ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ฮิวมัส (humus) คือ ที่มีโครงสร้างสลับซับซ้อนโดยสลายตัวปะปนอยู่ในดินทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ เกิดจากการย่อยสลายของซากพืช ซากสัตว์ โดยกิจกรรมของจุลินทรีย์ซึ่งสังเคราะห์ได้สารประกอบอินทรีย์จำพวก กรดอะมิโน โปรตีน และ และจะเกิดการรวมตัวของสารประกอบอินทรีย์หลังจากที่จุลินทรีย์ตายลงและทับถมกันเป็นเวลานานกลายเป็นฮิวมัสในดิน
ส่วนประกอบของฮิวมัส
ส่วนที่ไม่เป็นสารฮิวมิก
ประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไป เช่น สารประกอบพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน กรดอะมิโน ลิพิด ลิกนิน แทนนิน และกรดอินทรีย์ต่างๆ เป็นต้น ลักษณะที่สำคัญของสารอินทรีย์เหล่านี้ คือ
- มีมวลโมเลกุลค่อนข้างต่ำ
- มีโครงสร้างโมเลกุลไม่สลับซับซ้อน
- ง่ายต่อการย่อยสลาย
- เป็นแหล่งอาหารและแหล่งพลังงานของจุลินทรีย์ในดิน
ส่วนที่เป็นสารฮิวมิก
เกิดจากการแปรสภาพของสารอินทรีย์และสังเคราะห์รวมตัวขึ้นมาใหม่ของสารที่ไม่ใช่ฮิวมิก ประกอบด้วยกลุ่มของสารอินทรีย์ประเภทที่มีลักษณะดังนี้
- มีมวลโมเลกุลค่อนข้างสูง
- โครงสร้างโมเลกุลมีรูปร่างทีไม่แน่นอน
- แสดงสมบัติเป็นสารคอลลอยด์
- คงทนต่อการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ดิน
สารฮิวมิกละลายน้ำได้น้อยมาก แต่สามารถละลายได้ในสารละลายที่เป็นกรดและด่างในบางส่วนของสารฮิวมิก สารฮิวมิกสามารถแบ่งออกได้เป็นสามส่วนใหญ่ๆ คือ
- กรดฮิวมิก (humic acid) : ส่วนที่ละลายได้ในด่าง แล้วตกตะกอนเป็นกรดฮิวมิกเมื่อปรับสารละลายให้เป็นกรด
- กรดฟุลวิก (fulvic acid) : ส่วนที่ละลายได้ในด่าง แต่ไม่ตกตะกอนเมื่อปรับสารละลายให้เป็นกรด
- ฮิวมิน (humin) : ส่วนที่ไม่ละลายในด่าง
องค์ประกอบทางเคมีและหมู่ฟังก์ชันนัลในสารฮิวมิก
ส่วนใหญ่ประกอบด้วยกรดฮิวมิก (รวมกับฮิวมิน) และกรดฟุลวิกมีธาตุคาร์บอนและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบประมาณ 90% โดยน้ำหนัก อีก 10% เป็นไฮโดรเจน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ และธาตุอื่นๆ ซึ่งโดยทั่วไปจะพบคาร์บอนมากกว่าออกซิเจน เมื่อไม่รวมซัลเฟอร์ สามารถเขียนสูตรเอมพิริคัล (empirical formula) ของกรดฮิวมิกและฟุลวิกเขียนได้เป็น C10H12O5N และ C12H12O9N ตามลำดับ โดยอัตราส่วนของ C:N อยู่ในช่วง 10-12:1
ลักษณะที่สำคัญ
องค์ประกอบและโครงสร้างทางเคมีของสารฮิวมิกมีลักษณะที่สำคัญ คือ หมู่ฟังก์ชัน (functional group) พบว่ามีหมู่ O และ OH เป็นหมู่ฟังก์ชันนัลหลัก ตัวอย่างเช่น หมู่คาร์บอกซิลิก (carboxylic, -COOH group) และหมู่ฟีนิลหรือฟีนอลิก (phenyl or phenolic, -C6H5OH group) ซึ่งมีมากที่สุดและสำคัญ หมู่ฟังก์ชันนัลที่มากรองลงมา ได้แก่ หมู่แอลกอฮอลิก (alcoholic, -OH) อินอลิก (enolic, -CH=C-OH) และคาร์บอนิล (carbonyl, =C=O) มักพบในรูปของควิโนน (quinone) และคีโตน (ketone)
