โรคเริม (อังกฤษ: Herpes simplex) โรคเริมเป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อไวรัส ชื่อ "Herpes simplex" ซึ่งเชื้อไวรัสตัวนี้มีอยู่ 2 ชนิด คือ ชนิดที่ทำให้เกิดแผล (cold sore) ที่พบบริเวณริมฝีปาก ทั้งบนและล่าง หรือมุมปาก พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ และชนิดที่มักจะพบเริมบริเวณอวัยวะเพศ พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก ลักษณะอาการแบ่งได้เป็นหลายระยะ โดยจะเริ่มจากความรู้สึกคันหรือเจ็บยิบๆบริเวณที่จะเกิดแผล แล้วจะมีผื่น กลายเป็นกลุ่มของตุ่มน้ำใสซึ่งภายหลังจะรวมตัวกันอยู่บนผิวหนังประมาณ 1-2 วัน จากนั้นตุ่มน้ำใสนี้ จะแตกออก และตกสะเก็ดแต่บางรายอาจเป็นนานกว่านั้นเกือบถึง 1 สัปดาห์ ทั้งนี้เราไม่สามารถกำจัดเชื้อไวรัสเริมได้เด็ดขาด แต่เชื้อจะมีระยะพักตัว ซึ่งมักพักตัวอยู่ในเส้นประสาท และก่อให้เกิดตุ่มใสขึ้นอีกได้เสมอๆ ซึ่งขึ้นกับปัจจัยต่างๆ เช่น ภูมิคุ้มกันลดลง ความเครียดทางกายหรือจิตใจ ช่วงประจำเดือน เป็นต้น
เริม (Herpes simplex) | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | A60, B00, G05.1, P35.2 |
ICD- | 054.0, 054.1, 054.2, 054.3, 771.2 |
5841 33021 | |
med/1006 | |
MeSH | D006561 |
ชนิดของไวรัสเริม
ในทางการแพทย์สามารถแยกเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคเริมเป็น 2 ชนิดคือ
- 1. Herpes simplex virus type I : HSV-I มักทำให้กิดแผลบริเวณริมฝีปาก หรือ ในช่องปาก หรือบริเวณใดก็ได้เหนือสะดือ
- 2. Herpes simplex virus type II : HSV-II ทำให้เกิดโรคเริมบริเวณอวัยวะเพศของทั้งชายและหญิง
- ทั้งนี้ ไวรัสทั้งสองชนิดสามารถติดต่อในบริเวณที่ต่างจากปกติได้ เช่น HSV-I ก่อให้เกิดแผลที่อวัยวะเพศ
การติดต่อ
เริมทั้ง 2 ชนิดนี้ ติดต่อกันได้ทางการสัมผัสโดยตรง เช่น การใช้แก้วน้ำร่วมกัน การจูบกันและติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโดยการสัมผัสสิ่งของที่ผู้มีเชื้อใช้ เช่น ผ้าเช็ดตัว ช้อน เป็นต้น
การเกิดโรคซ้ำ
อาการแผลของเริมนี้อาจเกิดเป็นซ้ำได้อีก เนื่องจากเชื้อไวรัสเริมนี้จะเข้าไปหลบซ่อนตัวอยู่ในปมประสาท (ganglion) และมักจะทำให้เป็นเริมซ้ำที่บริเวณเดิม หรือใกล้เคียงกับตำแหน่งเดิมเสมอ ปัจจัยที่ทำให้เป็นเริมซ้ำได้อีกมีดังนี้
- การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
- ความเครียด วิตกกังวล เช่น ทำงานหนัก ใกล้สอบ เป็นต้น
- ความเจ็บป่วย ช่วงที่สุขภาพอ่อนแอ ทรุดโทรม ไม่ค่อยสบาย จะกลับเป็นเริมได้อีก
- อากาศร้อน แสงแดด
- ภูมิคุ้มกันต่ำ เช่น ระหว่างมีประจำเดือน
ลักษณะของโรคเริม
เมื่อเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายประมาณ 6-8 วัน จะทำให้ผิวบริเวณนั้นเกิดตุ่มน้ำพองใสเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 2-10 เม็ด ซึ่งเป็นช่วงที่สามารถติดต่อไปสู่ผู้อื่นได้ ผู้ป่วยจะมีอาการคันหรือแสบร้อนรอบ ๆ ตุ่มใสนี้ ซึ่งต่อมาจะแตกออกเป็นแผลตื้น ๆ หลายแผลติดกัน ตกเสก็ด และหายไปในที่สุด ซึ่งมักจะไม่ก่อให้เกิดแผลเป็น
