เคมีสีเขียว (อังกฤษ: green chemistry) หรือ เคมีอย่างยั่งยืน (sustainable chemistry) เป็นเคมีและวิศวกรรมเคมีแขนงหนึ่งที่มุ่งเน้นการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการที่ลดการใช้หรือการสร้างสารที่เป็นอันตราย ขณะที่เคมีสิ่งแวดล้อมศึกษาผลกระทบของในธรรมชาติ เคมีสีเขียวนั้นสนใจผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของเคมี เช่น การลดการบริโภคทรัพยากรสิ้นเปลือง และการใช้เทคโนโลยีในการป้องกันมลภาวะ
หมายเหตุ 1: ดัดแปลงจากอ้างอิง ให้มีความหมายกว้างขึ้น
- หมายเหตุ 2: เคมีสีเขียวคำนึงถึงแนวคิดทางวิศวกรรมของการป้องกันมลภาวะและ (zero waste) ทั้งในห้องปฏิบัติการและระดับอุตสาหกรรม เคมีสีเขียวสนับสนุนการใช้วิธีที่คุ้มค่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่เพียงเพื่อปรับปรุงผลผลิตแต่เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดของเสียเมื่อสิ้นสุดกระบวนการทางเคมี
ประวัติ
เคมีสีเขียวเกิดจากแนวคิดและการวิจัยที่หลากหลายช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 ซึ่งสนใจปัญหามลภาวะและการลดลงของทรัพยากรมากขึ้น การพัฒนาเคมีสีเขียวในยุโรปและสหรัฐเกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนวิธีแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการสั่งการและควบคุมการปล่อยสารมลพิษสู่การป้องกันมลภาวะผ่านการออกแบบเทคโนโลยีเชิงนวัตกรรม แนวคิดเหล่านี้พร้อมทั้งการรับเอาคำ "เคมีสีเขียว" มาใช้เกิดขึ้นช่วงกลางถึงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990
สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐมีส่วนสำคัญในการส่งเสริมเคมีสีเขียวช่วงต้นผ่านการคิดค้นโครงการป้องกันมลภาวะ การให้ทุน และการประสานงานระดับวิชาชีพ ในช่วงเวลาเดียวกันนักวิจัยของในสหราชอาณาจักรมีส่วนในการจัดตั้งเครือข่ายเคมีสีเขียวใน และเผยแพร่วารสารวิชาการ Green Chemistry
หลักการ
ค.ศ. 1998 ผู้อำนวยการโครงการเคมีสีเขียวของสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ และ นักวิจัยของบริษัท เผยแพร่ชุดหลักการเคมีสีเขียว 12 ข้อ หลักการชุดนี้เสนอแนวทางการลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของการผลิตสารเคมี รวมถึงชี้ลำดับความสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีเคมีสีเขียว
หลักการของอนาสทัสและวอร์เนอร์ครอบคลุมแนวคิด:
- การออกแบบกระบวนการผลิตที่ใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบให้มากที่สุด
- การใช้และพลังงานทดแทน
- การใช้สาร (รวมถึงตัวทำละลาย) ที่ปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- การออกแบบกระบวนการ
- ซึ่งถือเป็นรูปแบบอุดมคติของ
หลักการ 12 ข้อประกอบด้วย:
- ป้องกัน: ป้องกันการเกิดของเสียดีกว่าการบำบัดหรือกำจัดหลังมีของเสียเกิดขึ้น
- : ทุกสารในกระบวนการสังเคราะห์ควรมีส่วนร่วมมากที่สุดก่อนนำไปสู่ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย เพื่อลดของเสียที่จะเกิดขึ้น
- การสังเคราะห์เคมีแบบเป็นอันตรายน้อย: การสังเคราะห์ควรหลีกเลี่ยงการใช้หรือการสร้างสารพิษต่อมนุษย์ และ/หรือสิ่งแวดล้อม
- การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย: เคมีภัณฑ์ควรถูกออกแบบให้มีประสิทธิภาพการทำงานตามต้องการ ขณะที่ความเป็นพิษลดลง
- ตัวทำละลายและสารช่วยที่ปลอดภัยกว่า: หลีกเลี่ยงการใช้สารช่วย หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรใช้สารที่ไม่เป็นพิษ
- การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ: ควรลดการใช้พลังงาน และกระบวนการควรดำเนินที่สภาวะอุณหภูมิและความดันปกติ
- การใช้วัตถุดิบทดแทน: ควรใช้วัตถุดิบทดแทนแทนวัตถุดิบสิ้นเปลือง
