บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
เจดีย์จุลประโทน ตั้งอยู่ที่ตำบลพระประโทน ซอยวัดสามกระบือเผือก อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม หรือทางด้านทิศตะวันออกของพระปฐมเจดีย์ ซึ่งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับวัดพระประโทนเจดีย์วรวิหาร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 500เมตร และอยู่ด้านข้าง วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม ติดกับถนนเพชรเกษม เส้นทางระหว่างกรุงเทพ - นครปฐม
ประวัติ
กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเจดีย์จุลประโทนเป็นโบราณสถานไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 57 หน้า 2527 วันที่ 22 ต.ค. พ.ศ. 2483 แต่เดิม ณ บริเวณสถานที่แห่งนั้นเป็นเพียงเนินอิฐที่มีต้นไม้ขึ้นรกปกคลุมธรรมดาไม่มีอะไรน่าสนใจ และไม่ปรากฏว่ามีชื่อเรียกสถานที่แห่งนั้นอย่างเป็นทางการ มีเพียงแต่ชื่อที่ชาวบ้านเรียกกันติดปากสั้นๆว่า “เนินหิน” เพราะในอดีตบริเวณดังกล่าวเป็นเนินมีอิฐ หิน กระจายอยู่ทั่วไป ต่อมาได้มีการขุดค้นเนินหินแห่งนั้นครั้งแรกอย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ. 2482 - 2483 โดย ปิแอร์ ดูปองต์ แห่งสำนักปลายบูรพาทิศฝรั่งเศส ทำการขุดค้นร่วมกับกรมศิลปากร ภายใต้การนำของหลวงบริบาลบุรีภัณฑ์ได้ร่วมกันทำการขุดค้น ณ ที่บริเวณเนินอิฐแห่งนั้น
การค้นพบครั้งแรก
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่ค้นพบเป็นครั้งแรกภายหลังการขุดค้นโดยกรมศิลปากรร่วมกับ ปิแอร์ ดูปองต์ แห่งสำนักปลายบูรพาทิศฝรั่งเศส ในระยะแรกของเจดีย์จุลประโทนพบเพียงฐานเจดีย์รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีการย่อมุมของฐานเจดีย์เพียงเล็กน้อย แต่ละด้านประดับด้วยพระพุทธรูปยืนปูนปั้น 5 องค์ภายในซุ้มส่วนกลางนี้ตั้งอยู่บนฐานซึ่งมีมีแผนผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสเช่นเดียวกันแต่กว้างกว่าเล็กน้อย ด้านหน้าฐานประดับด้วยลวดบัวและบนมุมที่ยื่นออกไปประดับด้วยมกรเป็นภาพนูน
ทั้งหมดนี้ตั้งอยู่เหนือลานประทักษิณรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านหน้าลานประทักษิณประกอบด้วยแผ่นภาพ เป็นรูปครุฑและรูปช้างกำลังเดิน ทั้งหมดมีลานล้อมรอบอีกชั้นหนึ่ง บันได 4 ทิศ มีบันไดชั้นล่างเป็นรูปครึ่งวงกลมได้นำขึ้นไปสู่ลานประทักษิณ บันไดนี้มีสิงห์สลักอยู่ที่ด้านข้าง และมีราวบันไดออกมาจากปากของรูปสัตว์
การค้นพบครั้งที่สอง
เมื่อ พ.ศ. 2511 จากการที่รถแทรกเตอร์ของกรมทางหลวง ที่กำลังก่อสร้างทางหลวงสาย เพชรเกษม เส้นทางระหว่าง กรุงเทพฯ - นครปฐม เนื่องจากมีความประสงค์ที่จะปรับหน้าดินให้เรียบเสมอกัน เพื่อใช้สำหรับเป็นที่เก็บเครื่องจักรของกรมทางหลวง ระหว่างที่เครื่องจักรกำลังดำเนินการอยู่นั้นก็บังเอิญได้ขุดเอารูปแผ่นภาพปูนปั้นและดินเผาที่อยู่ใต้พื้นดินขึ้นมาอย่างมิได้ตั้งใจ และท่านเจ้าอาวาสวัดพระประโทนเจดีย์ในขณะนั้นเมื่อทราบเรื่องจึงได้พยายามที่จะนำไปเก็บรักษาไว้โดยที่นำไปติดไว้ที่เจดีย์ในวัดพระประโทน ทางกรมศิลปากรเมื่อทราบเรื่องจึงได้เริ่มทำการขุดค้นขึ้นเป็นครั้งที่สอง และนำโบราณวัตถุที่ค้นพบได้ไปจัดเก็บไว้เป็นหลักฐานเป็นกรณีศึกษาในขั้นต่อไป (ในขณะนั้น) เพื่อป้องกันการชำรุด และถูกทำลาย โดยนำโบราณวัตถุที่ค้นพบได้ไปจัดเก็บไว้ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และต่อมาจึงนำโบราณวัตถุดังกล่าวกลับมาจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ โดยที่ยังคงหลงเหลือโบราณวัตถุบางส่วนที่นำไปจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
การขุดแต่ง
การขุดแต่งที่เจดีย์จุลประโทนมีการขุดแต่งทั้งหมด 2 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1
เมื่อ พ.ศ. 2482 - 2483 ดำเนินการขุดแต่งโดยกรมศิลปากร ภายใต้การนำของ หลวงบริบาล บุรีภัณฑ์ ร่วมกับ ปิแอร์ ดูปองต์ แห่งสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบูรพาทิศ จึงได้พบว่าเป็นซากของฐานเจดีย์ ซึ่งมีลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่มีแผนผังเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ในครั้งแรกที่พบ ปิแอร์ ดูปองต์ ได้เรียกชื่อเจดีย์นี้ว่า “เจดีย์พระประโทน” เนื่องจากตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับวัดพระประโทน ต่อมาในภายหลังทางกรมศิลปากรจึงทำการเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “เจดีย์จุลประโทน” เพราะเกรงว่าอาจจะเกิดการสับสนระหว่าง “วัดพระประโทนเจดีย์วรวิหาร” ซึ่งมีอยู่อีกหนึ่งวัดแล้วในบริเวณนั้น
ครั้งที่ 2
เมื่อ พ.ศ. 2511 ดำเนินการขุดแต่งโดยกรมศิลปากรซึ่งมอบหมายให้ นายสมศักดิ์ รัตนกุล เจ้าหน้าที่ของกรมศิลปากร เข้าทำการลงพื้นที่ภาคสนามร่วมกับ ชอง บัวเซอลีเย่ แห่งมหาวิทยาลัยซอร์บอน ประเทศฝรั่งเศส เป็นที่ปรึกษาในการขุดแต่งในส่วนต่างๆ ดังนี้
- ขุดแต่งด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเจดีย์จุลประโทนทั้งหมด
- ขุดแต่งบางส่วนของทิศตะวันตกเฉียงใต้
- บูรณะด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะทางสถาปัตยกรรม
สมัยที่ 1
เป็นการก่อสร้างองค์เจดีย์ ซึ่งมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และที่บริเวณมุมทั้งสี่ด้านหันไปสู่ทิศทั้งสี่ ย่อมุมเพียงเล็กน้อยซ้อนกันหลายชั้น ส่วนฐานตกแต่งด้วยลวดบัวหน้ากระดานท้องไม้ฐานชั้นบนย่อมุม ยาวด้านละ 17 เมตร แต่ละด้านประดับด้วยซุ้มพระพุทธรูปยืนปูนปั้น ด้านละ 5 ซุ้ม ถัดลงมาเป็นฐานสี่เหลี่ยม ยาวด้านละ 19 เมตร ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวประมาณ 24 เมตร สูงประมาณ 1 เมตร กึ่งกลางของแต่ละด้านมีแนวบันไดเป็นรูปครึ่งวงกลมมีราวบันไดยื่นออกมาจากปากสัตว์ สองข้างบันไดเป็นรูปสิงห์ประดับผนังของลานประทักษิณ มีภาพปูนปั้น และดินเผาประดับ
- ความเห็นของ ชอง บัวเซอลีเย่
ระยะแรกของการสร้างเจดีย์จุลประโทนน่าจะได้รับแรงบันดาลใจมาจากพุทธศาสนาลัทธิหีนยาน นิกายเถรวาท ภาพดินเผาเหล่านี้น่าจะสร้างขึ้นในสมัยที่ 1 เพราะตกอยู่ในสภาพที่ชำรุดมาก ภาพดินเผาซึ่งมีขนาดเล็กและฝีมือละเอียดนั้นคงมีอายุเวลาที่เก่ากว่าภาพปูนปั้น น่าจะอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12
- ความเห็นของ พิริยะ ไกรฤกษ์
ระยะแรกเป็นการสร้างขึ้นในพุทธศาสนาลัทธิหีนยาน เพราะมีรูปปูนปั้นและดินเผาประดับเป็นเรื่องราวของ “อวทาน” ซึ่งปรากฏในนิกายมูลสรรวาสติวาท ที่ใช้ภาษาสันสกฤต ที่ว่าด้วยการกระทำอันรุ่งโรจน์และกล้าหาญของพระพุทธองค์และเหล่าพระสาวกบางองค์ ที่เคยปฏิบัติในอดีตชาติ อายุเวลาน่าจะอยู่ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 12 มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างด้านละ 19เมตร โดยที่มุมทั้งสี่ด้านหันไปสู่ทิศทั้งสี่ ระหว่างตรงกลางของทั้งสี่ด้าน มีบันไดขึ้นไปสู่ลานประทักษิณ บนฐานประทักษิณแบ่งออกเป็นช่องและตกแต่งด้วยภาพดินเผา เล่าเรื่องอวทาน ซึ่งต่อมาเมื่อภาพดินเผาชำรุดก็ปั้นปูนซ่อมขึ้นใหม่ และยังมีการซ่อมแซมภาพ อวทานเหล่านี้ในช่วงระยะเวลาต่อมา โดยให้เห็นจากรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไป ราวบันไดเป็นรูปลิ้นที่แลบออกมาจากปากสิงห์ ส่วนบันไดขั้นแรกเป็นรูปอัฒจันทร์ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับบันไดในจิตรกรรมฝาผนังเรื่องมหาชนก ในถ้ำหมายเลข 1 ที่ถ้ำอชัญฏา ประเทศอินเดีย ซึ่งเขียนขึ้นเมื่อประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 11
