemiym thxngaedngaelasngkasiinnaesiyiddixangxingprayur swsdiaelakhna 2531 Ngah W S and Hanafiah M A K M 2008 Removal of heavy metal from wastewater by chemically modified plant wastes as adsorbents A review Bioresource Technology 99 3935 3948