ตัวรับรู้สิ่งใกล้เคียง (อังกฤษ: proximity sensor) คือ ตัวรับรู้ (อังกฤษ: sensor) ชนิดหนึ่งที่สามารถตรวจหาการปรากฏตัวของวัตถุใกล้เคียงโดยปราศจากการสัมผัสทางกาย
ตัวรับรู้สิ่งใกล้เคียงมักจะปล่อยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหรือลำรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (เช่นรังสีอินฟราเรด) และมองหาการเปลี่ยนแปลงของสนามหรือสัญญาณที่ส่งกลับมา วัตถุที่กำลังตรวจหามักจะถูกเรียกว่าเป้าหมาย เป้าหมายต่างกันก็ใช้ตัวรับรู้ต่างกัน เช่นถ้าเป้าหมายเป็นพลาสติก ตัวรับรู้ก็จะเป็นแบบเก็บประจุ หรือ photoelectric ถ้าเป้าหมายเป็นโลหะ ตัวรับรู้ก็จะเป็นแบบเหนี่ยวนำ เป็นต้น
ระยะห่างสูงสุดที่ตัวรับรู้นี้จะสามารถตรวจพบได้จะถูกกำหนดให้เป็น "ระยะกำหนด" (อังกฤษ: nominal range) ตัวรับรู้บางตัวสามารถปรับระยะกำหนดได้หรือวิธีการรายงานระยะห่างที่วัดได้อีกด้วย
ตัวรับรู้สิ่งใกล้เคียงอาจมีความน่าเชื่อถือที่สูงและอายุการทำงานยืนยาวเพราะว่ามันไม่มีชิ้นส่วนกลไกที่เคลื่อนไหวและไม่มีการสัมผัสทางกายระหว่างตัวรับรู้และเป้าหมาย
ตัวรับรู้สิ่งใกล้เคียงถูกใช้ทั่วไปบนโทรศัพท์อัจฉริยะเพื่อตรวจหา (และกระโดดข้าม) การแตะหน้าจอโดยไม่ได้ตั้งใจขณะกำลังถือโทรสัพท์ติดกับหูเวลาพูดสาย พวกมันยังถูกใช้อีกด้วยในการเฝ้าดูการสั่นของเครื่องยนต์เพื่อวัดการแปรเปลี่ยนของระยะทางระหว่างเพลากับแบริ่งที่รองรับมันอยู่ หน้าที่จะพบเห็นทั่วไปในเครื่องกังหันไอน้ำขนาดใหญ่ เครื่องอัดความดันด้วยก๊าซ และมอเตอร์ที่ใช้แบริ่งแบบปลอกแขนเสื้อ
(IEC) 60947-5-2 เป็นผู้กำหนดรายละเอียดด้านเทคนิคของตัวรับรู้สิ่งใกล้เคียง
ตัวรับรู้สิ่งใกล้เคียงที่ถูกปรับให้ทำงานในระยะที่ใกล้มากจะถูกใช้ใน (อังกฤษ: touch switch)
ชนิดของตัวรับรู้
- (ตัวรับรู้ทำงานตามผลกระทบ)
- แม่เหล็ก, รวมทั้ง
- Passive optical (เช่น อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ)
- Passive thermal อินฟราเรด
- (สะท้อน)
- เรดาร์
- Reflection of ionising radiation
- โซนาร์ (ทั่วไปแบบแอคทีฟหรือพาสซีฟ)
- (โซนาร์ที่วิ่งในอากาศ)
- Fiber optics sensor
หลักการทำงานของเซนเซอร์แบบเหนี่ยวนำ
บริเวณส่วนหัวของเซนเซอร์จะมีสนามแม่เหล็กซึ่งมีความถี่สูง โดยได้รับสัญญาณมาจากวงจรกำเนิดความถี่ในกรณีที่มีวัตถุหรือชิ้นงานที่เป็นโลหะเข้ามาอยู่ในบริเวณที่สนามแม่เหล็กสามารถส่งไปถึง จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่าความเหนี่ยวนำ จากเหตุการที่เกิดขึ้นทำให้เกิดการหน่วงออสซิเลท (Oscilate) ลดลงไปหรือบางทีอาจถึงจุดที่หยุดการออสซิลเลท และเมื่อนำวัตถุนั้นออกจากบริเวณตรวจจับ วงจรกำเนิดคลื่นความถี่ก็เริ่มต้นการออสซิเลทใหม่อีกครั้งหนึ่ง สภาวะดังกล่าวจะถูกแยกแยะได้ด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ภายในหลังจากนั้นก็จะส่งผลไปยัง Out Put ว่าทำงานหรือไม่ทำงาน โดยทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับชนิดของเอาต์พุตว่าเป็นแบบใด เพื่อเป็นการลดจินตนาการในการทำความเข้าใจการทำงานของเซนเซอร์ชนิดนี้
อ้างอิง