ส่วนแผนผังของฐานสถูปนั้นมีรูปแบบใกล้เคียงกับภาพสลักบนแผ่นหิน พบที่ฆัณฎศาลา ลุ่มแม่น้ำกฤษณา ประเทศอินเดีย ฐานตกแต่งด้วยลวดบัวหน้ากระดานท้องไม้ประดับด้วยลายสี่เหลี่ยมสลับกันและรองรับด้วยลวดบัวรูปแท่งสี่เหลี่ยมเรียงเป็นแถวเลียนแบบคานที่ตั้งอยู่บนบัวลูกแก้วอีกชั้นหนึ่งแสดงให้เห็นว่าลักษณะของลวดบัวที่เจดีย์จุลประโทนนั้นมีรูปแบบเดียวกันกับลายลวดบัวของชิ้นส่วนของสถูปจำลองซึ่งพบที่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี ซึ่งมีรูปแบบมาจากสถูปแบบคันธาระที่ประเทศอินเดีย แต่ที่เจดีย์จุลประโทนนั้นมีความซับซ้อนกว่า สถูปในแต่ละด้านอาจจะตกแต่งด้วยเสาอิง และซุ้มจำนวน 5 ซุ้ม ซึ่งภายในประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ตอนบนของสถูปที่พังทลายลงไปนั้นแต่เดิมอาจจะมีลักษณะซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป 5 ชั้น เพราะปรากฏว่าพบชิ้นส่วนของพระพุทธรูปที่มีขนาดต่างกันเป็นจำนวนมาก สถูปซ้อนลดหลั่นกัน 5 ชั้น และแต่ละด้านตกแต่งด้วยพระพุทธรูปนี้มีตัวอย่างจากจีนร่วมสมัย ดังเช่นที่สลักอยู่ภายในถ้ำหมายเลข 39 ที่ยุนกังมณฑลชานสี ประเทศจีน ซึ่งสลักขึ้นในช่วงแรกพุทธศตวรรษที่ 12
สมัยที่ 2
มีการก่อสร้างฐานอิฐขึ้นมาใหม่ทับของเดิมพร้อมกับสร้างบันไดสู่ลานประทักษิณใหม่ทั้งสี่ด้านเป็นการสร้างเสริมจากชั้นที่ 1 มีการเปลี่ยนแปลงฐานลานทักษิณได้ถูกยกขึ้นไปสูงกว่าระดับบันได ด้านบนประดิษฐานพระพุทธรูปเช่นเดียวกันกับที่ขุดพบบริเวณฐานชั้นแรก
- ความเห็นของ ชอง บัวเซอลีเย่
เจดีย์จุลประโทนได้รับการแผ่ขยายอิทธิพลทางพุทธศาสนาจากนิกายมหายานมาจากอาณาจักรศรีวิชัยทางภาคใต้ ภาพปูนปั้นที่เจดีย์จุลประโทนเป็นภาพเกี่ยวกับชาดก “พร้อมกับภาพเหล่านั้นยังมีภาพพระโพธิสัตว์ ซึ่งยังไม่เคยปรากฏมีมาก่อน ณ ศาสนสถานซึ่งสร้างขึ้นในพุทธศาสนาลัทธิเถรวาท ภาพพระโพธิสัตว์เหล่านี้ทั้งทางด้านแบบศิลปะและรายละเอียดของเครื่องอาภรณ์ทำให้นึกไปว่าคงจะได้รับอิทธิพลมาโดยตรงจากประเพณีแบบอินโดนีเซียของศิลปะศรีวิชัย” จากสมมุติฐานและจากผลของการขุดแต่งที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้ ชอง บัวเซอลีเย่ กล่าวว่าภาพปูนปั้นเหล่านี้สร้างขึ้นในสมัยที่ 2 ของเจดีย์จุลประโทนและมีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 14-15 เพราะมีรูปปูนปั้นประดับเป็นเรื่องราวในชาดก ที่มีความเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนานิกายเถรวาท
- ความเห็นของ พิริยะ ไกรฤกษ์
ช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 13 นั้น ได้มีการก่อฐานประทักษิณขึ้นมาใหม่ทับของเดิมพร้อมกับสร้างบันไดใหม่ทั้ง 4 ด้าน ฐานประทักษิณใหม่นี้แบ่งเป็นช่องอย่างเดิม แต่ไม่ปรากฏว่ามีการประดับด้วยภาพปูนปั้นแต่อย่างใด นอกจากนี้ยังสร้างฐานใหม่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสครอบฐานเดิม แต่ยังคงรักษาลวดบัวรูปแท่งสี่เหลี่ยมเรียงเป็นแถวละบัวลูกแก้วไว้ ส่วนท้องไม้นั้นแบ่งเป็นช่องคล้ายกับที่ฐานประทักษิณ พร้อมกับเปลี่ยนพระพุทธรูปประทับห้อยพระบาทสลับกับพระพุทธรูปนาคปรก และมีการตกแต่งเครื่องบนของสถูปด้วยรูปพระโพธิสัตว์ปูนปั้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงของเจดีย์จุลประโทนครั้งนี้คงเกิดขึ้นภายใต้อิทธิพลของลัทธิมหายานและนับว่าเป็นครั้งสำคัญเพราะปรากฏว่าที่บริเวณพื้นดินตรงมุมทั้ง 4 ด้าน ของฐานประทักษิณเดิมนั้นได้มีการวางฤกษ์สำหรับฐานประทักษิณใหม่โดยใช้แผ่นอิฐสลัก และเขียนสีทำเป็นลายเรขาคณิตรูปทรงต่างๆ บางแผ่นเป็นรูปจักรที่มีก้านผักกูดแผ่ออกมาตามยาวทั้งสองด้าน และยังได้พบอิฐอีกแผ่นหนึ่งซึ่งขูดขีดเป็นรูปใบหน้าบุคคลทางด้านข้างซึ่งมีลักษณะที่ไม่ใช่ใบหน้าของชาวพื้นเมือง เพราะมีจมูกโด่ง สวมหมวก และไว้หนวดเครา สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นชาวต่างชาติที่เข้ามาจากตะวันออกกลาง
สมัยที่ 3
เป็นการสร้างลานประทักษิณใหม่ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมย่อมุม ครอบลานประทักษิณ และบันไดทางขึ้นเดิมไว้ ลานประทักษิณที่สร้างใหม่มี 2 ชั้น บนมุมทั้งสี่ของลานประทักษิณ ประดับด้วยเจดีย์ทรงกลมมุมละองค์ ไม่มีบันไดขึ้นลานประทักษิณ และเปลี่ยนแปลงพระพุทธรูปใหม่ซุ้มพระพุทธรูปยืนทั้ง 5 องค์ เป็นพระนั่งห้อยขา 3 องค์ และพระพุทธรูปปางนาคปรกอีก 2 องค์
- ความเห็นของ ชอง บัวเซอลีเย่
หลังจากสิ้นอิทธิพลทางพุทธศาสนาลัทธิมหายานในสมัยที่ 2 ต่อมาจึงมีการนับถือลัทธิเถรวาทในสมัยที่ 3 การบูรณะครั้งที่ 2 หรือในสมัยที่ 3 นี้อาจสร้างขึ้นในราวต้นหรือกลางพุทธศตวรรษที่ 15
- ความเห็นของ พิริยะ ไกรฤกษ์
มีการปรับปรุงที่ฐานเจดีย์ขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยสร้างฐานใหม่ 2 ชั้นทับลานประทักษิณและบันไดทั้ง 4 ด้านที่สร้างเพิ่มเติมขึ้นในระยะที่ 2 ฐานชั้นล่างเป็นฐานเขียงสูงรองรับฐานปัทม์ ซึ่งท้องไม้เป็นช่วงด้วยเสาอิงรูปลูกมะหวด ฐานชั้นบนที่สร้างขึ้นใหม่ประดับด้วยฐานปัทม์และบัวลูกแก้ว พร้อมกับมีแท่นเหลี่ยมสำหรับประดิษฐานพระพุทธรูปอยู่กึ่งกลาง และมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมย่อเก็จตามรูปของตัวอาคาร ตรงมุมทั้ง 4 ของฐานชั้นบนมีสถูปทรงกลมและสร้างพระพุทธรูปนาคปรกขึ้นแทนที่พระพุทธรูปยืนทั้ง 2 องค์ที่หลงเหลืออยู่จากการสร้างในสมัยแรกทั้ง 4 ด้านยังคงรูปแบบเดิมที่เหมือนกับสมัยที่ 2 เพียงแต่ เพิ่มสถูปประจำมุมขึ้นมาทั้ง 4 มุม ขาดว่าน่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลง หรือได้รับอิทธิพลจากภายนอกนิกายในพุทธศาสนา ระยะที่สาม เจดีย์จุลประโทนได้กลับมารับอิทธิพลทางพุทธศาสนานิกายเถรวาทอีกครั้งเมื่อภาพปูนปั้นและภาพดินเผาได้ถูกปิดทับ โดยการสร้างลานประทักษิณขึ้นมาใหม่ ผู้บูรณะ ปิแอร์ ดูปอง
ประติมากรรมปูนปั้นและดินเผาประดับเจดีย์จุลประโทน
เป็นรูปภาพประดับที่บนฐานประทักษิณแบ่งออกเป็นช่องและตกแต่งด้วยภาพดินเผา และปูนปั้น ซึ่งความเห็นของนักวิชาการหลายๆท่านที่มีการนำเสนอแนวความคิด และหลักฐานจากการอ้างอิงที่ต่างกันทำให้จำแนกสรุปได้ดังนี้
นันทนา ชุติวงศ์ มีความเห็นที่สอดคล้องกับ ชอง บัวเซอลีเย่ ที่ว่าภาพดินเผา และปูนปั้นประดับที่เจดีย์จุลประโทนนั้นมีอายุเวลาที่ต่างกัน ไม่น่าจะอยู่ช่วงเดียวกัน
ความเห็น นันทนา ชุติวงศ์ เป็นการแสดงความคิดเห็นในเรื่องของลัทธิ หรือนิกายทางศาสนา ที่เห็นว่าทุกลัทธิหรือนิกายทางพุทธศาสนานั้นสามารถหยิบยืมเรื่องราวที่มีการเขียนขึ้นในพุทธศาสนากันได้ อาจจะเป็นเรื่องที่มีความนิยม หรือมีการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของประชาชน ณ ที่นั้นๆ มาใช้สั่งสอนแก่ประชาชนร่วมกันได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีการจำกัดที่มาถึงมูลเหตุว่างานประพันธ์ในพุทธศาสนานั้นมีจุดประสงค์เพียงเพื่อต้องการที่จะสั่งสอนประชาชนให้เป็นคนดี โดยไม่ให้ความสำคัญกับลัทธิหรือนิกายใดนิกายหนึ่ง
ส่วน พิริยะ ไกรฤกษ์ ให้ความเห็นว่าแต่เดิมตอนแรกเริ่มสร้างในสมัยแรกนั้นน่าจะใช้ดินเผาก่อน ต่อมาจึงเปลี่ยนวัสดุเป็นมาเป็นปูนปั้นแทนและน่าจะอยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน เพราะจากการจัดองค์ประกอบของตัวภาพแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงวัสดุ อาจเป็นผลเนื่องมาจากวัสดุเช่นดินเผานั้น มีราคาสูง รวมทั้งมีขั้นตอนตกแต่ง และในการผลิตที่ยุ่งยากกว่าการใช้เทคนิคปูนปั้น
ภาพชาดกที่เจดีย์จุลปะโทน
"ลานประทักษิณด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเจดีย์จุลประโทน (แผนผังที่ 1 รูปภาพที่ 15 )"