โครงสร้างโมเลกุลของสารฮิวมิก
สารฮิวมิกมีโครงสร้างโมเลกุลที่ซับซ้อนมาก โดยมีโครงสร้างที่ไม่เป็นผลึก และไม่มีรูปแบบที่แน่นอน การเกิดสารฮิวมิกเกิดจากกระบวนทางชีวเคมีที่ซับซ้อนมากและมีหลายขั้นตอนรวมถึงหลายวิถีทาง (pathway) ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของจุลินทรีย์ดิน โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า ฮิวมิฟิเคชัน (humification) นอกจากนี้องค์ประกอบและโครงสร้างของสารฮิวมิกยังเปลี่ยนแปลงได้ตามแหล่งที่มาและองค์ประกอบเดิมของอินทรียสาร สภาพแวดล้อม จุลินทรีย์ดิน รวมถึงอายุและขั้นตอนการย่อยสลาย
สารเชิงซ้อนระหว่างโลหะหนัก-ฮิวมัส
ฮิวมัสที่เป็นทั้งสารฮิวมิกและไม่ได้เป็นสารฮิวมิก จะมีหมู่ฟังก์ชันนัลที่ว่องไวต่อปฏิกิริยา ซึ่งอยู่อย่างไม่อิสระเมื่ออยู่ในดินที่เป็นดินแร่ธาตุ (mineral soil) โดยจะทำปฏิกิริยาในรูปของสารเชิงซ้อนกับแร่ธาตุและสารประกอบต่างๆในดิน ตัวอย่างเช่น การทำปฏิกิริยาคีเลตกับโลหะแคทไอออน การดูดซับของฮิวมัสบนผิวอนุภาคของแร่ดินเหนียวและสารกำจัดศัตรูพืชต่างๆ ปฏิกิริยาเชิงซ้อนและการเกิดคีเลตระหว่างฮิวมัสกับโลหะต่างๆในดิน มีบทบาทและมีอิทธิพลต่อการสลายตัวผุพังของดิน รวมทั้งมีอิทธิพลต่อสมบัติทางเคมีและความอุดมสมบูรณ์ ดังนี้
- ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัส (P) จะสูงขี้น เนื่องจากการทำปฏิกิริยาเชิงซ้อนระหว่างฮิวมัสกับโลหะแคทไอออน Al3+ และ Fe3+ ในดินที่เป็นกรด และกับ Ca2+ และ Mg2+ ในดินที่เป็นด่าง ทำให้โอกาสที่แคทไอออนในดินจะทำปฏิกิริยาตกตะกอนกับ P สารละลายได้น้อย
- เกิดการปลดปล่อยธาตุอาหารที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างซิลิเกต ในระหว่างการสลายตัวผุพังของแร่ต้นกำเนิด
- เป็นการเพิ่มประโยชน์ของจุลธาตุ (trace elements) ในดินชั้นบน เนื่องจากการดูดใช้จุลธาตุจากดินชั้นล่างโดยรากพืช เมื่อรากพืชเกิดการย่อยสลายจุลธาตุแล้วก็จะส่งผลประโยชน์ต่อพืชได้ดีขึ้นจากปฏิกิริยาคีเลต
- โลหะจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างฮิวมัสและอนุภาคดินเหนียว จากการเกิดสารเชิงซ้อนระหว่างฮิวมัสกับดิน ซึ่งมีอิทธิพลต่อการเกิดและเสถียรภาพของเม็ดดิน
- ทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมหรือต่อต้านความเข้มข้นที่สูงขึ้นหรือสูงเกินไปของโลหะแคทไอออนบางชนิด เช่น Al3+, Cd2+ และ Pb2+ ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อพืชได้
- มีบทบาทต่อเคลื่อนย้ายของโลหะบางชนิด เช่น Al3+ และ Fe3+ ลงสู่ชั้นล่างของดิน
อ้างอิง
- ดร.ไพบูลย์ วิวัฒน์วงศ์วนา. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2546.เคมีดิน (SOIL CHEMISTRY). หน้า 98-99
- ดร.ไพบูลย์ วิวัฒน์วงศ์วนา. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2546.เคมีดิน (SOIL CHEMISTRY). หน้า 100
