เจดีย์ซู่เล (พม่า: ဆူးလေဘုရား, ออกเสียง: [sʰúlè pʰəjá]) เป็นเจดีย์ตั้งอยู่ในใจกลางเมืองย่างกุ้ง เป็นพื้นที่ภูมิศาสตร์สำคัญของการเมืองพม่าร่วมสมัย ตามตำนานระบุว่าเจดีย์สร้างขึ้นก่อนเจดีย์ชเวดากอง ในช่วงพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์ชีพอยู่ ทำให้เจดีย์องค์นี้เก่าแก่กว่า 2,500 ปี ตำนานระบุว่าสถานที่สำหรับก่อสร้างเจดีย์ชเวดากองได้รับการแนะนำจากนะ (วิญญาณ) เก่าแก่ของเมืองที่สถิตอยู่บริเวณเจดีย์ซู่เล
เจดีย์ซู่เล | |
---|---|
ဆူးလေဘုရား | |
ศาสนา | |
ศาสนา | พุทธ |
นิกาย | เถรวาท |
ภูมิภาค | ภาคย่างกุ้ง |
ที่ตั้ง | |
เทศบาล | ย่างกุ้ง |
ประเทศ | พม่า |
ที่ตั้งในประเทศพม่า | |
พิกัดภูมิศาสตร์ | 16°46′28″N 96°09′32″E / 16.774422°N 96.158756°E |
เจดีย์ซู่เลเป็นจุดศูนย์กลางทางการเมืองของย่างกุ้งและพม่า เป็นสถานที่ชุมนุมประท้วงในเหตุการณ์ปฏิวัติ 8888 ในปี พ.ศ. 2531 และการปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์ ในปี พ.ศ. 2550 เจดีย์ซู่เลจัดอยู่ในรายชื่อโบราณสถานของเมืองย่างกุ้ง
เจดีย์
เจดีย์ซู่เลโครงสร้างเดิมคาดว่าได้รับอิทธิพลจากสถูปเจดีย์ของอินเดียซึ่งทำรูปแบบคล้าย ๆ กันคือเป็นรูปเนินดินสำหรับเก็บพระธาตุ ต่อมาเริ่มได้รับวัฒนธรรมท้องถิ่น รูปแบบอิทธิพลของอินเดียตอนใต้จึงเริ่มเปลี่ยนแปลงเป็นสถาปัตยกรรมแบบท้องถิ่นเป็นรูปของเจดีย์ เป็นที่เชื่อกันว่าเคยเป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า ที่ได้ประทานให้แก่พี่น้องพ่อค้าสองคนคือ ตปุสสะและภัลลิกะ
ประวัติและตำนาน
ตามตำนานที่ตั้งของเจดีย์ซู่เลในปัจจุบันเคยเป็นที่สถิตของนะนามว่า ซู่เล เมื่อท้าวสักกะอยากจะช่วยเหลือกษัตริย์โอะกะลาปะ เพื่อหาสถานที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุ แต่ท้าวสักกะไม่ทราบว่าควรเป็นที่ไหน เหล่าเทวดา มนุษย์ พร้อมด้วยกษัตริย์โอะกะลาปะจึงมาประชุมบริเวณซู่เล และนะซู่เลจึงได้แนะนำสถานที่สำหรับการสร้างเจดีย์ชเวดากอง
เจดีย์ซู่เลเริ่มเป็นศูนย์กลางของย่างกุ้งโดยร้อยโท อเล็กซานเดอร์ เฟรเซอร์ (Lt. Alexander Fraser) วิศวะกรจากเบงกอล ผู้ซึ่งวางผังรูปแบบถนนย่างกุ้งอย่างในปัจจุบัน ไม่นานนักหลังจากการยึดครองของจักรวรรดิอังกฤษในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 (มีการนำชื่อของเขาไปตั้งชื่อถนนเฟรเซอร์ แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็นถนนอโนรธา และยังคงเป็นหนึ่งในเส้นทางสายหลักของย่างกุ้ง)
เจดีย์เป็นรูปทรงแปดเหลี่ยมซึ่งแต่ละด้านมีความยาว 24 ฟุต (7 เมตร) สูง 144 ฟุต 9½ นิ้ว (44 เมตร) เจดีย์ได้รับการบูรณะและมีขนาดเท่าปัจจุบันในสมัยพระนางเชงสอบู (ค.ศ. 1453–1472) รอบ ๆ เจดีย์มีระฆังสัมฤทธิ์ 10 ใบขนาดและอายุแตกต่างกันไปโดยมีการจารึกชื่อผู้บริจาคและวันที่ถวาย คำอธิบายเกี่ยวกับชื่อเจดีย์แตกต่างกันไปตามความเชื่อเช่น มาจาก ซู-เว หมายถึง "การชุมนุมโดยรอบ" มาจากเมื่อครั้งกษัตริย์โอะกะลาปะและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ สืบหาที่ตั้งของเนินเขาสิงคุตตระ เพื่อสร้างเจดีย์ชเวดากอง อีกความเชื่อกล่าวว่ามาจาก ซู-เล หมายถึงพุ่มไม้ป่าชนิดหนึ่ง และสมมุติฐานใหม่ที่ไม่เกี่ยวกับตำนานมาจากความเชื่อมโยงกับภาษาบาลีคำว่า จุลฺล หมายถึง "เล็ก" และ เจติย หมายถึง "เจดีย์"
ที่ตั้ง
เจดีย์ซู่เลตั้งอยู่ใจกลางกรุงย่างกุ้งเป็นส่วนหนึ่งของเมืองทั้งด้านเศรษฐกิจและชีวิตของประชาชน ระหว่างการชุมนุมประท้วงเมื่อปี พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2550 เจดีย์ซู่เลเป็นจุดนัดพบของผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลและผู้ประท้วงเพื่อประชาธิปไตย