พิริยะ ไกรฤกษ์ ให้ความเห็นว่าเป็นอวทานเรื่องไมตระกันยกะว่า ไมตระกันยกะเป็นพ่อค้าน้ำหอมที่เมืองพาราณสี วันหนึ่งต้องออกเดินทางไปค้าขายที่เมืองสุวรรณภูมิ ซึ่งจำเป็นต้องออกเดินเรือทางทะเล มารดาของตนได้ทำการห้ามเอาไว้เนื่องจากบิดาของไมตระกันยกะได้เสียชีวิตลงกลางทะเล จึงไม่อยากให้ไมตระกันยกะต้องเสียชีวิตเหมือนบิดาของตน แต่ไมตระกันยกะไม่ฟัง สุดท้ายนางจึงต้องล้มตัวลงที่เท้าของเขา ไมตระกันยกะโกรธเคืองที่นางไม่ยอมให้ออกเดินทาง จึงเตะนางเข้าที่ศีรษะแล้วเดินจากไป เรือที่ไมตระกันยกะออกเดินทางได้ 7 วันก็เกิดอัปปางลง เขาได้ลงแพไปยังเกาะแห่งหนึ่ง ซึ่งได้พบกับนางอัปสร 4 นาง ซึ่งได้เอาใจใส่ไมตระกันยกะเป็นอย่างดี แต่ถึงกระนั้น ไมตระกันยกะก็ได้ออกเดินทางต่อ จนไปพบอีกเกาะที่ได้พบกับนางอัปสรอีก 8 นาง ไมตระกันยกะได้ออกเดินทางต่ออีก ไปเจออีกเกาะ ซึ่งมีนางอัปสรอยู่ 16 นาง ไมตระกันยกะก็ยังไม่พอใจ จึงออกเดินทางต่อ ครั้งนี้ไปพบกับนางอัปสรถึง 32 นางซึ่งอยู่อีกเกาะหนึ่ง ไมตระกันยกะยังไม่พอใจ จึงเดินทางไปต่อ แต่ครานี้ได้พบกับเกาะแห่งหนึ่ง ซึ่งมีเปรตโดนจักรหมุนเจาะกะโหลก ร้องด้วยความทุกข์ทรมาน ไมตระกันยกะจึงถามไปด้วยความสงสัยว่า เหตุใดจึงต้องเจอกับความทุกข์ทรมานเช่นนี้ เปรตตนนั้นได้ตอบว่า เขาได้ทำร้ายมารดาของตน ทันใดนั้น จักรที่หมุนอยู่ก็ได้มาหมุนบนเหนือศีรษะของไมตระกันยกะ ไมตระกันยกะได้ถามว่าเขาต้องทนทุกข์ทรมานไปอีกนานเท่าใด เปรตตนนั้นได้ตอบว่า จนกว่าจะมีคนทำบาปเยี่ยงตนอีก จึงจะมีคนมารับช่วงต่อแทน ไมตระกันยกะได้ยินดังนั้นจึงให้คำปฏิญาณว่า จะขอทูนกงจักรนี้ไปตลอดกาล เพื่อมิให้มีผู้ใดต้องทำบาปต่อมารดาและต้องรับกรรมเช่นตนอีกต่อไป ทันใดนั้น กงจักรก็ได้หยุดหมุนและลอยขึ้นไปในอากาศ หลังจากไมตระกันยกะสิ้นชีพแล้ว ก็ได้ไปอุบัติบนสวรรค์ชั้นดุสิต
ลานประทักษิณด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเจดีย์จุลประโทน (แผนผังที่ 2 รูปภาพที่ 23 )
พิริยะ ไกรฤกษ์ให้ความเห็นว่าเป็นอวทาน เรื่องสุปารคะ
สุปารคะเป็นนายเรือผู้มีชื่อเสียงที่มีอายุแก่ชราและตาเกือบบอด แต่ถึงอย่างไรก็เป็นที่นับหน้าถือตาแก่ผู้ที่รู้จักกัน วันหนึ่งมีพ่อค้ามาขอความช่วยเหลือโดยการให้ร่วมโดยสารไปกับเรือ เพราะเชื่อว่าสุปารคะจะทำให้การเดินทางปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง ในระหว่างการเดินทางเกิดพายุ เรือได้ออกนอกเส้นทางและเกิดหลงทางขึ้นมา เหล่าพ่อค้าทั้งหลายต่างสิ้นหวังที่จะรอดกลับไป จึงขอร้องให้สุปารคะช่วยเหลือ สุปารคะจึงอธิษฐานต่อพระพุทธองค์ให้ขอความช่วยเหลือ โดยกล่าวว่า “ข้าพเจ้าไม่เคยเบียดเบียนกับสิ่งมีชีวิตใดในชาตินี้ ขอให้บุญบารมีของข้าพเจ้าได้บันดาลให้เดินทางด้วยความปลอดภัยเถิด” จนในที่สุดเรือและพ่อค้าทั้งหมดก็ได้เดินทางกลับอย่างปลอดภัย
แต่นันทนา ชุติวงศ์ ให้ความเห็นว่าเป็นเรื่องเรื่องสมุททวาณิชชาดก มีบันทึกอยู่ในประชุมชาดกภาษาบาลี เรื่องนี้พระมหาสัตว์เสวยพระชาติเป็นหัวหน้าช่างไม้ผู้พาเรือบรรทุกบริวารจำนวน 500 คน แล่นหนีอันตรายไปได้โดยสวัสดิ์ภาพ
ลานประทักษิณด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเจดีย์จุลประโทน (แผนผังที่ 2 รูปภาพที่ 24 )
พิริยะ ไกรฤกษ์ให้ความเห็นเว่าเป็นอวทาน เรื่อง กัจฉปะ
พระพุทธองค์ได้เสวยชาติเป็นเต่าและได้ช่วยเหลือเหล่าพ่อค้า 500 คนที่ออกเดินทางโดยเรือและเกิดอัปปาง โดยให้โดยสารขึ้นหลังไปส่งที่พื้นดินอย่างปลอดภัย แต่เมื่อช่วยได้ทั้งหมดแล้ว พ่อค้าทั้ง 500 คนพยายามที่จะฆ่าและกินเนื้อพระองค์ ด้วยความเมตตา พระองค์จึงทราบว่าพ่อค้าทั้งหลายนั้นคงจะหิวมาก จึงบริจาคเนื้อให้เพื่อเป็นทาน
ลานประทักษิณด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเจดีย์จุลประโทน (แผนผังที่ 2 รูปภาพที่ 25 )
พิริยะ ไกรฤกษ์ให้ความเห็นเว่าเป็นอวทาน เรื่อง มหากปิ
ชายผู้หนึ่งได้หลงเข้าไปในป่าและด้วยความหิว ตนจึงปีนต้นไม้ขึ้นไปเพื่อเด็ดผลไม้ซึ่งทอดกิ่งไปยังเหว แต่ตนพลาดพลั้งเกิดพลัดตกลงไปในเหว พระโพธิสัตว์ซึ่งเสวยชาติเป็นพระยาวานรบังเอิญไปพบเข้า ได้เห็นชายผู้นั้นอยู่ก้นเหว ชายผู้นั้นได้ขอความช่วยเหลือแก่พระยาวานร พระยาวานรจึงช่วยแบกชายผู้นั้นขึ้นมาถึงปากเหว เมื่อช่วยได้แล้ว พระยาวานรเหน็ดเหนื่อยจากการแบกและปีนป่าย จึงได้ล้มตัวลงนอนหลับไป ชายผู้นั้นจึงคิดว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะกินเนื้อพญาวานร จึงได้ยกก้อนหินหมายจะสังหารพญาวานร แต่เกิดพลาด ศิลาจึงไม่โดนจุดสำคัญ พญาวานรจึงได้รับบาดเจ็บ และได้ตำหนิติเตียนเขาและนำออกไปจากป่า ด้วยผลกรรมนี้ ชายผู้นั้นจึงกลายเป็นโรคเรื้อนด้วยผลแห่งการทรยศผู้มีพระคุณ
ลานประทักษิณด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเจดีย์จุลประโทน (แผนผังที่ 2 รูปภาพที่ 26 )
พิริยะ ไกรฤกษ์ให้ความเห็นเว่าเป็นอวทาน เรื่อง ษัฑทันตะ
พระโพธิสัตว์ซึ่งได้เสวยพระชาติเป็นช้าง 6 งา วันหนึ่งมีพระราชินีซึ่งโกรธเคืองกับพระยาช้างมาเมื่อชาติปางก่อน จึงสั่งให้นายพรานไปนำงามาให้แก่ตน พรานจึงปลอมตัวเป็นนักบวชและได้ยิงพระช้างด้วยลูกดอกอาบยาพิษ พระโพธิสัตว์ด้วยความเคารพแก่นักบวช จึงมิได้ทำอันตรายต่อนายพรานและอนุญาตให้นำงาของตนไปได้ พรานได้บอกว่า ตนเป็นนายพรานและไม่อยากให้งาต้องถูกมือที่ไม่บริสุทธิ์ พระยาช้างจึงเอางวงถอดงาของตนมอบให้แก่นายพรานซึ่งกำลังคอยอยู่
ลานประทักษิณด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเจดีย์จุลประโทน (แผนผังที่ 2 รูปภาพที่ 28 )
พิริยะ ไกรฤกษ์ให้ความเห็นเว่าเป็นอวทานอวทาน เรื่อง ศยามกะ
ศยามกะเป็นบุตรชายผู้ซื่อสัตย์ต่อบิดามารดาที่ตาบอด และได้อาศัยอยู่ในป่า โดยใช้ชีวิตเป็นนักบวชทั้งหมด วันหนึ่งขณะที่ไปตักน้ำให้บิดามารดา พระราชาได้เข้าป่าเพื่อล่าสัตว์ เห็นศยามกะนึกว่าเป็นกวางจึงยิงลูกดอกอาบยาพิษเข้าใส่ ต่อมาจึงรู้ว่าเป็นนักบวช พระราชาก็ตกพระทัยและทรงวิงวอนขอโทษแก่ศยามกะ ศยามกะได้บอกว่าตนเป็นบุตรเพียงคนเดียวและขอให้ดูแลบิดามารดาแทนตนด้วย พระราชาก็ตรัสว่า จะยอมสละราชสมบัติเพื่อมาดูแลบิดามารดาให้แทน เมื่อนั้นพระราชาก็ได้ตรงไปยังอาศรมแล้วตรัสบอกบิดามารดาของศยามกะว่า ตนได้สังหารบุตรชายเสียแล้ว และได้ขอปรนนิบัติทำหน้าที่แทนศยามกะ บิดามารดาของศยามกะก็ขอร้องให้พระราชาพาไปยังที่ศยามกะนอนตายอยู่ พระราชาก็เสด็จนำไป เมื่อไปถึงแล้ว บิดามารดาจึงอธิษฐานให้พิษที่อยู่ในศยามกะได้สลายไป ถ้าหากเป็นความจริงที่ว่าศยามกะได้มีเมตตากรุณาต่อสิ่งมีชีวิตทั้งปวงและได้ปฏิบัติต่อบุพการีอย่างดีมาตลอด ทันใดนั้นศยามกะจึงฟื้นจากความตายมาเหมือนกับว่าเพิ่งตื่นนอน
นันทนา ชุติวงศ์ ให้ความเห็นว่าเป็นเรื่องเวสสันดรชาดก
บุคคลทั้ง 3 ในภาพหมายเลข 30 ไม่สวมเครื่องประดับเพราะถือเพศเป็นนักบวชบุคคลกลางคือพระเวสสันดรกำลังถือพระหัตถ์ชายาในพิธีประทานพระนางให้กับท้าวสักกะเทวราชผู้จำแลงเป็นพราหมณ์มาขอ แผ่นภาพดังกล่าวมีความคล้ายคลึงกันกับที่ซุ้มประตูพระสถูปที่สาญจี ประเทศอินเดีย และบนหินจำหลักรูปบนใบเสมาในภาคอีสานของไทย
ลานประทักษิณด้านตะวันตกเฉียงใต้ของเจดีย์จุลประโทน (แผนผังที่ 3 รูปภาพที่ 31, 32 และ 33)
พิริยะ ไกรฤกษ์ให้ความเห็นเว่าเป็นอวนทาน เรื่อง หัสติง
พระโพธิสัตว์ซึ่งเสวยชาติเป็นพระยาช้างป่าและอาศัยอยู่ในป่าแห่งหนึ่งใกล้กับทะเลทราย วันหนึ่งได้เจอกับผู้เดินทางซึ่งข้ามทะเลทรายเข้ามายังในป่า และได้ถามว่าเหตุใดจึงมาอยู่ในทะเลทรายแห่งนี้ได้ เหล่าผู้เดินทางทั้งหลายจึงบอกว่า ถูกขับไล่ออกมาจากบ้านเมืองของเขา จากจำนวนคน 1,000 คน เหลืออยู่ 700 คนเท่านั้น เนื่องจากความหิวโหยและกระหายน้ำ พระยาช้างจึงบอกว่า เดินทางตรงไปจะเจอกับเหว ใต้เหวนั้นจะมีซากช้างตายที่เพิ่งตกจากภูเขาลงไปตาย ให้นำเนื้อของช้างนั้นมารับประทานและนำกระเพาะอาหารของช้างนั้นไปทำเป็นที่บรรจุนำเสีย หลังจากนั้นพระยาช้างจึงไปที่ยอดเขาและกระโจนตกลงมาที่ก้นเหวเพื่อสละตนเองแก่คนเหล่านั้น เมื่อคนเหล่านั้นมาพบซากช้าง ก็จำได้ว่าเป็นช้างเชือกเดียวกันกับที่ได้ช่วยเหลือเขาไว้ และได้ตัดสินใจกินเนื้อช้างนั้นเสียเพื่อให้กระทำตามที่พระยาช้างประสงค์
ชิ้นส่วนรูปคนบนหลังม้า
นันทนา ชุติวงศ์ ให้ความเห็นว่าเป็นเรื่องพระยาม้า
พระยาม้าเป็นผู้ช่วยเหลือพ่อค้านายวานิชให้หนีพ้นจากเกาะนางยักษ์ เรื่องของพระยาม้า ดังกล่าวนี้มิได้มีจำกัดเฉพาะอยู่แต่เพียงในวรรณคดีภาษาสันสกฤตเท่านั้น แต่ยังมีปรากฏอยู่ในประชุมชาดกภาษาบาลีด้วย เป็นนิทานที่นิยมกันมากในหมู่ชาวพุทธทั้ง 2 ฝ่าย
ภาพราชสำนัก