- ลดการใช้สารอนุพันธ์: หลีกเลี่ยงการสร้างสารอนุพันธ์ที่ไม่จำเป็น เนื่องจากสารอนุพันธ์จะก่อให้เกิดของเสียเพิ่มเติม
- การเร่งปฏิกิริยา: ควรใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดที่มีความเลือกจำเพาะต่อการเกิดผลิตภัณฑ์ที่ต้องการสูง แทนการใช้สารที่เกิดปฏิกิริยาตามหลักมวลสารสัมพันธ์
- การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้: ควรออกแบบเคมีภัณฑ์ไม่ให้ตกค้างในสิ่งแวดล้อมหลังสิ้นอายุการใช้งาน และสลายตัวเป็นสารที่ไม่เป็นพิษ
- การวิเคราะห์เพื่อเฝ้าระวังมลภาวะตามเวลาจริง: ควรพัฒนาวิธีวิเคราะห์ระหว่างการผลิตเพื่อติดตาม เฝ้าระวัง และควบคุมก่อนเกิดการสร้างสารพิษ
- เลือกใช้สารที่ปลอดภัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ: ควรเลือกสารและสถานะของสารที่ใช้ในกระบวนการให้เหมาะสม เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ เช่น การระเบิด อัคคีภัย และการรั่วไหล
ตัวอย่าง
ตัวทำละลายเขียว
ตัวทำละลายถูกใช้ในงานสีและการเคลือบเป็นหลัก นอกจากนี้ยังใช้ในการทำความสะอาด การล้างคราบไขมัน กาว และการสังเคราะห์เคมี ขณะที่ตัวทำละลายดั้งเดิมมักเป็นพิษหรือมีการเติมคลอรีน ตัวทำละลายเขียวนั้นเป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า นอกจากนี้ยังผลิตจากทรัพยากรทดแทน และย่อยสลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่พบในธรรมชาติ อย่างไรก็ตามการผลิตตัวทำละลายจากชีวมวลส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่าการผลิตตัวทำละลายเดียวกันจากเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ดังนั้นจึงต้องมีการพิจารณาถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของการผลิตตัวทำละลายเมื่อเลือกใช้ตัวทำละลายในกระบวนการ อีกหนึ่งปัจจัยที่ต้องพิจารณาคือหลังการใช้ตัวทำละลาย หากใช้ในพื้นที่ปิดที่การเก็บรักษาและแปรใช้ใหม่เป็นไปได้ อาจต้องคำนึงถึงด้านการใช้พลังงานและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในการแปรใช้ใหม่ แต่ในทางกลับกันหากตัวทำละลายบรรจุในสินค้าบริโภค จะมีโอกาสออกสู่สิ่งแวดล้อมหลังใช้งานได้ง่ายกว่า จึงต้องพิจารณาถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของตัวทำละลายมากกว่าการใช้พลังงานและการแปรใช้ใหม่
เทคนิคสังเคราะห์
เทคนิคสังเคราะห์แบบใหม่มีส่วนช่วยสิ่งแวดล้อม ในค.ศ. 2005 รางวัลโนเบลสาขาเคมีมอบรางวัลให้แก่, และ สำหรับการพัฒนาวิธีในการสังเคราะห์อินทรีย์ ทำให้เกิดผลิตผลพลอยได้ไม่พึงประสงค์และของเสียที่เป็นพิษน้อยลง สอดคล้องกับหลักการเคมีสีเขียว บทวิจารณ์ในค.ศ. 2005 ระบุการพัฒนาสำคัญ 3 อย่างในเคมีสีเขียวต่อการสังเคราะห์อินทรีย์ ได้แก่ การใช้เป็นตัวทำละลายเขียว, การใช้ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ในรูปสารละลายในน้ำเพื่อการออกซิเดชันที่สะอาด และการใช้ไฮโดรเจนใน
คาร์บอนไดออกไซด์เป็นสารฟูพอง
ในค.ศ. 1996 บริษัทชนะรางวัลกรีนเนอร์รีแอคชันคอนดิชันส์จากผลงานการผลิตโฟมพอลิสไตรีนโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เป็น (blowing agent) โฟมพอลิสไตรีนเป็นวัสดุทั่วไปที่ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ เดิมผลิตจากคลอโรฟลูออโรคาร์บอนและสารที่ทำลายชั้นโอโซนอื่น ๆ ต่อมามีการใช้สารไฮโดรคาร์บอน แต่ยังมีปัญหาด้านสารพิษและอัคคีภัย ภายหลังดาวเคมีคอลค้นพบว่าคาร์บอนไดออกไซด์วิกฤตยิ่งยวดทำงานเป็นสารฟูพองได้ดีโดยไม่จำเป็นต้องใช้สารอันตรายร่วม ทำให้การแปรพอลิสไตรีนมาใช้ใหม่ง่ายขึ้น นอกจากนี้คาร์บอนไดออกไซด์ที่ใช้ในกระบวนการสามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรมอื่นได้ จึงไม่มีการปล่อยคาร์บอนออกสู่สิ่งแวดล้อม
อ้างอิง
- "Green Chemistry". United States Environmental Protection Agency. 2006-06-28. สืบค้นเมื่อ 2011-03-23.
