อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท เป็นอุทยานประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของประเทศไทยภายใต้การดูแลของกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาภูพาน ครอบคลุมพื้นที่ 3,430 ไร่ ในเขตป่าสงวนแห่งชาติที่มีชื่อว่า “” บ้านติ้ว ตำบลเมืองพาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดระยะทางประมาณ 67 กม. อเปิดบริการเวลา 08.00-16.30 น.
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทแห่งนี้ ปรากฏร่องรอยของกิจกรรมของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อราว 2,000 – 3,000 ปีมาแล้ว มีการพบภาพเขียนสีมากกว่า 30 แห่ง ยังพบการดัดแปลงโขดหินและเพิงผาธรรมชาติให้กลายเป็นศาสนสถานของผู้คนใน วัฒนธรรมทวารวดี ลพบุรี สืบต่อกันมาจนถึงวัฒนธรรมล้านช้าง ตามลำดับ ซึ่งร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดีเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางสังคมของ มนุษย์ได้เป็นอย่างดี ด้วยเหตุนี้ทางกรมศิลปากรจึงได้ดำเนินการขอใช้พื้นที่ ป่าสงวนจำนวน 3,430 ไร่ จากกรมป่าไม้ โดยได้ประกาศขึ้นทะเบียนเขตโบราณสถานไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 98 ตอนที่ 63 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พุทธศักราช 2524 จากนั้นจึงได้พัฒนาแหล่งจนกลายเป็นอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทในที่สุด และในวันที่ 1 เมษายน 2547 ได้ขึ้นเป็นสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้นเพื่อพิจารณาขึ้นเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม
การรอขึ้นเป็นมรดกโลก
- วันที่ 1 เมษายน 2547 ได้ขึ้นเป็นสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้นเพื่อพิจารณาขึ้นเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม
- ทั้งนี้ พุทธศักราช 2559 สภานานาชาติว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี (ไอโคมอส) ได้แจ้งให้ทางการไทยทราบเกี่ยวกับการเสนออุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกของทางการไทย โดยมีข้อเสนอแนะให้ดำเนินการศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมของเสมาหินกับพุทธศาสนา เพื่อนำไปสู่ศักยภาพที่โดดเด่นของอุทยานฯ รวมทั้งหากเป็นไปได้ เสนอให้พิจารณาเกณฑ์และขอบเขตการขึ้นทะเบียนอุทยานฯ ที่ทางการไทยเสนอ
สภาพภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศของภูพระบาทมีลักษณะเป็นโขดหินและเพิงผาที่กระจัดกระจายอยู่เป็นจำนวนมาก เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทราย ซึ่งมีเนื้อหินที่แข็งแกร่งแตกต่างกัน ระหว่างชั้นของหินที่เป็นทรายแท้ ๆ ซึ่งมีความแข็งแกร่งมาก กับชั้นที่เป็นทรายปนปูนซึ่งมีความแข็งแกร่งน้อยกว่า นาน ๆ ไปจึงเกิดเป็นโขดหิน และเพิงผารูปร่างแปลก ๆ ดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประมาณ 2,000 - 3,000 ปีมาแล้ว วิถีชีวิตของผู้คน ในสมัยนั้นดำรงชีวิตด้วยการเก็บของป่า และล่าสัตว์เป็นอาหาร เมื่อขึ้นมาพักค้างแรม อยู่บนโขดหินและเพิงผาธรรมชาติเหล่านี้ก็ได้ใช้เวลาว่างขีดเขียนภาพต่าง ๆ เช่น ภาพคน ภาพสัตว์ ภาพฝ่ามือ ตลอดจนภาพลายเส้นสัญลักษณ์ต่าง ๆ ไว้บนผนังเพิงผาที่ใช้พักอาศัย ซึ่งปรากฏอยู่ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทเป็นจำนวนมาก เช่น ที่ถ้ำวัว – ถ้ำคน และภาพเขียนสีโนนสาวเอ้ ซึ่งภาพเขียนสีบนผนังหินเหล่านี้ยังคงเป็นปริศนาให้ผู้คนในชั้นหลังค้นหาความหมายที่แท้จริงต่อไป
สถานที่สำคัญ
สถานที่สำคัญในอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท ได้แก่
อ้างอิง