นันทนา ชุติวงศ์ ให้ความเห็นว่าเป็นเรื่องพระเจ้าสุรูปะ
กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ด้วยทานบารมีองค์นี้ ประทานพระโอรส พระมเหสี และสุดท้ายตัวพระองค์เองให้แก่ยักษ์กระหายเลือด ที่แท้ก็คือท้าวสักกะเทวราชจำแลงกายลงมา หลังจากที่กษัตริย์สุรูปะได้แสดงพระอัธยาศัยในทานบารมีให้เป็นที่ปรากฏแล้ว ท้าวสักกะก็ประทานทุกสิ่งทุกอย่างกลับคืนให้พระองค์ ในภาพพระเจ้าสุรูปะกำลังอุ้มเจ้าชายผู้เป็นพระราชโอรสประทานให้แก่พระยายักษ์ผู้ซึ่งยืนอยู่ทางขวาสุดของภาพ พระมเหสีประทับยืนอยู่ตรงกลางภาพ พระพักตร์เศร้า แต่สงบ ยอมรับการตัดสินพระทัยของพระสวามีโดยดุษณี ทางด้านซ้ายของภาพ เหล่าบรรดาข้าราชสำนักนำภาชนะใส่อาหารมาเลี้ยงดูแขกหฤโหดผู้ปฏิเสธไม่ยอมรับบริโภคอาหารอันใด นอกเหนือจากเลือดเนื้อของพระโอรส
แผ่นภาพหมายเลข 70
นันทนา ชุติวงศ์ ให้ความเห็นว่าเป็นเรื่องศรภะชาดก
ศรภะชาดก หรือ สรภะมิคะชาดก พระมหาสัตว์เสวยพระชาติเป็นตัวศรภะ สัตว์ประหลาดซึ่งเชื่อกันว่ามีพละกำลังมากเท่ากับราชสีห์ และพระยาช้างสาร พระเจ้ากรุงพาราณศรีไล่ล่าตัวศรภะจนพระองค์เองตกลงไปในเหวลึก พระมหาสัตว์ศรภะเห็นภัยเกิดแก่พระราชา จึงไต่ลงไปในเหวแล้วให้พระราชาขึ้นบนหลัง และพาพระองค์ขึ้นไปจากเหวได้โดยปลอดภัย
ความเห็นของนักวิชาการในการกำหนดอายุเวลาของเจดีย์จุลประโทน
- ความเห็นของ พิริยะ ไกรฤกษ์
ภาพเล่าเรื่องทั้งหมดที่เจดีย์จุลประโทนนี้สร้างขึ้นพร้อมกัน ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 10 ถึง กลางพุทธศตวรรษที่ 13 หรือ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 13 ภาพเหล่านี้ได้รับแรงบันดาลใจมาจากวรรณคดีในพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า “อวทาน” ซึ่งเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับการกระทำอันรุ่งโรจน์และกล้าหาญ ของพระพุทธองค์และพระสาวกบางองค์ ที่เคยปฏิบัติในอดีตชาติ ในนิกายสรรวาสติวาท ซึ่งเป็นลัทธิหินยานที่ใช้ภาษาสันสกฤต
- ความเห็นของ หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล
หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล มีความเห็นด้วยหลายประการกับ พิริยะ ไกรฤกษ์ ในส่วนของการตีความหมายของรูปภาพ แต่มีบางประการที่ไม่เห็นด้วย คือ ให้ความเห็นว่าในช่วงการสร้างผลงานทางศิลปกรรมในขณะนั้น ที่เจดีย์จุลประโทนประชาชนส่วนใหญ่อาจจะนับถือพุทธศาสนาลัทธิหีนยาน นิกายเถรวาทที่ใช้ภาษาบาลี แต่ก็มีการใช้ภาษาสันสกฤตสำหรับทางราชการและในศาสนาพราหมณ์ โดยที่อาจจะมีการหยิบยืมเรื่องราวในการสร้างภาพมาจากคัมภีร์อวทานของนิกายมูลสรรวาสติวาท รวมทั้งยังกล่าวเพิ่มเติมอีกว่าไม่จำเป็นต้องมีพุทธศาสนาลัทธิหินยาน นิกายมูลสรรวาสติวาทที่ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่ที่นครปฐม เหมือนกับที่ประเทศอินโดนีเซียก็เป็นได้ เพราะจารึกที่พบส่วนใหญ่ในจังหวัดนครปฐมนั้นก็เป็นภาษาบาลีมากกว่าภาษาสันสกฤต
- ความเห็นของ นันทนา ชุติวงศ์
พระพุทธศาสนานิกายต่างๆ ในอินเดีย ได้ร่วมกันใช้นิทานเหล่านี้เพื่อประโยชน์ของลัทธิของตนมาแต่โบราณ ส่วนพุทธศาสนนิทานที่พบที่จุลประโทนนั้น สมควรอย่างยิ่งที่จะเรียกว่า “ชาดก” โดยที่ทุกเรื่องเป็นเรื่องพระอดีตชาติขององค์พระพุทธเจ้าศรีศากยมุนี มิใช่เรื่องราวของผู้อื่นนอกเหนือไปจากของพระองค์ ถึงแม้ว่าเรื่องเหล่านี้จะมีแพร่หลายอยู่ในวรรณคดีที่เรียกตัวเองว่า “อวทาน”
- ความเห็นอื่นๆ
ความเห็นของ พิริยะ ไกรฤกษ์ ที่แสดงหลักฐานอ้างอิงในการอธิบายภาพที่เป็นลายละเอียดเล็กๆ ที่ผู้ที่ให้ความสนใจท่านอื่นได้มองข้ามไป คือตรงจุดที่มีการกล่าวถึงการใช้สีตัดเส้นในการสร้างภาพของนิกายมูลสรรวาสติวาทที่เป็นลักษณะเด่นเฉพาะโดยที่ใช้สีตัดเส้นเป็นสีแดงที่บริเวณสถูป ซึ่งปรากฏ ที่ถ้ำอชัญฏา ประเทศอินเดีย
การตีความของภาพโดยใช้หลักการของประติมานิรมานวิทยา และวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆของตัวงานเพื่อเป็นการแยกแยะส่วนประกอบต่างๆเพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งคำตอบที่น่าพึงพอใจ แม้ว่าอาจจะมีความขัดแย้งในทางทฤษฎีกับนักวิชาการบางท่านที่เคยแสดงความคิดเห็นไว้ก่อนหน้านี้ในบทความต่างๆก็ถือเป็นข้อมูลที่สำคัญเพื่อที่จะเป็นการชี้แนะแนวทางที่มีประโยชน์ในการหาข้อมูลมาอ้างอิง รวมทั้งการใช้ข้อเสนอคิดเห็นส่วนตัวที่สามารถแสดงความคิดเห็นได้คตินิยมของทิศคชะ รองรับสถูปที่มุมทั้งสี่ที่ ได้รับความนิยม ในแคว้นคันธาระ ประเทศอินเดีย
การกำหนดอายุเวลาการสร้างในระยะแรกของเจดีย์จุลประโทนนั้นได้กำหนดจากกการเปรียบเทียบลักษณะทางสถาปัตยกรรมระหว่างที่เจดีย์จุลประโทนกับปราสาทสมโบร์ไพรกุกที่ประเทศเขมร โดยอาศัยการเปรียบเทียบจากลักษณะเฉพาะของบริเวณฐานหน้าท้องไม้เหนือฐานปัทม์บัวลูกแก้วของทั้ง 2 แห่ง และปรากฏว่าลักษณะของบริเวณฐานปัทม์หน้าท้องไม้ของทั้ง 2 สถานที่นั้นมีลักษณะที่ใกล้เคียงกัน จึงพอจะสรุปได้ว่า เจดีย์จุลประโทน ที่จังหวัดนครปฐม และที่ปราสาทสมโบร์ไพรกุก ที่ประเทศเขมร นั้นมีรูปแบบทางศิลปกรรมในการก่อสร้างที่น่าจะอยู่ในยุคสมัยเดียวกันคือในช่วง พุทธศตวรรษที่ 10 – 11
อีกส่วนหนึ่งในการเปรียบเทียบลักษณะทางศิลปกรรมสมัยที่ 1 เจดีย์จุลประโทนจากการศึกษาในครั้งนี้ ได้ข้อสังเกตจากบริเวณฐานที่มุมด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งมีลักษณะที่ใกล้เคียงกับตัวมกรของที่สมโบร์ไพรกุกรุ่นถาลาบริวัตสมัยแรกน่าจะสร้างขึ้นในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 12 เพราะเปรียบเทียบจาก ตัวมกรที่ประดับมุมด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้เทียบได้กับ ทับหลังถาราบริวัต สมัยสมโบร์ไพรกุก
ต่อมาในช่วงสมัยที่ 2 ก็ไม่น่าเป็นลัทธิมหายานในช่วงที่ 2 ปลายพุทธศตวรรษ 12 เพราะเทียบได้กับ ลวดลายก้านต่อดอก ที่ปราสาทเขาน้อย จังหวัดสระแก้ว สมัยสมโบร์ไพรกุกตอนปลาย หรือ ตอนต้นศิลปะแบบไพรกะเม็ง ประมาณ กลางพุทธศตวรรษที่ 12 ต้นพุทธศตวรรษ 13 อายุเวลาของทั้ง 2 สมัย ระหว่าง 1,2 นั้นไม่น่าจะกินเวลา เกิน 25 ปี
เจดีย์จุลประโทนจึงน่าจะมีพื้นฐานการสร้างหรือได้รับแรงบันดาลใจมาจากพุทธศาสนานิกาย มูลสรรวาสติวาท อันดับแรกในการเห็นด้วยกับแนวคิดของ พิริยะ ไกรฤกษ์ ที่ให้อธิบายไว้ในหนังสือพุทธศาสนนิทานเจดีย์จุลประโทน ว่าเทคนิคที่ใช้ในการตกแต่ง ของนิกายมูลสรรวาสติวาทนี้จะนิยมใช้สีแดงในการตัดเส้นที่สถูป ซึ่งสามารถเทียบเคียงได้กับภาพจิตรกรรมในฝาผนังถ้ำ อชัญฎา ประเทศอินเดีย ก็ปรากฏว่าเทคนิคที่ใช้ในลักษณะนี้ก็มีการนำมาใช้ที่เจดีย์จุลประโทนซึ่งจากหลักฐานชั้นต้นดังกล่าวที่ได้กล่าวมานี้ จึงสามารถที่จะพอสนับสนุนแนวคิดดังกล่าวนี้ โดยที่ไม่มีลักษณะเทคนิคในการก่อสร้างที่คล้ายคลึงกัน
อ้างอิง
- ศิลปากร, กรม, โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์, นนทบุรี : สำนักพิมพ์พิจิตรการพิมพ์, 2548.
- [1]
- ศิลปากร, กรม, โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์, นนทบุรี : สำนักพิมพ์พิจิตรการพิมพ์, 2548.
- ศิลปากร, กรม, โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์, นนทบุรี : สำนักพิมพ์พิจิตรการพิมพ์, 2548.
- นันทนา ชุติวงศ์, ภาพชาดกที่เจดีย์จุลปะโทน โบราณคดีวิจารณ์ ปีที่ 21 เล่ม 4, กรุงเทพฯ : โบราณคดี, 2520 หน้า 28-53.
- พิริยะ ไกรฤกษ์, พุทธศาสนนิทานที่เจดีย์จุลประโทน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์, 2517.
- พิริยะ ไกรฤกษ์, พุทธศาสนนิทานที่เจดีย์จุลประโทน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์, 2517.
- พิริยะ ไกรฤกษ์, พุทธศาสนนิทานที่เจดีย์จุลประโทน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์, 2517.
- พิริยะ ไกรฤกษ์, พุทธศาสนนิทานที่เจดีย์จุลประโทน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์, 2517.
- พิริยะ ไกรฤกษ์, พุทธศาสนนิทานที่เจดีย์จุลประโทน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์, 2517.