เริมอวัยวะเพศ
โรคเริมอวัยวะเพศนี้ มีอัตราการติดต่อสูง ซึ่งโดยมากมักจะเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่เป็นโรคนี้อยู่ การใช้ถุงยางอนามัยก็ไม่สามารถป้องกันได้ทีเดียว
อาการของเริมอวัยวะเพศ
มักจะเป็นรุนแรงในช่วงการติดเชื้อครั้งแรกโดยเริ่มปรากฏขึ้นประมาณ 2-3 วัน ถึง 3 อาทิตย์ หลังจากได้รับเชื้อ คือ มีอาการปวดแสบปวดร้อน ระคายเคืองบริเวณที่จะเกิดตุ่มแผล และอาจมีอาการปวดศีรษะ เป็นไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อก่อน เมื่อเวลาผ่านไปอีกประมาณ 10 วัน จะปรากฏมีตุ่มใส ๆ เกิดขึ้นและมีอาการเจ็บปวดมาก โดยเฉพาะในผู้ป่วยหญิงอาการของโรคจะเกิดขึ้นนาน 3-6 อาทิตย์ หลังจากนั้นไวรัสอาจจะยังอาศัยและซ่อนตัวอยู่ในร่างกายอีกในสภาวะพักตัว และทำให้เกิดเป็น ๆ หาย ๆ มากหรือน้อยแล้วแต่บุคคล เช่น เมื่อมีอารมณ์เครียด มีประจำเดือน หรือมีโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง เป็นต้น
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยโรคเริมอวัยวะเพศ
- งดเพศสัมพันธ์ หรือสัมผัสโดยตรงกับแผลจนกระทั่งแผลหายดีแล้ว พยายามละเว้นการแตะต้องกับบริเวณแผล เพราะอาจจะแพร่ไปสู่บริเวณร่างกายได้
- สวมชั้นในชนิดฝ้าย ละเว้นการสวมเครื่องนุ่งห่มหรือกางเกงที่คับหรือยีนส์ สตรีควรงดสวมกางเกงชนิดทำจากไนล่อนหรือลินิน
- สตรีที่เป็นเริมอวัยวะเพศ โอกาสเสี่ยงสูงต่อการเกิดมะเร็งปากมดลูก ดังนั้นจึงควรปรึกษาแพทย์ เพื่อการตรวจ PAP SMEAR 1-2 ครั้งทุกเดือน
- ทุกครั้งที่เปลี่ยนแพทย์ ให้เล่าประวัติการเกิดโรคเริมของตนเองกับแพทย์ที่ท่านมารักษาใหม่
- สตรีตั้งครรภ์ควรได้รับการตรวจเกี่ยวกับเริมเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงใกล้คลอด ถ้าสงสัยว่าจะเป็นโรคเริมควรรีบปรึกษาแพทย์
วิธีการรักษา
- สามารถใช้ยาระงับความเจ็บปวดได้ เช่น พาราเซตตามอล ไอบูโปรเฟน ทั้งนี้ ห้ามใช้ แอสไพริน ในเด็ก เพราะอาจทำให้เกิดกลุ่มอาการเรย์ ที่ทำให้ถึงแก่ความตายได้
- การใช้ยาต้านไวรัสนี้ ปัจจุบันมี 3 ชนิด คือ
- Acyclovir
- Famciclovir
- Valaciclovir
ซึ่งเป็นยากลุ่มที่ฤทธิ์ยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ โดยควรใช้ให้เร็วที่สุดก่อนที่ไวรัสจะเพิ่มจำนวน คือ ช่วงที่เริ่มรู้สึกคันๆ เจ็บๆ ที่บริเวณที่น่าจะเป็น หรือเคยเป็นมาก่อน (ช่วงที่ตุ่มน้ำใสแตกออกเป็นแผลคือ ช่วงที่ไวรัสหยุดเพิ่มจำนวน) และถ้านอนหลับพักผ่อนเพียงพอ อาจหายเองได้ใน 2-3 วัน
สรุปข้อแตกต่างของโรคเริมและโรคงูสวัด
เปรียบเทียบความแตกต่างของโรคเริมและโรคงูสวัด | |
โรคเริม | โรคงูสวัด |
1. เกิดจากเชื้อไวรัส H. simplex | 1. เกิดจากเชื้อไวรัส Varicella-zoster virus |
2. กลุ่มของตุ่มน้ำใส ไม่เรียงตามแนวเส้นประสาท | 2. กลุ่มของตุ่มน้ำใส เรียงตัวตามแนวประสาท (dermatome) |
3. กลับเป็นซ้ำได้อีก | 3. เป็นครั้งเดียว มักไม่กลับมาเป็นซ้ำอีก |