- ; Arends, I. W. C. E.; Hanefeld, U. (2007). Green Chemistry and Catalysis. doi:10.1002/9783527611003. ISBN . S2CID 92947071.
- Clark, J. H.; Luque, R.; Matharu, A. S. (2012). "Green Chemistry, Biofuels, and Biorefinery". . 3: 183–207. doi:10.1146/annurev-chembioeng-062011-081014. PMID 22468603.
- Cernansky, R. (2015). "Chemistry: Green refill". Nature. 519 (7543): 379–380. doi:10.1038/nj7543-379a. PMID 25793239.
- Sanderson, K. (2011). "Chemistry: It's not easy being green". Nature. 469 (7328): 18–20. Bibcode:2011Natur.469...18S. doi:10.1038/469018a. PMID 21209638.
- ; Licence, P. (2007). "Sustainable technology: Green chemistry". Nature. 450 (7171): 810–812. Bibcode:2007Natur.450..810P. doi:10.1038/450810a. PMID 18064000. S2CID 12340643.
- Clark, J. H. (1999). "Green chemistry: Challenges and opportunities". Green Chemistry. 1: 1–8. doi:10.1039/A807961G.
- Marteel, Anne E.; Davies, Julian A.; Olson, Walter W.; Abraham, Martin A. (2003). "GREEN CHEMISTRY AND ENGINEERING: Drivers, Metrics, and Reduction to Practice". . 28: 401–428. doi:10.1146/annurev.energy.28.011503.163459.
- Vert, Michel; Doi, Yoshiharu; Hellwich, Karl-Heinz; Hess, Michael; Hodge, Philip; Kubisa, Przemyslaw; Rinaudo, Marguerite; Schué, François (2012). "Terminology for biorelated polymers and applications (IUPAC Recommendations 2012)" (PDF). . 84 (2): 377–410. doi:10.1351/PAC-REC-10-12-04. S2CID 98107080.
- Woodhouse, E. J.; Breyman, S. (2005). "Green chemistry as social movement?". Science, Technology, & Human Values. 30 (2): 199–222. doi:10.1177/0162243904271726. S2CID 146774456.
- Linthorst, J. A. (2009). "An overview: Origins and development of green chemistry". Foundations of Chemistry. 12: 55–68. doi:10.1007/s10698-009-9079-4.
- ; (1998). Green chemistry: theory and practice. Oxford [England]; New York: Oxford University Press. ISBN .
- "12 Principles of Green Chemistry - American Chemical Society". American Chemical Society (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-02-16.
- Torok, Bela (2017). Green Chemistry: An Inclusive Approach. Amsterdam: Elsevier. p. Ch 3.15.
- Prat, D.; Pardigon, O.; Flemming, H.-W.; Letestu, S.; Ducandas, V.; Isnard, P.; Guntrum, E.; Senac, T.; Ruisseau, S.; Cruciani, P.; Hosek, P. (2013). "Sanofi's Solvent Selection Guide: A Step Toward More Sustainable Processes". Org. Process Res. Dev. 17 (12): 1517–1525. doi:10.1021/op4002565.
- Sherman, J.; Chin, B.; Huibers, P. D. T.; Garcia-Valls, R.; Hatton, T. A. (1998). "Solvent Replacement for Green Processing". Environ. Health Perspect. 106 (Suppl 1): 253–271. doi:10.2307/3433925. JSTOR 3433925. PMC 1533296. PMID 9539018.