สถานที่ทางการเมือง
ในช่วงเหตุการณ์ปฏิวัติ 8888 เจดีย์เป็นจุดนัดพบและจุดหมายปลายทางที่ได้รับการเลือก เนื่องจากตำแหน่งที่ตั้งและเป็นนัยสำคัญทางสัญลักษณ์ ในปี พ.ศ. 2550 ระหว่างการปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์ เจดีย์ซู่เลใช้เป็นจุดชุมนุมในการประท้วงเพื่อประชาธิปไตย พระสงฆ์จำนวนหลายพันรูปมาชุมนุมกันเพื่อสักการะรอบพระเจดีย์ และเป็นสถานที่แรกที่ได้เห็นถึงปฏิกิริยารุนแรงของรัฐบาลพม่าต่อกลุ่มผู้ประท้วง
คลังภาพ
อ้างอิง
- เชิงอรรถ
- Sule Pagoda Facelift. buddhistdoor.net.
- Building the Future, The Role of Heritage in the Sustainable Development of Yangon (PDF). World Monuments Fund & Yangon Heritage Trust. Yangon, Myanmar. 15–17 มกราคม 2015. ISBN .
- (31 มกราคม 1988). from a series of articles on famous bells in Burma in The Working People's Daily.
- Seth Mydans (12 สิงหาคม 1988). . The New York Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 สิงหาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2018.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - Saffron Revolution: A Rangoon Diary. irrawaddy.com.
- . . 29 ตุลาคม 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 มิถุนายน 2009.
- บรรณานุกรม
- Barnes, Gina L. (ตุลาคม 1995). "An Introduction to Buddhist Archaeology". . 27 (2): 165–182. ISSN 0043-8243.
- Raga, Jose Fuste (10 กุมภาพันธ์ 2009). "Sule pagoda, in the centre of Yangon, Myanmar". Encyclopædia Britannica.
- Soni, Sujata (1991). Evolution of Stupas in Burma: Pagan Period, 11th to 13th Centuries A.D., Buddhist Traditions, Vol XII. Delhi: Motilal Banarsidass Publishers. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เจดีย์ซู่เล
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ecdiysuel phma ဆ လ ဘ ရ xxkesiyng sʰule pʰeja epnecdiytngxyuinicklangemuxngyangkung epnphunthiphumisastrsakhykhxngkaremuxngphmarwmsmy tamtananrabuwaecdiysrangkhunkxnecdiychewdakxng inchwngphraphuththecayngmiphrachnmchiphxyu thaihecdiyxngkhniekaaekkwa 2 500 pi tananrabuwasthanthisahrbkxsrangecdiychewdakxngidrbkaraenanacakna wiyyan ekaaekkhxngemuxngthisthitxyubriewnecdiysuelecdiysuelဆ လ ဘ ရ sasnasasnaphuththnikayethrwathphumiphakhphakhyangkungthitngethsbalyangkungpraethsphmathitnginpraethsphmaphikdphumisastr16 46 28 N 96 09 32 E 16 774422 N 96 158756 E 16 774422 96 158756 ecdiysuelepncudsunyklangthangkaremuxngkhxngyangkungaelaphma epnsthanthichumnumprathwnginehtukarnptiwti 8888 inpi ph s 2531 aelakarptiwtiphakasawphstr inpi ph s 2550 ecdiysuelcdxyuinraychuxobransthankhxngemuxngyangkungecdiyecdiysuelokhrngsrangedimkhadwaidrbxiththiphlcaksthupecdiykhxngxinediysungtharupaebbkhlay knkhuxepnrupenindinsahrbekbphrathatu txmaerimidrbwthnthrrmthxngthin rupaebbxiththiphlkhxngxinediytxnitcungerimepliynaeplngepnsthaptykrrmaebbthxngthinepnrupkhxngecdiy epnthiechuxknwaekhyepnthipradisthanphraeksathatukhxngphraphuththeca thiidprathanihaekphinxngphxkhasxngkhnkhux tpussaaelaphllikaprawtiaelatanantamtananthitngkhxngecdiysuelinpccubnekhyepnthisthitkhxngnanamwa suel emuxthawskkaxyakcachwyehluxkstriyoxakalapa ephuxhasthanthipradisthanphraeksathatu aetthawskkaimthrabwakhwrepnthiihn ehlaethwda mnusy