4. อาการเจ็บแสบเล็กน้อยกว่ามาก | 4. อาการปวดแสบร้อนรุนแรงกว่ามาก |
5. ไม่มีอาการปวดดังกล่าว | 5. อาจมีอาการปวดตามแนวเส้นประสาท ในภายหลังได้ (post herpetic neuralgia) |
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
orkherim xngkvs Herpes simplex orkherimepnorkhphiwhnngthiekidcakechuxiwrs chux Herpes simplex sungechuxiwrstwnimixyu 2 chnid khux chnidthithaihekidaephl cold sore thiphbbriewnrimfipak thngbnaelalang hruxmumpak phbidthnginedkaelaphuihy aelachnidthimkcaphberimbriewnxwywaephs phbinphuihymakkwaedk lksnaxakaraebngidepnhlayraya odycaerimcakkhwamrusukkhnhruxecbyibbriewnthicaekidaephl aelwcamiphun klayepnklumkhxngtumnaissungphayhlngcarwmtwknxyubnphiwhnngpraman 1 2 wn caknntumnaisni caaetkxxk aelatksaekdaetbangrayxacepnnankwannekuxbthung 1 spdah thngnieraimsamarthkacdechuxiwrserimideddkhad aetechuxcamirayaphktw sungmkphktwxyuinesnprasath aelakxihekidtumiskhunxikidesmx sungkhunkbpccytang echn phumikhumknldlng khwamekhriydthangkayhruxcitic chwngpracaeduxn epntnerim Herpes simplex bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10A60 B00 G05 1 P35 2ICD 054 0 054 1 054 2 054 3 771 25841 33021med 1006MeSHD006561orkherimbriewnrimfipaklangchnidkhxngiwrseriminthangkaraephthysamarthaeykechuxiwrsthiepnsaehtukhxngorkherimepn 2 chnidkhux 1 Herpes simplex virus type I HSV I mkthaihkidaephlbriewnrimfipak hrux inchxngpak hruxbriewnidkidehnuxsadux 2 Herpes simplex virus type II HSV II thaihekidorkherimbriewnxwywaephskhxngthngchayaelahying thngni iwrsthngsxngchnidsamarthtidtxinbriewnthitangcakpktiid echn HSV I kxihekidaephlthixwywaephskartidtxerimthng 2 chnidni tidtxknidthangkarsmphsodytrng echn karichaekwnarwmkn karcubknaelatidtxthangephssmphnth aelaodykarsmphssingkhxngthiphumiechuxich echn phaechdtw chxn epntnkarekidorkhsaxakaraephlkhxngerimnixacekidepnsaidxik enuxngcakechuxiwrserimnicaekhaiphlbsxntwxyuinpmprasath ganglion aelamkcathaihepnerimsathibriewnedim hruxiklekhiyngkbtaaehnngedimesmx pccythithaihepnerimsaidxikmidngni karnxnhlbphkphxnimephiyngphx khwamekhriyd witkkngwl echn thanganhnk iklsxb epntn khwamecbpwy chwngthisukhphaphxxnaex thrudothrm imkhxysbay caklbepnerimidxik xakasrxn aesngaedd phumikhumknta echn rahwangmipracaeduxnlksnakhxngorkherimemuxechuxiwrsekhasurangkaypraman 6 8 wn cathaihphiwbriewnnnekidtumnaphxngisepnklum klumla 2 10 emd sungepnchwngthisamarthtidtxipsuphuxunid phupwycamixakarkhnhruxaesbrxnrxb tumisni sungtxmacaaetkxxkepnaephltun hlayaephltidkn tkeskd aelahayipinthisud sungmkcaimkxihekidaephlepnerimxwywaephsorkherimxwywaephsni mixtrakartidtxsung