อุทกภาค (จากภาษาบาลี "อุทก" แปลว่า น้ำ, "ภาค" แปลว่า ส่วน รวมกันหมายถึงส่วนที่เป็นน้ำ) ในวิชาภูมิศาสตร์กายภาพหมายถึง แหล่งที่น้ำจำนวนมากมาอยู่รวมกันบนหรือใต้ผิวโลก
อีกอร์ ชีโคลมานอฟ ผู้ถูกคัดเลือกโดยองค์การสหประชาชาติให้ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ ได้ประเมินว่าบนโลกมีน้ำทั้งสิ้น 1,386 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร ซึ่งรวมถึงน้ำในรูปของเหลว ของแข็ง น้ำบาดาล ธารน้ำแข็ง มหาสมุทร ทะเลสาบ และแม่น้ำ โดยร้อยละ 97.5 ของน้ำทั้งหมดบนโลกเป็นน้ำเค็ม น้ำจืดมีอยู่เพียงร้อยละ 2.5 เท่านั้น และร้อยละ 68.7 ของน้ำจืดก็อยู่ในรูปของน้ำแข็งและหิมะปกคลุมบริเวณอาร์กติก แอนตาร์กติกา และในเขตภูเขา ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 29.9 อยู่ในรูปของน้ำบาดาล ร้อยละ 0.26 ของน้ำจืดเท่านั้นที่สามารถใช้เป็นสาธารณูปโภคได้ ซึ่งสามารถพบน้ำเหล่านี้ใต้ในทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ และระบบแม่น้ำต่าง ๆ มวลทั้งหมดของน้ำบนโลกอยู่ที่ประมาณ 1.4 × 1018ตัน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 0.023 ของมวลโลกทั้งหมด ประมาณ 20 × 1012ตันของน้ำทั้งหมดนั้นอยู่ในบรรยากาศของโลก (โดยน้ำ 1 ลูกบาศก์เมตรมีน้ำหนักเท่ากับ 1 ตัน) ประมาณร้อยละ 75 ของผิวโลกทั้งหมดหรือประมาณ 361 ล้านตารางกิโลเมตรนั้นเป็นมหาสมุทร ค่าความเค็มเฉลี่ยของมหาสมุทรในโลกนั้นอยู่ที่ประมาณ 35 ของเกลือหนึ่งกรัมต่อน้ำทะเลหนึ่งกิโลกรัม (ร้อยละ 3.5)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2554
- (Report). UNESCO. 1998. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-27. สืบค้นเมื่อ 13 June 2013.
- Kennish, Michael J. (2001). Practical handbook of marine science. Marine science series (3rd ed.). CRC Press. p. 35. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xuthkphakh cakphasabali xuthk aeplwa na phakh aeplwa swn rwmknhmaythungswnthiepnna inwichaphumisastrkayphaphhmaythung aehlngthinacanwnmakmaxyurwmknbnhruxitphiwolkWorld water distribution xikxr chiokhlmanxf phuthukkhdeluxkodyxngkhkarshprachachatiihsuksarwbrwmkhxmulekiywkbthrphyakrna idpraeminwabnolkminathngsin 1 386 lanlukbaskkiolemtr sungrwmthungnainrupkhxngehlw khxngaekhng nabadal tharnaaekhng mhasmuthr thaelsab aelaaemna odyrxyla 97 5 khxngnathnghmdbnolkepnnaekhm nacudmixyuephiyngrxyla 2 5 ethann aelarxyla 68 7 khxngnacudkxyuinrupkhxngnaaekhngaelahimapkkhlumbriewnxarktik aexntarktika aelainekhtphuekha swnthiehluxxikrxyla 29 9 xyuinrupkhxngnabadal rxyla 0 26 khxngnacudethannthisamarthichepnsatharnupophkhid sungsamarthphbnaehlaniitinthaelsab xangekbna aelarabbaemnatang mwlthnghmdkhxngnabnolkxyuthipraman 1 4 1018tn sungkhidepnrxyla 0 023 khxngmwlolkthnghmd praman 20 1012tnkhxngnathnghmdnnxyuinbrryakaskhxngolk odyna 1 lukbaskemtrminahnkethakb 1 tn pramanrxyla 75 khxngphiwolkthnghmdhruxpraman 361 lantarangkiolemtrnnepnmhasmuthr khakhwamekhmechliykhxngmhasmuthrinolknnxyuthipraman 35 khxngekluxhnungkrmtxnathaelhnungkiolkrm rxyla 3 5 duephimthaelsab tharnaaekhng na mhasmuthr wtckrna himaphakhxangxingphcnanukrmchbbrachbnthitsthan ph s 2554 Report UNESCO 1998 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 09 27 subkhnemux 13 June 2013 Kennish Michael J 2001 Practical handbook of marine science Marine science series 3rd ed CRC Press p 35 ISBN 0 8493 2391 6