- พิริยะ ไกรฤกษ์, พุทธศาสนนิทานที่เจดีย์จุลประโทน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์, 2517.
- พิริยะ ไกรฤกษ์, พุทธศาสนนิทานที่เจดีย์จุลประโทน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พระจันทร์, 2517.
- นันทนา ชุติวงศ์, ภาพชาดกที่เจดีย์จุลปะโทน โบราณคดีวิจารณ์ ปีที่ 21 เล่ม 4, กรุงเทพฯ : โบราณคดี, 2520 หน้า 34.
- นันทนา ชุติวงศ์, ภาพชาดกที่เจดีย์จุลปะโทน โบราณคดีวิจารณ์ ปีที่ 21 เล่ม 4, กรุงเทพฯ : โบราณคดี, 2520 หน้า 34.
- นันทนา ชุติวงศ์, ภาพชาดกที่เจดีย์จุลปะโทน โบราณคดีวิจารณ์ ปีที่ 21 เล่ม 4, กรุงเทพฯ : โบราณคดี, 2520 หน้า 35.
- จาริก เวชานนท์ และ ดุษฎี เทพสิริ, "เจดีย์จุลประโทน," รายงานการศึกษาค้นคว้าประกอบการศึกษากระบวนวิชา 116400 ศิลปะในประเทศไทยสมัยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 สาขาศิลปไทย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2551
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasm ecdiyculpraothn tngxyuthitablphrapraothn sxywdsamkrabuxephuxk xaephxemuxngnkhrpthm cnghwdnkhrpthm hruxthangdanthistawnxxkkhxngphrapthmecdiy sungxyuinbriewniklekhiyngkbwdphrapraothnecdiywrwihar ipthangthistawnxxkechiyngehnuxpraman 500emtr aelaxyudankhang withyalyethkhnikhnkhrpthm tidkbthnnephchreksm esnthangrahwangkrungethph nkhrpthmprawtikrmsilpakridprakaskhunthaebiynecdiyculpraothnepnobransthaniwinrachkiccanuebksa elm 57 hna 2527 wnthi 22 t kh ph s 2483 aetedim n briewnsthanthiaehngnnepnephiyngeninxiththimitnimkhunrkpkkhlumthrrmdaimmixairnasnic aelaimpraktwamichuxeriyksthanthiaehngnnxyangepnthangkar miephiyngaetchuxthichawbaneriykkntidpaksnwa eninhin ephraainxditbriewndngklawepneninmixith hin kracayxyuthwip txmaidmikarkhudkhneninhinaehngnnkhrngaerkxyangepnthangkar inpi ph s 2482 2483 ody piaexr dupxngt aehngsankplayburphathisfrngess thakarkhudkhnrwmkbkrmsilpakr phayitkarnakhxnghlwngbribalburiphnthidrwmknthakarkhudkhn n thibriewneninxithaehngnn karkhnphbkhrngaerk lksnathangsthaptykrrmthikhnphbepnkhrngaerkphayhlngkarkhudkhnodykrmsilpakrrwmkb piaexr dupxngt aehngsankplayburphathisfrngess inrayaaerkkhxngecdiyculpraothnphbephiyngthanecdiyrupthrngsiehliymctursmikaryxmumkhxngthanecdiyephiyngelknxy aetladanpradbdwyphraphuththrupyunpunpn 5 xngkhphayinsumswnklangnitngxyubnthansungmimiaephnphngsiehliymctursechnediywknaetkwangkwaelknxy danhnathanpradbdwylwdbwaelabnmumthiyunxxkippradbdwymkrepnphaphnun thnghmdnitngxyuehnuxlanprathksinrupsiehliymphunpha danhnalanprathksinprakxbdwyaephnphaph epnrupkhruthaelarupchangkalngedin thnghmdmilanlxmrxbxikchnhnung bnid 4 this mibnidchnlangepnrupkhrungwngklmidnakhunipsulanprathksin bnidnimisinghslkxyuthidankhang aelamirawbnidxxkmacakpakkhxngrupstw karkhnphbkhrngthisxng emux ph s 2511 cakkarthirthaethrketxrkhxngkrmthanghlwng thikalngkxsrangthanghlwngsay ephchreksm esnthangrahwang krungethph nkhrpthm enuxngcakmikhwamprasngkhthicaprbhnadiniheriybesmxkn ephuxichsahrbepnthiekbekhruxngckrkhxngkrmthanghlwng rahwangthiekhruxngckrkalngdaeninkarxyunnkbngexiyidkhudexarupaephnphaphpunpnaeladinephathixyuitphundinkhunmaxyangmiidtngic aelathanecaxawaswdphrapraothnecdiyinkhnannemuxthraberuxngcungidphyayamthicanaipekbrksaiwodythinaiptidiwthiecdiyinwdphrapraothn thangkrmsilpakremuxthraberuxngcungiderimthakarkhudkhnkhunepnkhrngthisxng aelanaobranwtthuthikhnphbidipcdekbiwepnhlkthanepnkrnisuksainkhntxip inkhnann ephuxpxngknkarcharud aelathukthalay odynaobranwtthuthikhnphbidipcdekbiw n phiphithphnthsthanaehngchati xuthxng cnghwdsuphrrnburi aelatxmacungnaobranwtthudngklawklbmacdaesdng n phiphithphnthsthanaehngchati phrapthmecdiy odythiyngkhnghlngehluxobranwtthubangswnthinaipcdaesdng n phiphithphnthsthanaehngchati phrankhrkarkhudaetngkarkhudaetngthiecdiyculpraothnmikarkhudaetngthnghmd 2 khrng dngni khrngthi 1 emux ph s 2482 2483 daeninkarkhudaetngodykrmsilpakr phayitkarnakhxng hlwngbribal buriphnth rwmkb piaexr dupxngt aehngsankfrngessaehngplayburphathis cungidphbwaepnsakkhxngthanecdiy sungmilksnathangsthaptykrrmthimiaephnphngepnrupthrngsiehliymcturs inkhrngaerkthiphb piaexr dupxngt ideriykchuxecdiyniwa ecdiyphrapraothn enuxngcaktngxyuinbriewnediywknkbwdphrapraothn txmainphayhlngthangkrmsilpakrcungthakarepliynchuxihmepn ecdiyculpraothn ephraaekrngwaxaccaekidkarsbsnrahwang wdphrapraothnecdiywrwihar sungmixyuxikhnungwdaelwinbriewnnn khrngthi 2 emux ph s 2511 daeninkarkhudaetngodykrmsilpakrsungmxbhmayih naysmskdi rtnkul ecahnathikhxngkrmsilpakr ekhathakarlngphunthiphakhsnamrwmkb chxng bwesxliey aehngmhawithyalysxrbxn praethsfrngess epnthipruksainkarkhudaetnginswntang dngni khudaetngdantawntkechiyngehnuxkhxngecdiyculpraothnthnghmd khudaetngbangswnkhxngthistawntkechiyngit burnadanthistawnxxkechiyngehnuxlksnathangsthaptykrrmsmythi 1 epnkarkxsrangxngkhecdiy sungmiaephnphngepnrupsiehliymcturs aelathibriewnmumthngsidanhnipsuthisthngsi yxmumephiyngelknxysxnknhlaychn swnthantkaetngdwylwdbwhnakradanthxngimthanchnbnyxmum yawdanla 17 emtr aetladanpradbdwysumphraphuththrupyunpunpn danla 5 sum thdlngmaepnthansiehliym yawdanla 19 emtr tngxyubnthansiehliymctursyawpraman 24 emtr sungpraman 1 emtr kungklangkhxngaetladanmiaenwbnidepnrupkhrungwngklmmirawbnidyunxxkmacakpakstw sxngkhangbnidepnrupsinghpradbphnngkhxnglanprathksin miphaphpunpn aeladinephapradb khwamehnkhxng chxng bwesxliey rayaaerkkhxngkarsrangecdiyculpraothnnacaidrbaerngbndalicmacakphuththsasnalththihinyan nikayethrwath phaphdinephaehlaninacasrangkhuninsmythi 1 ephraatkxyuinsphaphthicharudmak phaphdinephasungmikhnadelkaelafimuxlaexiydnnkhngmixayuewlathiekakwaphaphpunpn nacaxyuinrawphuththstwrrsthi 12 khwamehnkhxng phiriya ikrvks rayaaerkepnkarsrangkhuninphuththsasnalththihinyan ephraamiruppunpnaeladinephapradbepneruxngrawkhxng xwthan sungpraktinnikaymulsrrwastiwath thiichphasasnskvt thiwadwykarkrathaxnrungorcnaelaklahaykhxngphraphuththxngkhaelaehlaphrasawkbangxngkh thiekhyptibtiinxditchati xayuewlanacaxyuinchwngklangphuththstwrrsthi 12 miaephnphngepnrupsiehliymcturs kwangdanla 19emtr odythimumthngsidanhnipsuthisthngsi rahwangtrngklangkhxngthngsidan mibnidkhunipsulanprathksin bnthanprathksinaebngxxkepnchxngaelatkaetngdwyphaphdinepha elaeruxngxwthan sungtxmaemuxphaphdinephacharudkpnpunsxmkhunihm aelayngmikarsxmaesmphaph xwthanehlaniinchwngrayaewlatxma odyihehncakrupaebbthiepliynaeplngip rawbnidepnruplinthiaelbxxkmacakpaksingh swnbnidkhnaerkepnrupxthcnthrsungmilksnaehmuxnkbbnidincitrkrrmfaphnngeruxngmhachnk inthahmayelkh 1 thithaxchyta praethsxinediy sungekhiynkhunemuxpramanklangphuththstwrrsthi 11 swnaephnphngkhxngthansthupnnmirupaebbiklekhiyngkbphaphslkbnaephnhin phbthikhndsala lumaemnakvsna praethsxinediy