- ดร.ไพบูลย์ วิวัฒน์วงศ์วนา. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2546.เคมีดิน (SOIL CHEMISTRY). หน้า 101-102
- ดร.ไพบูลย์ วิวัฒน์วงศ์วนา. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2546.เคมีดิน (SOIL CHEMISTRY). หน้า 104
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud hiwms humus khux thimiokhrngsrangslbsbsxnodyslaytwpapnxyuindinthaihdinmikhwamxudmsmburn ekidcakkaryxyslaykhxngsakphuch sakstw odykickrrmkhxngculinthriysungsngekhraahidsarprakxbxinthriycaphwk krdxamion oprtin aela aelacaekidkarrwmtwkhxngsarprakxbxinthriyhlngcakthiculinthriytaylngaelathbthmknepnewlananklayepnhiwmsindinhiwmsekidcakkaryxyslaykhxngxinthriywtthuswnprakxbkhxnghiwmskrdxamion oprtin aela swnthiimepnsarhiwmik prakxbdwysarxinthriythiepnxngkhprakxbkhxngsingmichiwitodythwip echn sarprakxbphwkkharobihedrt oprtin krdxamion liphid liknin aethnnin aelakrdxinthriytang epntn lksnathisakhykhxngsarxinthriyehlani khux mimwlomelkulkhxnkhangta miokhrngsrangomelkulimslbsbsxn ngaytxkaryxyslay epnaehlngxaharaelaaehlngphlngngankhxngculinthriyindinswnthiepnsarhiwmik ekidcakkaraeprsphaphkhxngsarxinthriyaelasngekhraahrwmtwkhunmaihmkhxngsarthiimichhiwmik prakxbdwyklumkhxngsarxinthriypraephththimilksnadngni mimwlomelkulkhxnkhangsung okhrngsrangomelkulmiruprangthiimaennxn aesdngsmbtiepnsarkhxllxyd khngthntxkaryxyslayodyculinthriydin sarhiwmiklalaynaidnxymak aetsamarthlalayidinsarlalaythiepnkrdaeladanginbangswnkhxngsarhiwmik sarhiwmiksamarthaebngxxkidepnsamswnihy khux krdhiwmik humic acid swnthilalayidindang aelwtktakxnepnkrdhiwmikemuxprbsarlalayihepnkrd krdfulwik fulvic acid swnthilalayidindang aetimtktakxnemuxprbsarlalayihepnkrd hiwmin humin swnthiimlalayindangxngkhprakxbthangekhmiaelahmufngkchnnlinsarhiwmikswnihyprakxbdwykrdhiwmik rwmkbhiwmin aelakrdfulwikmithatukharbxnaelaxxksiecnepnxngkhprakxbpraman 90 odynahnk xik 10 epnihodrecn inotrecn slefxr aelathatuxun sungodythwipcaphbkharbxnmakkwaxxksiecn emuximrwmslefxr samarthekhiynsutrexmphirikhl empirical formula khxngkrdhiwmikaelafulwikekhiynidepn C10H12O5N aela C12H12O9N tamladb odyxtraswnkhxng C N xyuinchwng 10 12 1lksnathisakhyxngkhprakxbaelaokhrngsrangthangekhmikhxngsarhiwmikmilksnathisakhy khux hmufngkchn functional group phbwamihmu O aela OH epnhmufngkchnnlhlk twxyangechn hmukharbxksilik carboxylic COOH group aelahmufinilhruxfinxlik phenyl or phenolic C6H5OH group sungmimakthisudaelasakhy hmufngkchnnlthimakrxnglngma idaek hmuaexlkxhxlik alcoholic OH xinxlik enolic CH C OH aelakharbxnil