phrxmdwykstriyoxakalapacungmaprachumbriewnsuel aelanasuelcungidaenanasthanthisahrbkarsrangecdiychewdakxng ecdiysuelerimepnsunyklangkhxngyangkungodyrxyoth xelksanedxr efresxr Lt Alexander Fraser wiswakrcakebngkxl phusungwangphngrupaebbthnnyangkungxyanginpccubn imnannkhlngcakkaryudkhrxngkhxngckrwrrdixngkvsinchwngklangkhriststwrrsthi 19 mikarnachuxkhxngekhaiptngchuxthnnefresxr aetpccubnidepliynchuxepnthnnxonrtha aelayngkhngepnhnunginesnthangsayhlkkhxngyangkung ecdiyepnrupthrngaepdehliymsungaetladanmikhwamyaw 24 fut 7 emtr sung 144 fut 9 niw 44 emtr ecdiyidrbkarburnaaelamikhnadethapccubninsmyphranangechngsxbu kh s 1453 1472 rxb ecdiymirakhngsmvththi 10 ibkhnadaelaxayuaetktangknipodymikarcarukchuxphubricakhaelawnthithway khaxthibayekiywkbchuxecdiyaetktangkniptamkhwamechuxechn macak su ew hmaythung karchumnumodyrxb macakemuxkhrngkstriyoxakalapaaelasingskdisiththitang subhathitngkhxngeninekhasingkhuttra ephuxsrangecdiychewdakxng xikkhwamechuxklawwamacak su el hmaythungphumimpachnidhnung aelasmmutithanihmthiimekiywkbtananmacakkhwamechuxmoyngkbphasabalikhawa cul l hmaythung elk aela ectiy hmaythung ecdiy thitngecdiysueltngxyuicklangkrungyangkungepnswnhnungkhxngemuxngthngdanesrsthkicaelachiwitkhxngprachachn rahwangkarchumnumprathwngemuxpi ph s 2531 aela ph s 2550 ecdiysuelepncudndphbkhxngphuprathwngtxtanrthbalaelaphuprathwngephuxprachathipitysthanthithangkaremuxnginchwngehtukarnptiwti 8888 ecdiyepncudndphbaelacudhmayplaythangthiidrbkareluxk enuxngcaktaaehnngthitngaelaepnnysakhythangsylksn inpi ph s 2550 rahwangkarptiwtiphakasawphstr ecdiysuelichepncudchumnuminkarprathwngephuxprachathipity phrasngkhcanwnhlayphnrupmachumnumknephuxskkararxbphraecdiy aelaepnsthanthiaerkthiidehnthungptikiriyarunaerngkhxngrthbalphmatxklumphuprathwngkhlngphaphecdiysuel kh s 1895 briewndannxkrxbecdiy briewnphayinecdiy suelobobci naecdiysuelxangxingechingxrrthSule Pagoda Facelift buddhistdoor net Building the Future The Role of Heritage in the Sustainable Development of Yangon PDF World Monuments Fund amp Yangon Heritage Trust Yangon Myanmar 15 17 mkrakhm 2015 ISBN 978 0 9903322 0 6 31 mkrakhm 1988 from a series of articles on famous bells in Burma in The Working People s Daily Seth Mydans 12 singhakhm 1988 The New York Times khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 15 singhakhm 2018 subkhnemux 2 knyayn 2018 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite news title aemaebb Cite news cite news a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Saffron Revolution A Rangoon Diary irrawaddy com 29 tulakhm 2001 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 15 mithunayn 2009 brrnanukrmBarnes Gina L tulakhm 1995 An Introduction to Buddhist Archaeology 27 2 165 182 ISSN 0043 8243 Raga Jose Fuste 10 kumphaphnth 2009 Sule pagoda in the centre of Yangon Myanmar Encyclopaedia Britannica Soni Sujata 1991 Evolution of Stupas in Burma Pagan Period 11th to 13th Centuries A D Buddhist Traditions Vol XII Delhi Motilal Banarsidass Publishers ISBN 81 208 0626 3 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb ecdiysuel