- "Proximity sensor on Android smartphones". TheCodeArtist.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-29. สืบค้นเมื่อ 2011-05-20.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
twrbrusingiklekhiyng xngkvs proximity sensor khux twrbru xngkvs sensor chnidhnungthisamarthtrwchakarprakttwkhxngwtthuiklekhiyngodyprascakkarsmphsthangkaytwrbrusingiklekhiyngdwyrngsiitaedng xinfraerd twrbrusingiklekhiyngmkcaplxysnamaemehlkiffahruxlarngsiaemehlkiffa echnrngsixinfraerd aelamxnghakarepliynaeplngkhxngsnamhruxsyyanthisngklbma wtthuthikalngtrwchamkcathukeriykwaepahmay epahmaytangknkichtwrbrutangkn echnthaepahmayepnphlastik twrbrukcaepnaebbekbpracu hrux photoelectric thaepahmayepnolha twrbrukcaepnaebbehniywna epntn rayahangsungsudthitwrbrunicasamarthtrwcphbidcathukkahndihepn rayakahnd xngkvs nominal range twrbrubangtwsamarthprbrayakahndidhruxwithikarraynganrayahangthiwdidxikdwy twrbrusingiklekhiyngxacmikhwamnaechuxthuxthisungaelaxayukarthanganyunyawephraawamnimmichinswnklikthiekhluxnihwaelaimmikarsmphsthangkayrahwangtwrbruaelaepahmay twrbrusingiklekhiyngthukichthwipbnothrsphthxcchriyaephuxtrwcha aelakraoddkham karaetahnacxodyimidtngickhnakalngthuxothrsphthtidkbhuewlaphudsay phwkmnyngthukichxikdwyinkarefadukarsnkhxngekhruxngyntephuxwdkaraeprepliynkhxngrayathangrahwangephlakbaebringthirxngrbmnxyu hnathicaphbehnthwipinekhruxngknghnixnakhnadihy ekhruxngxdkhwamdndwykas aelamxetxrthiichaebringaebbplxkaekhnesux IEC 60947 5 2 epnphukahndraylaexiyddanethkhnikhkhxngtwrbrusingiklekhiyng twrbrusingiklekhiyngthithukprbihthanganinrayathiiklmakcathukichin xngkvs touch switch chnidkhxngtwrbru twrbruthangantamphlkrathb aemehlk rwmthng Passive optical echn xupkrnthayethpracu Passive thermal xinfraerd sathxn erdar Reflection of ionising radiation osnar thwipaebbaexkhthifhruxphassif osnarthiwinginxakas Fiber optics sensorhlkkarthangankhxngesnesxraebbehniywnabriewnswnhwkhxngesnesxrcamisnamaemehlksungmikhwamthisung odyidrbsyyanmacakwngcrkaenidkhwamthiinkrnithimiwtthuhruxchinnganthiepnolhaekhamaxyuinbriewnthisnamaemehlksamarthsngipthung cathaihekidkarepliynaeplngkhakhwamehniywna cakehtukarthiekidkhunthaihekidkarhnwngxxssielth Oscilate ldlngiphruxbangthixacthungcudthihyudkarxxssilelth aelaemuxnawtthunnxxkcakbriewntrwccb wngcrkaenidkhlunkhwamthikerimtnkarxxssielthihmxikkhrnghnung sphawadngklawcathukaeykaeyaiddwywngcrxielkthrxniksthixyuphayinhlngcaknnkcasngphlipyng Out Put wathanganhruximthangan odythngnicakhunxyukbchnidkhxngexatphutwaepnaebbid ephuxepnkarldcintnakarinkarthakhwamekhaickarthangankhxngesnesxrchnidnixangxing Proximity sensor on Android smartphones TheCodeArtist khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2015 07 29 subkhnemux 2011 05 20