thantkaetngdwylwdbwhnakradanthxngimpradbdwylaysiehliymslbknaelarxngrbdwylwdbwrupaethngsiehliymeriyngepnaethweliynaebbkhanthitngxyubnbwlukaekwxikchnhnungaesdngihehnwalksnakhxnglwdbwthiecdiyculpraothnnnmirupaebbediywknkblaylwdbwkhxngchinswnkhxngsthupcalxngsungphbthi x yarng c pttani sungmirupaebbmacaksthupaebbkhntharathipraethsxinediy aetthiecdiyculpraothnnnmikhwamsbsxnkwa sthupinaetladanxaccatkaetngdwyesaxing aelasumcanwn 5 sum sungphayinpradisthanphraphuththrupyun txnbnkhxngsthupthiphngthlaylngipnnaetedimxaccamilksnasxnldhlnknkhunip 5 chn ephraapraktwaphbchinswnkhxngphraphuththrupthimikhnadtangknepncanwnmak sthupsxnldhlnkn 5 chn aelaaetladantkaetngdwyphraphuththrupnimitwxyangcakcinrwmsmy dngechnthislkxyuphayinthahmayelkh 39 thiyunkngmnthlchansi praethscin sungslkkhuninchwngaerkphuththstwrrsthi 12 smythi 2 mikarkxsrangthanxithkhunmaihmthbkhxngedimphrxmkbsrangbnidsulanprathksinihmthngsidanepnkarsrangesrimcakchnthi 1 mikarepliynaeplngthanlanthksinidthukykkhunipsungkwaradbbnid danbnpradisthanphraphuththrupechnediywknkbthikhudphbbriewnthanchnaerk khwamehnkhxng chxng bwesxliey ecdiyculpraothnidrbkaraephkhyayxiththiphlthangphuththsasnacaknikaymhayanmacakxanackrsriwichythangphakhit phaphpunpnthiecdiyculpraothnepnphaphekiywkbchadk phrxmkbphaphehlannyngmiphaphphraophthistw sungyngimekhypraktmimakxn n sasnsthansungsrangkhuninphuththsasnalththiethrwath phaphphraophthistwehlanithngthangdanaebbsilpaaelaraylaexiydkhxngekhruxngxaphrnthaihnukipwakhngcaidrbxiththiphlmaodytrngcakpraephniaebbxinodniesiykhxngsilpasriwichy caksmmutithanaelacakphlkhxngkarkhudaetngthixaephxxuthxng cnghwdsuphrrnburi thaih chxng bwesxliey klawwaphaphpunpnehlanisrangkhuninsmythi 2 khxngecdiyculpraothnaelamixayuxyuinrawphuththstwrrsthi 14 15 ephraamiruppunpnpradbepneruxngrawinchadk thimikhwamekiywkhxngkbphuththsasnanikayethrwath khwamehnkhxng phiriya ikrvks chwngklangphuththstwrrsthi 13 nn idmikarkxthanprathksinkhunmaihmthbkhxngedimphrxmkbsrangbnidihmthng 4 dan thanprathksinihmniaebngepnchxngxyangedim aetimpraktwamikarpradbdwyphaphpunpnaetxyangid nxkcakniyngsrangthanihmrupsiehliymcturskhrxbthanedim aetyngkhngrksalwdbwrupaethngsiehliymeriyngepnaethwlabwlukaekwiw swnthxngimnnaebngepnchxngkhlaykbthithanprathksin phrxmkbepliynphraphuththrupprathbhxyphrabathslbkbphraphuththrupnakhprk aelamikartkaetngekhruxngbnkhxngsthupdwyrupphraophthistwpunpn sungaesdngihehnwamikarepliynaeplngkhxngecdiyculpraothnkhrngnikhngekidkhunphayitxiththiphlkhxnglththimhayanaelanbwaepnkhrngsakhyephraapraktwathibriewnphundintrngmumthng 4 dan khxngthanprathksinedimnnidmikarwangvkssahrbthanprathksinihmodyichaephnxithslk aelaekhiynsithaepnlayerkhakhnitrupthrngtang bangaephnepnrupckrthimikanphkkudaephxxkmatamyawthngsxngdan aelayngidphbxithxikaephnhnungsungkhudkhidepnrupibhnabukhkhlthangdankhangsungmilksnathiimichibhnakhxngchawphunemuxng ephraamicmukodng swmhmwk aelaiwhnwdekhra snnisthanwanacaepnchawtangchatithiekhamacaktawnxxkklang smythi 3 epnkarsranglanprathksinihm miaephnphngepnrupsiehliymyxmum khrxblanprathksin aelabnidthangkhunedimiw lanprathksinthisrangihmmi 2 chn bnmumthngsikhxnglanprathksin pradbdwyecdiythrngklmmumlaxngkh immibnidkhunlanprathksin aelaepliynaeplngphraphuththrupihmsumphraphuththrupyunthng 5 xngkh epnphrannghxykha 3 xngkh aelaphraphuththruppangnakhprkxik 2 xngkh khwamehnkhxng chxng bwesxliey hlngcaksinxiththiphlthangphuththsasnalththimhayaninsmythi 2 txmacungmikarnbthuxlththiethrwathinsmythi 3 karburnakhrngthi 2 hruxinsmythi 3 nixacsrangkhuninrawtnhruxklangphuththstwrrsthi 15 khwamehnkhxng phiriya ikrvks mikarprbprungthithanecdiykhunxikkhrnghnung odysrangthanihm 2 chnthblanprathksinaelabnidthng 4 danthisrangephimetimkhuninrayathi 2 thanchnlangepnthanekhiyngsungrxngrbthanpthm sungthxngimepnchwngdwyesaxingruplukmahwd thanchnbnthisrangkhunihmpradbdwythanpthmaelabwlukaekw phrxmkbmiaethnehliymsahrbpradisthanphraphuththrupxyukungklang aelamiaephnphngepnrupsiehliymyxekctamrupkhxngtwxakhar trngmumthng 4 khxngthanchnbnmisthupthrngklmaelasrangphraphuththrupnakhprkkhunaethnthiphraphuththrupyunthng 2 xngkhthihlngehluxxyucakkarsranginsmyaerkthng 4 danyngkhngrupaebbedimthiehmuxnkbsmythi 2 ephiyngaet ephimsthuppracamumkhunmathng 4 mum khadwanacaepnkarepliynaeplng hruxidrbxiththiphlcakphaynxknikayinphuththsasna rayathisam ecdiyculpraothnidklbmarbxiththiphlthangphuththsasnanikayethrwathxikkhrngemuxphaphpunpnaelaphaphdinephaidthukpidthb odykarsranglanprathksinkhunmaihm phuburna piaexr dupxngpratimakrrmpunpnaeladinephapradbecdiyculpraothnepnrupphaphpradbthibnthanprathksinaebngxxkepnchxngaelatkaetngdwyphaphdinepha aelapunpn sungkhwamehnkhxngnkwichakarhlaythanthimikarnaesnxaenwkhwamkhid aelahlkthancakkarxangxingthitangknthaihcaaenksrupiddngni nnthna chutiwngs mikhwamehnthisxdkhlxngkb chxng bwesxliey thiwaphaphdinepha aelapunpnpradbthiecdiyculpraothnnnmixayuewlathitangkn imnacaxyuchwngediywkn khwamehn nnthna chutiwngs epnkaraesdngkhwamkhidehnineruxngkhxnglththi hruxnikaythangsasna thiehnwathuklththihruxnikaythangphuththsasnannsamarthhyibyumeruxngrawthimikarekhiynkhuninphuththsasnaknid xaccaepneruxngthimikhwamniym hruxmikarprbprungaekikhihsxdkhlxngkbkardaeninchiwitkhxngprachachn n thinn maichsngsxnaekprachachnrwmknid odyimcaepntxngmikarcakdthimathungmulehtuwanganpraphnthinphuththsasnannmicudprasngkhephiyngephuxtxngkarthicasngsxnprachachnihepnkhndi odyimihkhwamsakhykblththihruxnikayidnikayhnung swn phiriya ikrvks ihkhwamehnwaaetedimtxnaerkerimsranginsmyaerknnnacaichdinephakxn txmacungepliynwsduepnmaepnpunpnaethnaelanacaxyuinchwngewlaediywkn ephraacakkarcdxngkhprakxbkhxngtwphaphaesdngihehnthungkarepliynaeplngwsdu xacepnphlenuxngmacakwsduechndinephann mirakhasung rwmthngmikhntxntkaetng aelainkarphlitthiyungyakkwakarichethkhnikhpunpn phaphchadkthiecdiyculpaothn lanprathksindantawnxxkechiyngehnuxkhxngecdiyculpraothn aephnphngthi 1 rupphaphthi 15 phiriya ikrvks ihkhwamehnwaepnxwthaneruxngimtraknykawa imtraknykaepnphxkhanahxmthiemuxngpharansi wnhnungtxngxxkedinthangipkhakhaythiemuxngsuwrrnphumi sungcaepntxngxxkedineruxthangthael mardakhxngtnidthakarhamexaiwenuxngcakbidakhxngimtraknykaidesiychiwitlngklangthael cungimxyakihimtraknykatxngesiychiwitehmuxnbidakhxngtn aetimtraknykaimfng sudthaynangcungtxnglmtwlngthiethakhxngekha imtraknykaokrthekhuxngthinangimyxmihxxkedinthang cungetanangekhathisirsaaelwedincakip eruxthiimtraknykaxxkedinthangid 7 wnkekidxppanglng ekhaidlngaephipyngekaaaehnghnung sungidphbkbnangxpsr 4 nang sungidexaicisimtraknykaepnxyangdi aetthungkrann imtraknykakidxxkedinthangtx cnipphbxikekaathiidphbkbnangxpsrxik 8 nang imtraknykaidxxkedinthangtxxik ipecxxikekaa sungminangxpsrxyu 16 nang imtraknykakyngimphxic cungxxkedinthangtx khrngniipphbkbnangxpsrthung 32 