sungodymakmkcaekidcakkarmiephssmphnthkbphuthiepnorkhnixyu karichthungyangxnamykimsamarthpxngknidthiediyw xakarkhxngerimxwywaephs mkcaepnrunaernginchwngkartidechuxkhrngaerkodyerimpraktkhunpraman 2 3 wn thung 3 xathity hlngcakidrbechux khux mixakarpwdaesbpwdrxn rakhayekhuxngbriewnthicaekidtumaephl aelaxacmixakarpwdsirsa epnikh pwdemuxyklamenuxkxn emuxewlaphanipxikpraman 10 wn capraktmitumis ekidkhunaelamixakarecbpwdmak odyechphaainphupwyhyingxakarkhxngorkhcaekidkhunnan 3 6 xathity hlngcaknniwrsxaccayngxasyaelasxntwxyuinrangkayxikinsphawaphktw aelathaihekidepn hay makhruxnxyaelwaetbukhkhl echn emuxmixarmnekhriyd mipracaeduxn hruxmiorkhphumikhumknbkphrxng epntn khxptibtisahrbphupwyorkherimxwywaephs ngdephssmphnth hruxsmphsodytrngkbaephlcnkrathngaephlhaydiaelw phyayamlaewnkaraetatxngkbbriewnaephl ephraaxaccaaephripsubriewnrangkayid swmchninchnidfay laewnkarswmekhruxngnunghmhruxkangekngthikhbhruxyins strikhwrngdswmkangekngchnidthacakinlxnhruxlinin strithiepnerimxwywaephs oxkasesiyngsungtxkarekidmaerngpakmdluk dngnncungkhwrpruksaaephthy ephuxkartrwc PAP SMEAR 1 2 khrngthukeduxn thukkhrngthiepliynaephthy ihelaprawtikarekidorkherimkhxngtnexngkbaephthythithanmarksaihm stritngkhrrphkhwridrbkartrwcekiywkberimepnphiess odyechphaaxyangyingchwngiklkhlxd thasngsywacaepnorkherimkhwrribpruksaaephthywithikarrksasamarthichyarangbkhwamecbpwdid echn pharaesttamxl ixbuoprefn thngni hamich aexsiphrin inedk ephraaxacthaihekidklumxakarery thithaihthungaekkhwamtayid karichyataniwrsni pccubnmi 3 chnid khuxAcyclovir Famciclovir Valaciclovir sungepnyaklumthivththiybyngkarephimcanwnkhxngechuxiwrsehxrpis odykhwrichiherwthisudkxnthiiwrscaephimcanwn khux chwngthierimrusukkhn ecb thibriewnthinacaepn hruxekhyepnmakxn chwngthitumnaisaetkxxkepnaephlkhux chwngthiiwrshyudephimcanwn aelathanxnhlbphkphxnephiyngphx xachayexngidin 2 3 wnsrupkhxaetktangkhxngorkherimaelaorkhnguswdepriybethiybkhwamaetktangkhxngorkherimaelaorkhnguswdorkherim orkhnguswd1 ekidcakechuxiwrs H simplex 1 ekidcakechuxiwrs Varicella zoster virus2 klumkhxngtumnais imeriyngtamaenwesnprasath 2 klumkhxngtumnais eriyngtwtamaenwprasath dermatome 3 klbepnsaidxik 3 epnkhrngediyw mkimklbmaepnsaxik4 xakarecbaesbelknxykwamak 4 xakarpwdaesbrxnrunaerngkwamak5 immixakarpwddngklaw 5 xacmixakarpwdtamaenwesnprasath inphayhlngid post herpetic neuralgia xangxinghttp www nlm nih gov medlineplus tutorials coldsores htm no 50 no 0 htm http www nlm nih gov medlineplus tutorials coldsores htm no 50 no 0 htmaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb erim