- Isoni, V. (2016). "Q-SAOESS: A methodology to help solvent selection for pharmaceutical manufacture at the early process development stage". Green Chem. 18: 6564. doi:10.1039/C6GC02440H.
- Clarke, Coby J.; Tu, Wei-Chien; Levers, Oliver; Brohl, Andreas; Hallett, Jason P. (2018). "Green and Sustainable Solvents in Chemical Processes". Chemical Reviews. 118 (2): 747–800. doi:10.1021/acs.chemrev.7b00571. :10044/1/59694. PMID 29300087.
- "The Nobel Prize in Chemistry 2005". The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2006-08-04.
- (2005). "Pursuing practical elegance in chemical synthesis". Chemical Communications (14): 1807–11. doi:10.1039/B502713F. PMID 15795753.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ekhmisiekhiyw xngkvs green chemistry hrux ekhmixyangyngyun sustainable chemistry epnekhmiaelawiswkrrmekhmiaekhnnghnungthimungennkarxxkaebbphlitphnthaelakrabwnkarthildkarichhruxkarsrangsarthiepnxntray khnathiekhmisingaewdlxmsuksaphlkrathbkhxnginthrrmchati ekhmisiekhiywnnsnicphlkrathbthangsingaewdlxmkhxngekhmi echn karldkarbriophkhthrphyakrsinepluxng aelakarichethkhonolyiinkarpxngknmlphawa khacakdkhwamkhxng IUPAC ekhmisiekhiyw ekhmixyangyngyun karxxkaebbekhmiphnthaelakrabwnkarthildkarichhruxkarsrangsarthiepnxntraytxmnusy stw phuch aelasingaewdlxm hmayehtu 1 ddaeplngcakxangxing ihmikhwamhmaykwangkhun hmayehtu 2 ekhmisiekhiywkhanungthungaenwkhidthangwiswkrrmkhxngkarpxngknmlphawaaela zero waste thnginhxngptibtikaraelaradbxutsahkrrm ekhmisiekhiywsnbsnunkarichwithithikhumkhaaelaepnmitrkbsingaewdlxm imephiyngephuxprbprungphlphlitaetephuxldkhaichcayinkarkacdkhxngesiyemuxsinsudkrabwnkarthangekhmiprawtiekhmisiekhiywekidcakaenwkhidaelakarwicythihlakhlaychwngkhristthswrrs 1990 sungsnicpyhamlphawaaelakarldlngkhxngthrphyakrmakkhun karphthnaekhmisiekhiywinyuorpaelashrthekiywkhxngkbkarprbepliynwithiaekpyhasingaewdlxmcakkarsngkaraelakhwbkhumkarplxysarmlphissukarpxngknmlphawaphankarxxkaebbethkhonolyiechingnwtkrrm aenwkhidehlaniphrxmthngkarrbexakha ekhmisiekhiyw maichekidkhunchwngklangthungplaykhristthswrrs 1990 sanknganpkpxngsingaewdlxmshrthmiswnsakhyinkarsngesrimekhmisiekhiywchwngtnphankarkhidkhnokhrngkarpxngknmlphawa karihthun aelakarprasannganradbwichachiph inchwngewlaediywknnkwicykhxnginshrachxanackrmiswninkarcdtngekhruxkhayekhmisiekhiywin aelaephyaephrwarsarwichakar Green Chemistryhlkkarkh s 1998 phuxanwykarokhrngkarekhmisiekhiywkhxngsanknganpkpxngsingaewdlxmshrth aela nkwicykhxngbristh ephyaephrchudhlkkarekhmisiekhiyw 12 khx hlkkarchudniesnxaenwthangkarldphlkrathbthangsingaewdlxmaelasukhphaphkhxngkarphlitsarekhmi rwmthungchiladbkhwamsakhyinkarphthnaethkhonolyiekhmisiekhiyw hlkkarkhxngxnasthsaelawxrenxrkhrxbkhlumaenwkhid karxxkaebbkrabwnkarphlitthiichpraoychncakwtthudibihmakthisud karichaelaphlngnganthdaethn karichsar rwmthungtwthalalay thiplxdphyaelaepnmitrkbsingaewdlxm karxxkaebbkrabwnkar sungthuxepnrupaebbxudmkhtikhxng hlkkar 12 khxprakxbdwy pxngkn pxngknkarekidkhxngesiydikwakarbabdhruxkacdhlngmikhxngesiyekidkhun thuksarinkrabwnkarsngekhraahkhwrmiswnrwmmakthisudkxnnaipsuphlitphnthkhnsudthay ephuxldkhxngesiythicaekidkhun