nangsungxyuxikekaahnung imtraknykayngimphxic cungedinthangiptx aetkhraniidphbkbekaaaehnghnung sungmieprtodnckrhmunecaakaohlk rxngdwykhwamthukkhthrman imtraknykacungthamipdwykhwamsngsywa ehtuidcungtxngecxkbkhwamthukkhthrmanechnni eprttnnnidtxbwa ekhaidtharaymardakhxngtn thnidnn ckrthihmunxyukidmahmunbnehnuxsirsakhxngimtraknyka imtraknykaidthamwaekhatxngthnthukkhthrmanipxiknanethaid eprttnnnidtxbwa cnkwacamikhnthabapeyiyngtnxik cungcamikhnmarbchwngtxaethn imtraknykaidyindngnncungihkhaptiyanwa cakhxthunkngckrniiptlxdkal ephuxmiihmiphuidtxngthabaptxmardaaelatxngrbkrrmechntnxiktxip thnidnn kngckrkidhyudhmunaelalxykhunipinxakas hlngcakimtraknykasinchiphaelw kidipxubtibnswrrkhchndusit lanprathksindantawnxxkechiyngitkhxngecdiyculpraothn aephnphngthi 2 rupphaphthi 23 phiriya ikrvksihkhwamehnwaepnxwthan eruxngsuparkha suparkhaepnnayeruxphumichuxesiyngthimixayuaekchraaelataekuxbbxd aetthungxyangirkepnthinbhnathuxtaaekphuthiruckkn wnhnungmiphxkhamakhxkhwamchwyehluxodykarihrwmodysaripkberux ephraaechuxwasuparkhacathaihkaredinthangplxdphycakxntraythngpwng inrahwangkaredinthangekidphayu eruxidxxknxkesnthangaelaekidhlngthangkhunma ehlaphxkhathnghlaytangsinhwngthicarxdklbip cungkhxrxngihsuparkhachwyehlux suparkhacungxthisthantxphraphuththxngkhihkhxkhwamchwyehlux odyklawwa khaphecaimekhyebiydebiynkbsingmichiwitidinchatini khxihbuybarmikhxngkhaphecaidbndalihedinthangdwykhwamplxdphyethid cninthisuderuxaelaphxkhathnghmdkidedinthangklbxyangplxdphy aetnnthna chutiwngs ihkhwamehnwaepneruxngeruxngsmuththwanichchadk mibnthukxyuinprachumchadkphasabali eruxngniphramhastweswyphrachatiepnhwhnachangimphuphaeruxbrrthukbriwarcanwn 500 khn aelnhnixntrayipidodyswsdiphaph lanprathksindantawnxxkechiyngitkhxngecdiyculpraothn aephnphngthi 2 rupphaphthi 24 phiriya ikrvksihkhwamehnewaepnxwthan eruxng kcchpa phraphuththxngkhideswychatiepnetaaelaidchwyehluxehlaphxkha 500 khnthixxkedinthangodyeruxaelaekidxppang odyihodysarkhunhlngipsngthiphundinxyangplxdphy aetemuxchwyidthnghmdaelw phxkhathng 500 khnphyayamthicakhaaelakinenuxphraxngkh dwykhwamemtta phraxngkhcungthrabwaphxkhathnghlaynnkhngcahiwmak cungbricakhenuxihephuxepnthan lanprathksindantawnxxkechiyngitkhxngecdiyculpraothn aephnphngthi 2 rupphaphthi 25 phiriya ikrvksihkhwamehnewaepnxwthan eruxng mhakpi chayphuhnungidhlngekhaipinpaaeladwykhwamhiw tncungpintnimkhunipephuxeddphlimsungthxdkingipyngehw aettnphladphlngekidphldtklngipinehw phraophthistwsungeswychatiepnphrayawanrbngexiyipphbekha idehnchayphunnxyuknehw chayphunnidkhxkhwamchwyehluxaekphrayawanr phrayawanrcungchwyaebkchayphunnkhunmathungpakehw emuxchwyidaelw phrayawanrehndehnuxycakkaraebkaelapinpay cungidlmtwlngnxnhlbip chayphunncungkhidwaepnoxkasxndithicakinenuxphyawanr cungidykkxnhinhmaycasngharphyawanr aetekidphlad silacungimodncudsakhy phyawanrcungidrbbadecb aelaidtahnitietiynekhaaelanaxxkipcakpa dwyphlkrrmni chayphunncungklayepnorkheruxndwyphlaehngkarthrysphumiphrakhun lanprathksindantawnxxkechiyngitkhxngecdiyculpraothn aephnphngthi 2 rupphaphthi 26 phiriya ikrvksihkhwamehnewaepnxwthan eruxng sththnta phraophthistwsungideswyphrachatiepnchang 6 nga wnhnungmiphrarachinisungokrthekhuxngkbphrayachangmaemuxchatipangkxn cungsngihnayphranipnangamaihaektn phrancungplxmtwepnnkbwchaelaidyingphrachangdwylukdxkxabyaphis phraophthistwdwykhwamekharphaeknkbwch cungmiidthaxntraytxnayphranaelaxnuyatihnangakhxngtnipid phranidbxkwa tnepnnayphranaelaimxyakihngatxngthukmuxthiimbrisuththi phrayachangcungexangwngthxdngakhxngtnmxbihaeknayphransungkalngkhxyxyu lanprathksindantawnxxkechiyngitkhxngecdiyculpraothn aephnphngthi 2 rupphaphthi 28 phiriya ikrvksihkhwamehnewaepnxwthanxwthan eruxng syamka syamkaepnbutrchayphusuxstytxbidamardathitabxd aelaidxasyxyuinpa odyichchiwitepnnkbwchthnghmd wnhnungkhnathiiptknaihbidamarda phrarachaidekhapaephuxlastw ehnsyamkanukwaepnkwangcungyinglukdxkxabyaphisekhais txmacungruwaepnnkbwch phrarachaktkphrathyaelathrngwingwxnkhxothsaeksyamka syamkaidbxkwatnepnbutrephiyngkhnediywaelakhxihduaelbidamardaaethntndwy phrarachaktrswa cayxmslarachsmbtiephuxmaduaelbidamardaihaethn emuxnnphrarachakidtrngipyngxasrmaelwtrsbxkbidamardakhxngsyamkawa tnidsngharbutrchayesiyaelw aelaidkhxprnnibtithahnathiaethnsyamka bidamardakhxngsyamkakkhxrxngihphrarachaphaipyngthisyamkanxntayxyu phrarachakesdcnaip emuxipthungaelw bidamardacungxthisthanihphisthixyuinsyamkaidslayip thahakepnkhwamcringthiwasyamkaidmiemttakrunatxsingmichiwitthngpwngaelaidptibtitxbuphkarixyangdimatlxd thnidnnsyamkacungfuncakkhwamtaymaehmuxnkbwaephingtunnxn nnthna chutiwngs ihkhwamehnwaepneruxngewssndrchadk bukhkhlthng 3 inphaphhmayelkh 30 imswmekhruxngpradbephraathuxephsepnnkbwchbukhkhlklangkhuxphraewssndrkalngthuxphrahtthchayainphithiprathanphranangihkbthawskkaethwrachphucaaelngepnphrahmnmakhx aephnphaphdngklawmikhwamkhlaykhlungknkbthisumpratuphrasthupthisayci praethsxinediy aelabnhincahlkrupbnibesmainphakhxisankhxngithy lanprathksindantawntkechiyngitkhxngecdiyculpraothn aephnphngthi 3 rupphaphthi 31 32 aela 33 phiriya ikrvksihkhwamehnewaepnxwnthan eruxng hsting phraophthistwsungeswychatiepnphrayachangpaaelaxasyxyuinpaaehnghnungiklkbthaelthray wnhnungidecxkbphuedinthangsungkhamthaelthrayekhamaynginpa aelaidthamwaehtuidcungmaxyuinthaelthrayaehngniid ehlaphuedinthangthnghlaycungbxkwa thukkhbilxxkmacakbanemuxngkhxngekha cakcanwnkhn 1 000 khn ehluxxyu 700 khnethann enuxngcakkhwamhiwohyaelakrahayna phrayachangcungbxkwa edinthangtrngipcaecxkbehw itehwnncamisakchangtaythiephingtkcakphuekhalngiptay ihnaenuxkhxngchangnnmarbprathanaelanakraephaaxaharkhxngchangnnipthaepnthibrrcunaesiy hlngcaknnphrayachangcungipthiyxdekhaaelakraocntklngmathiknehwephuxslatnexngaekkhnehlann emuxkhnehlannmaphbsakchang kcaidwaepnchangechuxkediywknkbthiidchwyehluxekhaiw aelaidtdsinickinenuxchangnnesiyephuxihkrathatamthiphrayachangprasngkh chinswnrupkhnbnhlngma nnthna chutiwngs ihkhwamehnwaepneruxngphrayama phrayamaepnphuchwyehluxphxkhanaywanichihhniphncakekaanangyks eruxngkhxngphrayama dngklawnimiidmicakdechphaaxyuaetephiynginwrrnkhdiphasasnskvtethann aetyngmipraktxyuinprachumchadkphasabalidwy epnnithanthiniymknmakinhmuchawphuthththng 2 fay phaphrachsank nnthna chutiwngs ihkhwamehnwaepneruxngphraecasurupa kstriyphuyingihydwythanbarmixngkhni prathanphraoxrs phramehsi aelasudthaytwphraxngkhexngihaekykskrahayeluxd thiaethkkhuxthawskkaethwrachcaaelngkaylngma hlngcakthikstriysurupaidaesdngphraxthyasyinthanbarmiihepnthipraktaelw thawskkakprathanthuksingthukxyangklbkhunihphraxngkh inphaphphraecasurupakalngxumecachayphuepnphrarachoxrsprathanihaekphrayayksphusungyunxyuthangkhwasudkhxngphaph phramehsiprathbyunxyutrngklangphaph phraphktresra aetsngb