carbonyl C O mkphbinrupkhxngkhwionn quinone aelakhiotn ketone okhrngsrangomelkulkhxngsarhiwmiksarhiwmikmiokhrngsrangomelkulthisbsxnmak odymiokhrngsrangthiimepnphluk aelaimmirupaebbthiaennxn karekidsarhiwmikekidcakkrabwnthangchiwekhmithisbsxnmakaelamihlaykhntxnrwmthunghlaywithithang pathway sungekidcakkickrrmkhxngculinthriydin odyeriykkrabwnkarniwa hiwmifiekhchn humification nxkcaknixngkhprakxbaelaokhrngsrangkhxngsarhiwmikyngepliynaeplngidtamaehlngthimaaelaxngkhprakxbedimkhxngxinthriysar sphaphaewdlxm culinthriydin rwmthungxayuaelakhntxnkaryxyslaysarechingsxnrahwangolhahnk hiwmshiwmsthiepnthngsarhiwmikaelaimidepnsarhiwmik camihmufngkchnnlthiwxngiwtxptikiriya sungxyuxyangimxisraemuxxyuindinthiepndinaerthatu mineral soil odycathaptikiriyainrupkhxngsarechingsxnkbaerthatuaelasarprakxbtangindin twxyangechn karthaptikiriyakhieltkbolhaaekhthixxxn kardudsbkhxnghiwmsbnphiwxnuphakhkhxngaerdinehniywaelasarkacdstruphuchtang ptikiriyaechingsxnaelakarekidkhieltrahwanghiwmskbolhatangindin mibthbathaelamixiththiphltxkarslaytwphuphngkhxngdin rwmthngmixiththiphltxsmbtithangekhmiaelakhwamxudmsmburn dngni khwamepnpraoychnkhxngfxsfxrs P casungkhin enuxngcakkarthaptikiriyaechingsxnrahwanghiwmskbolhaaekhthixxxn Al3 aela Fe3 indinthiepnkrd aelakb Ca2 aela Mg2 indinthiepndang thaihoxkasthiaekhthixxxnindincathaptikiriyatktakxnkb P sarlalayidnxy ekidkarpldplxythatuxaharthiepnswnhnungkhxngokhrngsrangsiliekt inrahwangkarslaytwphuphngkhxngaertnkaenid epnkarephimpraoychnkhxngculthatu trace elements indinchnbn enuxngcakkardudichculthatucakdinchnlangodyrakphuch emuxrakphuchekidkaryxyslayculthatuaelwkcasngphlpraoychntxphuchiddikhuncakptikiriyakhielt olhacathahnathiepntwklangechuxmrahwanghiwmsaelaxnuphakhdinehniyw cakkarekidsarechingsxnrahwanghiwmskbdin sungmixiththiphltxkarekidaelaesthiyrphaphkhxngemddin thahnathiepntwkhwbkhumhruxtxtankhwamekhmkhnthisungkhunhruxsungekinipkhxngolhaaekhthixxxnbangchnid echn Al3 Cd2 aela Pb2 sungxacepnxntraytxphuchid mibthbathtxekhluxnyaykhxngolhabangchnid echn Al3 aela Fe3 lngsuchnlangkhxngdinxangxingdr iphbuly wiwthnwngswna khnaekstrsastr mhawithyalyechiyngihm 2546 ekhmidin SOIL CHEMISTRY hna 98 99 dr iphbuly wiwthnwngswna khnaekstrsastr mhawithyalyechiyngihm 2546 ekhmidin SOIL CHEMISTRY hna 100 dr iphbuly wiwthnwngswna khnaekstrsastr mhawithyalyechiyngihm 2546 ekhmidin SOIL CHEMISTRY hna 101 102 dr iphbuly wiwthnwngswna khnaekstrsastr mhawithyalyechiyngihm 2546 ekhmidin SOIL CHEMISTRY hna 104