karsngekhraahekhmiaebbepnxntraynxy karsngekhraahkhwrhlikeliyngkarichhruxkarsrangsarphistxmnusy aela hruxsingaewdlxm karxxkaebbphlitphnththiplxdphy ekhmiphnthkhwrthukxxkaebbihmiprasiththiphaphkarthangantamtxngkar khnathikhwamepnphisldlng twthalalayaelasarchwythiplxdphykwa hlikeliyngkarichsarchwy hakhlikeliyngimidkhwrichsarthiimepnphis karichphlngnganxyangmiprasiththiphaph khwrldkarichphlngngan aelakrabwnkarkhwrdaeninthisphawaxunhphumiaelakhwamdnpkti karichwtthudibthdaethn khwrichwtthudibthdaethnaethnwtthudibsinepluxng ldkarichsarxnuphnth hlikeliyngkarsrangsarxnuphnththiimcaepn enuxngcaksarxnuphnthcakxihekidkhxngesiyephimetim karerngptikiriya khwrichtwerngptikiriyachnidthimikhwameluxkcaephaatxkarekidphlitphnththitxngkarsung aethnkarichsarthiekidptikiriyatamhlkmwlsarsmphnth karxxkaebbphlitphnththiyxyslayid khwrxxkaebbekhmiphnthimihtkkhanginsingaewdlxmhlngsinxayukarichngan aelaslaytwepnsarthiimepnphis karwiekhraahephuxefarawngmlphawatamewlacring khwrphthnawithiwiekhraahrahwangkarphlitephuxtidtam efarawng aelakhwbkhumkxnekidkarsrangsarphis eluxkichsarthiplxdphyephuxpxngknxubtiehtu khwreluxksaraelasthanakhxngsarthiichinkrabwnkarihehmaasm ephuxpxngknxubtiehtu echn karraebid xkhkhiphy aelakarrwihltwxyangtwthalalayekhiyw twthalalaythukichinngansiaelakarekhluxbepnhlk nxkcakniyngichinkarthakhwamsaxad karlangkhrabikhmn kaw aelakarsngekhraahekhmi khnathitwthalalaydngedimmkepnphishruxmikaretimkhlxrin twthalalayekhiywnnepnxntraytxsukhphaphaelasingaewdlxmnxykwa nxkcakniyngphlitcakthrphyakrthdaethn aelayxyslayepnphlitphnththiphbinthrrmchati xyangirktamkarphlittwthalalaycakchiwmwlsngphlkrathbtxsingaewdlxmmakkwakarphlittwthalalayediywkncakechuxephlingsakdukdabrrph dngnncungtxngmikarphicarnathungphlkrathbtxsingaewdlxmkhxngkarphlittwthalalayemuxeluxkichtwthalalayinkrabwnkar xikhnungpccythitxngphicarnakhuxhlngkarichtwthalalay hakichinphunthipidthikarekbrksaaelaaeprichihmepnipid xactxngkhanungthungdankarichphlngnganaelaphlkrathbtxsingaewdlxminkaraeprichihm aetinthangklbknhaktwthalalaybrrcuinsinkhabriophkh camioxkasxxksusingaewdlxmhlngichnganidngaykwa cungtxngphicarnathungphlkrathbtxsingaewdlxmkhxngtwthalalaymakkwakarichphlngnganaelakaraeprichihm ethkhnikhsngekhraah ethkhnikhsngekhraahaebbihmmiswnchwysingaewdlxm inkh s 2005 rangwloneblsakhaekhmimxbrangwlihaek aela sahrbkarphthnawithiinkarsngekhraahxinthriy thaihekidphlitphlphlxyidimphungprasngkhaelakhxngesiythiepnphisnxylng sxdkhlxngkbhlkkarekhmisiekhiyw bthwicarninkh s 2005 rabukarphthnasakhy 3 xyanginekhmisiekhiywtxkarsngekhraahxinthriy idaek karichepntwthalalayekhiyw karichihodrecnephxrxxkisdinrupsarlalayinnaephuxkarxxksiedchnthisaxad aelakarichihodrecnin kharbxnidxxkisdepnsarfuphxng inkh s 1996 bristhchnarangwlkrinenxrriaexkhchnkhxndichnscakphlngankarphlitofmphxlisitrinodyichkharbxnidxxkisdepn blowing agent ofmphxlisitrinepnwsduthwipthiichepnbrrcuphnth edimphlitcakkhlxorfluxxorkharbxnaelasarthithalaychnoxosnxun txmamikarichsarihodrkharbxn aetyngmipyhadansarphisaelaxkhkhiphy phayhlngdawekhmikhxlkhnphbwakharbxnidxxkisdwikvtyingywdthanganepnsarfuphxngiddiodyimcaepntxngichsarxntrayrwm thaihkaraeprphxlisitrinmaichihmngaykhun