แม่น้ำเซยา (รัสเซีย: Зе́я; มาจากคำในภาษาเอเวนค์: де̄е, djee, แปลว่า "ใบมีด"; จีน: 结雅; พินอิน: jié yǎ ; แมนจู: ᠵᡳᠩᡴᡳᡵᡳᠪᡳᡵᠠ , : jingkiri bira) เป็นสาขาฝั่งซ้ายของแม่น้ำอามูร์ไหลจากทางทิศเหนือ ในแคว้นอามูร์ ประเทศรัสเซีย มีความยาว 1,242 กิโลเมตร (772 ไมล์) และมีพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำ 233,000 ตารางกิโลเมตร (90,000 ตารางไมล์) ปริมาณน้ำเฉลี่ยของแม่น้ำคือ 1,800 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (64,000 ลูกบาศก์ฟุต/วินาที)
แม่น้ำเซยา | |
---|---|
เกาะในแม่น้ำเซยา | |
แผนที่ลุ่มแม่น้ำอามูร์โดยเน้นสีที่แม่น้ำเซยา | |
ชื่อท้องถิ่น | Зея (รัสเซีย) |
ที่ตั้ง | |
ประเทศ | รัสเซีย |
หน่วยองค์ประกอบ | แคว้นอามูร์ |
ลักษณะทางกายภาพ | |
ต้นน้ำ | ทิวเขา |
ปากน้ำ | แม่น้ำอามูร์ |
• พิกัด | 50°14′31″N 127°35′53″E / 50.2419°N 127.598°E |
ความยาว | 1,242 กิโลเมตร (772 ไมล์) |
พื้นที่ลุ่มน้ำ | 233,000 ตร.กม. (90,000 ตารางไมล์) |
อัตราการไหล | |
• ตำแหน่ง | เมืองบลาโกเวชเชนสค์ |
• เฉลี่ย | 1,800 ลบ.ม./วินาที (64,000 ลบ.ฟุต/วินาที) |
• ต่ำสุด | 1.5 ลบ.ม./วินาที (53 ลบ.ฟุต/วินาที) |
• สูงสุด | 14,200 ลบ.ม./วินาที (500,000 ลบ.ฟุต/วินาที) |
ลุ่มน้ำ | |
ลำดับแม่น้ำ | แม่น้ำอามูร์ → ทะเลโอค็อตสค์ |
ประวัติ
ชาวรัสเซียคนแรกที่สำรวจพื้นที่และเขียนรายงานเกี่ยวกับลำน้ำคือ (Василий Данилович Поярков)
เส้นทาง
เริ่มต้นบริเวณสันเขา (Токинский Становик) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขา (Становой хребет)
แม่น้ำเซยาไหลผ่านอ่างเก็บน้ำเซยา ที่จุดแยกของทิวเขาตูกูรินกรา (Хребет Тукурингра) และทิวเขาจักดึย (Хребет Джагды) และบรรจบกับแม่น้ำอามูร์ใกล้เมืองบลาโกเวชเชนสค์ ที่ชายแดนประเทศจีน การควบคุมการปล่อยน้ำในแม่น้ำโดยเขื่อนเซยา ช่วยลดอัตราการไหลของน้ำในแม่น้ำส่วนปลายลงเหลือ 5,000 ลูกบาศ์กเมตร/วินาที แม่น้ำเซยาในปัจจุบันที่มีเขื่อนควบคุม มีส่วนประมาณ 16% ของอัตราการไหลเฉลี่ยและอัตราการไหลสูงสุดของแม่น้ำอามูร์ ขณะที่ในอดีตแม่น้ำเซยามีส่วนในอัตราการไหลได้มากถึงเกือบ 50% ของการไหลสูงสุดของแม่น้ำอามูร์ ที่ประมาณ 30,000 ลูกบาศ์กเมตร/วินาที
แม่น้ำสาขาหลักของแม่น้ำเซยาทางฝั่งขวาของลำน้ำได้แก่ แม่น้ำตอก (Ток), แม่น้ำมุลมูกา (Мульмуга), แม่น้ำเบรียนตา (Брянта), แม่น้ำกิลยูย (Гилюй) และแม่น้ำอูร์คัน (Уркан) และทางฝั่งซ้ายของลำน้ำได้แก่แม่น้ำคูปูรี (Купури), แม่น้ำอาร์กี (Арги), แม่น้ำเดป (Деп), แม่น้ำเซเลมจา (Селемджа) และแม่น้ำตอม (Томь)
ในแต่ละปีแม่น้ำกลายเป็นน้ำแข็งตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงพฤษภาคม ขณะที่แม่น้ำไม่มีน้ำแข็ง จะมีการเดินเรือในลำน้ำโดยมีท่าเรือที่สำคัญได้แก่ท่าเรือเมืองเซยา, เมือง (Свобо́дный) และเมืองบลาโกเวชเชนสค์
อ้างอิง
- Sokolov, Far East // Hydrography of USSR. (ในภาษารัสเซีย).