yxmrbkartdsinphrathykhxngphraswamiodydusni thangdansaykhxngphaph ehlabrrdakharachsanknaphachnaisxaharmaeliyngduaekhkhvohdphuptiesthimyxmrbbriophkhxaharxnid nxkehnuxcakeluxdenuxkhxngphraoxrs aephnphaphhmayelkh 70 nnthna chutiwngs ihkhwamehnwaepneruxngsrphachadk srphachadk hrux srphamikhachadk phramhastweswyphrachatiepntwsrpha stwprahladsungechuxknwamiphlakalngmakethakbrachsih aelaphrayachangsar phraecakrungpharansriillatwsrphacnphraxngkhexngtklngipinehwluk phramhastwsrphaehnphyekidaekphraracha cungitlngipinehwaelwihphrarachakhunbnhlng aelaphaphraxngkhkhunipcakehwidodyplxdphykhwamehnkhxngnkwichakarinkarkahndxayuewlakhxngecdiyculpraothnkhwamehnkhxng phiriya ikrvks phaphelaeruxngthnghmdthiecdiyculpraothnnisrangkhunphrxmkn inrahwangphuththstwrrsthi 10 thung klangphuththstwrrsthi 13 hrux rahwangphuththstwrrsthi 11 thungklangphuththstwrrsthi 13 phaphehlaniidrbaerngbndalicmacakwrrnkhdiinphraphuththsasnathieriykwa xwthan sungepneruxngrawthiekiywkbkarkrathaxnrungorcnaelaklahay khxngphraphuththxngkhaelaphrasawkbangxngkh thiekhyptibtiinxditchati innikaysrrwastiwath sungepnlththihinyanthiichphasasnskvt khwamehnkhxng hmxmeca suphthrdis diskul hmxmeca suphthrdis diskul mikhwamehndwyhlayprakarkb phiriya ikrvks inswnkhxngkartikhwamhmaykhxngrupphaph aetmibangprakarthiimehndwy khux ihkhwamehnwainchwngkarsrangphlnganthangsilpkrrminkhnann thiecdiyculpraothnprachachnswnihyxaccanbthuxphuththsasnalththihinyan nikayethrwaththiichphasabali aetkmikarichphasasnskvtsahrbthangrachkaraelainsasnaphrahmn odythixaccamikarhyibyumeruxngrawinkarsrangphaphmacakkhmphirxwthankhxngnikaymulsrrwastiwath rwmthngyngklawephimetimxikwaimcaepntxngmiphuththsasnalththihinyan nikaymulsrrwastiwaththiichphasasnskvtxyuthinkhrpthm ehmuxnkbthipraethsxinodniesiykepnid ephraacarukthiphbswnihyincnghwdnkhrpthmnnkepnphasabalimakkwaphasasnskvt khwamehnkhxng nnthna chutiwngs phraphuththsasnanikaytang inxinediy idrwmknichnithanehlaniephuxpraoychnkhxnglththikhxngtnmaaetobran swnphuththsasnnithanthiphbthiculpraothnnn smkhwrxyangyingthicaeriykwa chadk odythithukeruxngepneruxngphraxditchatikhxngxngkhphraphuththecasrisakymuni miicheruxngrawkhxngphuxunnxkehnuxipcakkhxngphraxngkh thungaemwaeruxngehlanicamiaephrhlayxyuinwrrnkhdithieriyktwexngwa xwthan khwamehnxun khwamehnkhxng phiriya ikrvks thiaesdnghlkthanxangxinginkarxthibayphaphthiepnlaylaexiydelk thiphuthiihkhwamsnicthanxunidmxngkhamip khuxtrngcudthimikarklawthungkarichsitdesninkarsrangphaphkhxngnikaymulsrrwastiwaththiepnlksnaednechphaaodythiichsitdesnepnsiaedngthibriewnsthup sungprakt thithaxchyta praethsxinediy kartikhwamkhxngphaphodyichhlkkarkhxngpratimanirmanwithya aelawiekhraahxngkhprakxbtangkhxngtwnganephuxepnkaraeykaeyaswnprakxbtangephuxthicaihidmasungkhatxbthinaphungphxic aemwaxaccamikhwamkhdaeynginthangthvsdikbnkwichakarbangthanthiekhyaesdngkhwamkhidehniwkxnhnaniinbthkhwamtangkthuxepnkhxmulthisakhyephuxthicaepnkarchiaenaaenwthangthimipraoychninkarhakhxmulmaxangxing rwmthngkarichkhxesnxkhidehnswntwthisamarthaesdngkhwamkhidehnidkhtiniymkhxngthiskhcha rxngrbsthupthimumthngsithi idrbkhwamniym inaekhwnkhnthara praethsxinediy karkahndxayuewlakarsranginrayaaerkkhxngecdiyculpraothnnnidkahndcakkkarepriybethiyblksnathangsthaptykrrmrahwangthiecdiyculpraothnkbprasathsmobriphrkukthipraethsekhmr odyxasykarepriybethiybcaklksnaechphaakhxngbriewnthanhnathxngimehnuxthanpthmbwlukaekwkhxngthng 2 aehng aelapraktwalksnakhxngbriewnthanpthmhnathxngimkhxngthng 2 sthanthinnmilksnathiiklekhiyngkn cungphxcasrupidwa ecdiyculpraothn thicnghwdnkhrpthm aelathiprasathsmobriphrkuk thipraethsekhmr nnmirupaebbthangsilpkrrminkarkxsrangthinacaxyuinyukhsmyediywknkhuxinchwng phuththstwrrsthi 10 11 xikswnhnunginkarepriybethiyblksnathangsilpkrrmsmythi 1 ecdiyculpraothncakkarsuksainkhrngni idkhxsngektcakbriewnthanthimumdanthistawntkechiyngit sungmilksnathiiklekhiyngkbtwmkrkhxngthismobriphrkukrunthalabriwtsmyaerknacasrangkhuninchwngklangphuththstwrrsthi 12 ephraaepriybethiybcak twmkrthipradbmumdanthistawntkechiyngitethiybidkb thbhlngtharabriwt smysmobriphrkuk txmainchwngsmythi 2 kimnaepnlththimhayaninchwngthi 2 playphuththstwrrs 12 ephraaethiybidkb lwdlaykantxdxk thiprasathekhanxy cnghwdsraaekw smysmobriphrkuktxnplay hrux txntnsilpaaebbiphrkaemng praman klangphuththstwrrsthi 12 tnphuththstwrrs 13 xayuewlakhxngthng 2 smy rahwang 1 2 nnimnacakinewla ekin 25 pi ecdiyculpraothncungnacamiphunthankarsranghruxidrbaerngbndalicmacakphuththsasnanikay mulsrrwastiwath xndbaerkinkarehndwykbaenwkhidkhxng phiriya ikrvks thiihxthibayiwinhnngsuxphuththsasnnithanecdiyculpraothn waethkhnikhthiichinkartkaetng khxngnikaymulsrrwastiwathnicaniymichsiaednginkartdesnthisthup sungsamarthethiybekhiyngidkbphaphcitrkrrminfaphnngtha xchyda praethsxinediy kpraktwaethkhnikhthiichinlksnanikmikarnamaichthiecdiyculpraothnsungcakhlkthanchntndngklawthiidklawmani cungsamarththicaphxsnbsnunaenwkhiddngklawni odythiimmilksnaethkhnikhinkarkxsrangthikhlaykhlungknxangxingsilpakr krm obranwtthuinphiphithphnthsthanaehngchati phrapthmecdiy nnthburi sankphimphphicitrkarphimph 2548 1 silpakr krm obranwtthuinphiphithphnthsthanaehngchati phrapthmecdiy nnthburi sankphimphphicitrkarphimph 2548 silpakr krm obranwtthuinphiphithphnthsthanaehngchati phrapthmecdiy nnthburi sankphimphphicitrkarphimph 2548 nnthna chutiwngs phaphchadkthiecdiyculpaothn obrankhdiwicarn pithi 21 elm 4 krungethph obrankhdi 2520 hna 28 53 phiriya ikrvks phuththsasnnithanthiecdiyculpraothn krungethph orngphimphphracnthr 2517 phiriya ikrvks phuththsasnnithanthiecdiyculpraothn krungethph orngphimphphracnthr 2517 phiriya ikrvks phuththsasnnithanthiecdiyculpraothn krungethph orngphimphphracnthr 2517 phiriya ikrvks phuththsasnnithanthiecdiyculpraothn krungethph orngphimphphracnthr 2517 phiriya ikrvks phuththsasnnithanthiecdiyculpraothn krungethph orngphimphphracnthr 2517 phiriya ikrvks phuththsasnnithanthiecdiyculpraothn krungethph orngphimphphracnthr 2517 phiriya ikrvks phuththsasnnithanthiecdiyculpraothn krungethph orngphimphphracnthr 2517 nnthna chutiwngs phaphchadkthiecdiyculpaothn obrankhdiwicarn pithi 21 elm 4 krungethph obrankhdi 2520 hna 34 nnthna chutiwngs phaphchadkthiecdiyculpaothn obrankhdiwicarn pithi 21 elm 4 krungethph obrankhdi 2520 hna 34 nnthna chutiwngs phaphchadkthiecdiyculpaothn obrankhdiwicarn pithi 21 elm 4 krungethph obrankhdi 2520 hna 35 carik ewchannth aela dusdi ethphsiri ecdiyculpraothn rayngankarsuksakhnkhwaprakxbkarsuksakrabwnwicha 116400 silpainpraethsithysmykxnphuththstwrrsthi 19 sakhasilpithy phakhwichasilpaithy khnawicitrsilp mhawithyalyechiyngihm 2551 http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2483 D 2527 PDF