- ICOMOS (2016a), Evaluations of Nominations of Cultural and Mixed Properties to the World Heritage List (WHC-16/40.COM/INF.8B1), http://whc.unesco.org/document/141702
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xuthyanprawtisastrphuphrabath epnxuthyanprawtisastraehnghnungkhxngpraethsithyphayitkarduaelkhxngkrmsilpakr krathrwngwthnthrrm tngxyubriewnechingekhaphuphan khrxbkhlumphunthi 3 430 ir inekhtpasngwnaehngchatithimichuxwa bantiw tablemuxngphan xaephxbanphux cnghwdxudrthani xyuhangcaktwcnghwdrayathangpraman 67 km xepidbrikarewla 08 00 16 30 n hxnangxusa phayinxuthyanprawtisastrphuphrabath xuthyanprawtisastrphuphrabathaehngni praktrxngrxykhxngkickrrmkhxngmnusymatngaetsmykxnprawtisastr emuxraw 2 000 3 000 pimaaelw mikarphbphaphekhiynsimakkwa 30 aehng yngphbkarddaeplngokhdhinaelaephingphathrrmchatiihklayepnsasnsthankhxngphukhnin wthnthrrmthwarwdi lphburi subtxknmacnthungwthnthrrmlanchang tamladb sungrxngrxyhlkthanthangobrankhdiehlaniaesdngihehnthungphthnakarthangsngkhmkhxng mnusyidepnxyangdi dwyehtunithangkrmsilpakrcungiddaeninkarkhxichphunthi pasngwncanwn 3 430 ir cakkrmpaim odyidprakaskhunthaebiynekhtobransthaniwinrachkiccanuebksa elmthi 98 txnthi 63 emuxwnthi 28 emsayn phuththskrach 2524 caknncungidphthnaaehlngcnklayepnxuthyanprawtisastrphuphrabathinthisud aelainwnthi 1 emsayn 2547 idkhunepnsthanthithiidrbkhunbychiraychuxebuxngtnephuxphicarnakhunepnmrdkolkthangwthnthrrmkarrxkhunepnmrdkolkwnthi 1 emsayn 2547 idkhunepnsthanthithiidrbkhunbychiraychuxebuxngtnephuxphicarnakhunepnmrdkolkthangwthnthrrmthngni phuththskrach 2559 sphananachatiwadwykarduaelxnusrnsthanaelaaehlngobrankhdi ixokhmxs idaecngihthangkarithythrabekiywkbkaresnxxuthyanprawtisastrphuphrabathkhunthaebiynepnaehlngmrdkolkkhxngthangkarithy odymikhxesnxaenaihdaeninkarsuksainechinglukekiywkbkhwamsmphnthkhxngwthnthrrmkhxngesmahinkbphuththsasna ephuxnaipsuskyphaphthioddednkhxngxuthyan rwmthnghakepnipid esnxihphicarnaeknthaelakhxbekhtkarkhunthaebiynxuthyan thithangkarithyesnxsphaphphumipraethssphaphphumipraethskhxngphuphrabathmilksnaepnokhdhinaelaephingphathikracdkracayxyuepncanwnmak ekidcakkarphuphngslaytwkhxnghinthray sungmienuxhinthiaekhngaekrngaetktangkn rahwangchnkhxnghinthiepnthrayaeth sungmikhwamaekhngaekrngmak kbchnthiepnthraypnpunsungmikhwamaekhngaekrngnxykwa nan ipcungekidepnokhdhin aelaephingpharuprangaeplk dngthiehnxyuinpccubn insmykxnprawtisastr praman 2 000 3 000 pimaaelw withichiwitkhxngphukhn insmynndarngchiwitdwykarekbkhxngpa aelalastwepnxahar emuxkhunmaphkkhangaerm xyubnokhdhinaelaephingphathrrmchatiehlanikidichewlawangkhidekhiynphaphtang echn phaphkhn phaphstw phaphfamux tlxdcnphaphlayesnsylksntang iwbnphnngephingphathiichphkxasy sungpraktxyuinbriewnxuthyanprawtisastrphuphrabathepncanwnmak echn thithaww thakhn aelaphaphekhiynsionnsawex sungphaphekhiynsibnphnnghinehlaniyngkhngepnprisnaihphukhninchnhlngkhnhakhwamhmaythiaethcringtxipsthanthisakhysthanthisakhyinxuthyanprawtisastrphuphrabath idaek hxnangxusa thavisixangxingICOMOS 2016a Evaluations of Nominations of Cultural and Mixed Properties to the World Heritage List WHC 16 40 COM INF 8B1 http whc unesco org document 141702