nxkcaknikharbxnidxxkisdthiichinkrabwnkarsamarthnaipichinxutsahkrrmxunid cungimmikarplxykharbxnxxksusingaewdlxmxangxing Green Chemistry United States Environmental Protection Agency 2006 06 28 subkhnemux 2011 03 23 Arends I W C E Hanefeld U 2007 Green Chemistry and Catalysis doi 10 1002 9783527611003 ISBN 9783527611003 S2CID 92947071 Clark J H Luque R Matharu A S 2012 Green Chemistry Biofuels and Biorefinery 3 183 207 doi 10 1146 annurev chembioeng 062011 081014 PMID 22468603 Cernansky R 2015 Chemistry Green refill Nature 519 7543 379 380 doi 10 1038 nj7543 379a PMID 25793239 Sanderson K 2011 Chemistry It s not easy being green Nature 469 7328 18 20 Bibcode 2011Natur 469 18S doi 10 1038 469018a PMID 21209638 Licence P 2007 Sustainable technology Green chemistry Nature 450 7171 810 812 Bibcode 2007Natur 450 810P doi 10 1038 450810a PMID 18064000 S2CID 12340643 Clark J H 1999 Green chemistry Challenges and opportunities Green Chemistry 1 1 8 doi 10 1039 A807961G Marteel Anne E Davies Julian A Olson Walter W Abraham Martin A 2003 GREEN CHEMISTRY AND ENGINEERING Drivers Metrics and Reduction to Practice 28 401 428 doi 10 1146 annurev energy 28 011503 163459 Vert Michel Doi Yoshiharu Hellwich Karl Heinz Hess Michael Hodge Philip Kubisa Przemyslaw Rinaudo Marguerite Schue Francois 2012 Terminology for biorelated polymers and applications IUPAC Recommendations 2012 PDF 84 2 377 410 doi 10 1351 PAC REC 10 12 04 S2CID 98107080 Woodhouse E J Breyman S 2005 Green chemistry as social movement Science Technology amp Human Values 30 2 199 222 doi 10 1177 0162243904271726 S2CID 146774456 Linthorst J A 2009 An overview Origins and development of green chemistry Foundations of Chemistry 12 55 68 doi 10 1007 s10698 009 9079 4 1998 Green chemistry theory and practice Oxford England New York Oxford University Press ISBN 9780198502340 12 Principles of Green Chemistry American Chemical Society American Chemical Society phasaxngkvs subkhnemux 2018 02 16 Torok Bela 2017 Green Chemistry An Inclusive Approach Amsterdam Elsevier p Ch 3 15 Prat D Pardigon O Flemming H W Letestu S Ducandas V Isnard P Guntrum E Senac T Ruisseau S Cruciani P Hosek P 2013 Sanofi s Solvent Selection Guide A Step Toward More Sustainable Processes Org Process Res Dev 17 12 1517 1525 doi 10 1021 op4002565 Sherman J Chin B Huibers P D T Garcia Valls R Hatton T A 1998 Solvent Replacement for Green Processing Environ Health Perspect 106 Suppl 1 253 271 doi 10 2307 3433925 JSTOR 3433925 PMC 1533296 PMID 9539018 Isoni V 2016 Q SAOESS A methodology to help solvent selection for pharmaceutical manufacture at the early process development stage Green Chem 18 6564 doi 10 1039 C6GC02440H Clarke Coby J Tu Wei Chien Levers Oliver Brohl Andreas Hallett Jason P 2018 Green and Sustainable Solvents in Chemical Processes Chemical Reviews 118 2 747 800 doi 10 1021 acs chemrev 7b00571 10044 1 59694 PMID 29300087 The Nobel Prize in Chemistry 2005 The Nobel Foundation subkhnemux 2006 08 04 2005 Pursuing practical elegance in chemical synthesis Chemical Communications 14 1807 11 doi 10 1039 B502713F PMID 15795753