- Река ЗЕЯ [Zeya river]. the State Water Register of Russia (ภาษารัสเซีย).
- Зея (река в Амурской обл.), (ในภาษารัสเซีย).
บรรณานุกรม
- [Hydroecological monitoring of the zone of influence of the Zeya hydroelectric complex] (PDF). Гл. ред. С. Е. Сиротский (ภาษารัสเซีย). Хабаровск: ДВО РАН. 2010. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-02-03. สืบค้นเมื่อ 2021-11-30.
- Мина М. В. (1962). Материалы по ихтиофауне реки Зеи [Materials on the ichthyofauna of the Zeya River]. Научные доклады высшей школы. Биологические науки (ภาษารัสเซีย) (4): 33–37. ISSN 1028-0057.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aemnaesya rsesiy Ze ya macakkhainphasaexewnkh de e djee aeplwa ibmid cin 结雅 phinxin jie yǎ aemncu ᠵᡳᠩᡴᡳᡵᡳ ᠪᡳᡵᠠ jingkiri bira epnsakhafngsaykhxngaemnaxamurihlcakthangthisehnux inaekhwnxamur praethsrsesiy mikhwamyaw 1 242 kiolemtr 772 iml aelamiphunthirablumaemna 233 000 tarangkiolemtr 90 000 tarangiml primannaechliykhxngaemnakhux 1 800 lukbaskemtr winathi 64 000 lukbaskfut winathi aemnaesyaekaainaemnaesyaaephnthilumaemnaxamurodyennsithiaemnaesyachuxthxngthinZeya rsesiy thitngpraethsrsesiyhnwyxngkhprakxbaekhwnxamurlksnathangkayphaphtnnathiwekhapaknaaemnaxamur phikd50 14 31 N 127 35 53 E 50 2419 N 127 598 E 50 2419 127 598khwamyaw1 242 kiolemtr 772 iml phunthilumna233 000 tr km 90 000 tarangiml xtrakarihl taaehnngemuxngblaokewchechnskh echliy1 800 lb m winathi 64 000 lb fut winathi tasud1 5 lb m winathi 53 lb fut winathi sungsud14 200 lb m winathi 500 000 lb fut winathi lumnaladbaemnaaemnaxamur thaeloxkhxtskhprawtichawrsesiykhnaerkthisarwcphunthiaelaekhiynraynganekiywkblanakhux Vasilij Danilovich Poyarkov esnthangerimtnbriewnsnekha Tokinskij Stanovik sungepnswnhnungkhxngethuxkekha Stanovoj hrebet aemnaesyaihlphanxangekbnaesya thicudaeykkhxngthiwekhatukurinkra Hrebet Tukuringra aelathiwekhackduy Hrebet Dzhagdy aelabrrcbkbaemnaxamuriklemuxngblaokewchechnskh thichayaednpraethscin karkhwbkhumkarplxynainaemnaodyekhuxnesya chwyldxtrakarihlkhxngnainaemnaswnplaylngehlux 5 000 lukbaskemtr winathi aemnaesyainpccubnthimiekhuxnkhwbkhum miswnpraman 16 khxngxtrakarihlechliyaelaxtrakarihlsungsudkhxngaemnaxamur khnathiinxditaemnaesyamiswninxtrakarihlidmakthungekuxb 50 khxngkarihlsungsudkhxngaemnaxamur thipraman 30 000 lukbaskemtr winathi aemnasakhahlkkhxngaemnaesyathangfngkhwakhxnglanaidaek aemnatxk Tok aemnamulmuka Mulmuga aemnaebriynta Bryanta aemnakilyuy Gilyuj aelaaemnaxurkhn Urkan aelathangfngsaykhxnglanaidaekaemnakhupuri Kupuri aemnaxarki Argi aemnaedp Dep aemnaeselmca Selemdzha aelaaemnatxm Tom inaetlapiaemnaklayepnnaaekhngtngaeteduxnphvscikaynthungphvsphakhm khnathiaemnaimminaaekhng camikaredineruxinlanaodymithaeruxthisakhyidaekthaeruxemuxngesya emuxng Svobo dnyj aelaemuxngblaokewchechnskhxangxingSokolov Far East Hydrography of USSR inphasarsesiy Reka ZEYa Zeya river the State Water Register of Russia phasarsesiy Zeya reka v Amurskoj obl inphasarsesiy brrnanukrm Hydroecological monitoring of the zone of influence of the Zeya hydroelectric complex PDF Gl red S E Sirotskij phasarsesiy Habarovsk DVO RAN 2010 ISBN 978 5 7442 1458 6 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2020 02 03 subkhnemux 2021 11 30 Mina M V 1962 Materialy po ihtiofaune reki Zei Materials on the ichthyofauna of the Zeya River Nauchnye doklady vysshej shkoly Biologicheskie nauki phasarsesiy 4 33 37 ISSN 1028 0057 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb aemnaesya bthkhwamekiywkbphumisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk