บทความนี้ไม่มีจาก |
บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ อาจมีข้อเสนอแนะ |
เทววิทยา (อังกฤษ: theology) ในความหมายอย่างแคบคือวิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ ความหมายอย่างกว้างคือการศึกษาเรื่องศาสนา อิทธิพลของศาสนา ธรรมชาติของความจริงทางศาสนา อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล หรือหมายถึงวิชาชีพที่มาจากการฝึกฝนเรียนรู้ทางด้านศาสนศึกษาที่มหาวิทยาลัย สำนักเทวศาสตร์ หรือเซมินารี
เทววิทยากับศาสนาพุทธ
คำนิยามของเทววิทยา (Theos +logos) ก็คือ การศึกษาเรื่องคำสอนในศาสนา และการศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้าและมนุษย์ เพราะฉะนั้น การศึกษาพระไตรปิฎกในพุทธศาสนา และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธเจ้าและมนุษย์ หรือที่ศาสนาพุทธ กล่าวไว้ว่า พุทธเจ้าและเวไนยสัตว์นั่นเอง
จึงนำระบบเทววิทยามาศึกษาศาสนาพุทธได้ อย่างลงตัว แม้คำว่า เทววิทยา อเทววิทยา นั้นจะมาสร้างความเข้าใจผิด แก่ผู้ที่ไม่ได้ศึกษาวิชาศาสนาเปรียบเทียบได้ก็จริง หากมองอีกมุมมองหนึ่ง เพราะฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่า วิชาเทววิทยา จึงรวมการศึกษาที่เป็นระบบ ทั้งที่เป็นเทววิทยาและระบบที่ไม่ใช้เทววิทยาระบบทั้งหมดนั้นไว้ และจัดเป็นระบบเทววิทยาได้ลงตัว เพราะว่าวิชาเทววิทยาเป็นศาสตร์เป็นกระบวนการเท่านั้น มิได้ผูกขาดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเป็นเพียงชื่อหน่วยตรรกวิทยาการเรียน logos เพื่อเป็นเครื่องหมายถึงการเรียนรู้ ถึงคำสอน ของศาสนานั้น ๆ และการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคำสอนของศาสดาผู้สอนและมนุษย์เท่านั้น
อ้างอิง
- ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 4, 2548, หน้า 97
- theology
- "theology", The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition
- วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท หน้า ๑๕๐ "เรื่อง ระบบเทววิทยาและมุมมองในพระไตรปิฎก" มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕๕๐
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaena ethwwithya xngkvs theology inkhwamhmayxyangaekhbkhuxwichawadwyphraecaaelakhwamsmphnthrahwangphraecakbmnusy khwamhmayxyangkwangkhuxkarsuksaeruxngsasna xiththiphlkhxngsasna thrrmchatikhxngkhwamcringthangsasna xyangepnrabbaelamiehtuphl hruxhmaythungwichachiphthimacakkarfukfneriynruthangdansasnsuksathimhawithyaly sankethwsastr hruxesminariethwwithyakbsasnaphuththkhaniyamkhxngethwwithya Theos logos kkhux karsuksaeruxngkhasxninsasna aelakarsuksaeruxngkhwamsmphnthrahwangphraecaaelamnusy ephraachann karsuksaphraitrpidkinphuththsasna aelasuksakhwamsmphnthrahwangphraphuththecaaelamnusy hruxthisasnaphuthth klawiwwa phuththecaaelaewinystwnnexng cungnarabbethwwithyamasuksasasnaphuththid xyanglngtw aemkhawa ethwwithya xethwwithya nncamasrangkhwamekhaicphid aekphuthiimidsuksawichasasnaepriybethiybidkcring hakmxngxikmummxnghnung ephraachanncungklawidwa wichaethwwithya cungrwmkarsuksathiepnrabb thngthiepnethwwithyaaelarabbthiimichethwwithyarabbthnghmdnniw aelacdepnrabbethwwithyaidlngtw ephraawawichaethwwithyaepnsastrepnkrabwnkarethann miidphukkhadineruxngideruxnghnung aelaepnephiyngchuxhnwytrrkwithyakareriyn logos ephuxepnekhruxnghmaythungkareriynru thungkhasxn khxngsasnann aelakarsuksakhwamsmphnthrahwangkhasxnkhxngsasdaphusxnaelamnusyethannxangxingrachbnthitysthan phcnanukrmsphthprchya xngkvs ithy chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 4 2548 hna 97 theology theology The Columbia Encyclopedia Sixth Edition withyaniphnthradbpriyyaoth hna 150 eruxng rabbethwwithyaaelamummxnginphraitrpidk mhawithyalymhidl 2550duephimethwwithyasasnakhristbthkhwamwicha khwamru aelasastrtangniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk