บทความนี้ไม่มีจาก |
ไทยหลังอาน เป็นสุนัขพันธุ์พื้นเมืองเก่าแก่ของประเทศไทย มีขนาดกลาง ขนสั้น หูตั้งเป็นรูปสามเหลี่ยม ปลายจมูกสีดำและปากรูปลิ่ม หางเรียวยาวเป็นรูปดาบ ลักษณะเด่นคือมีอานซึ่งเกิดจากขนขึ้นในแนวย้อนกับแนวขนปกติอยู่บนหลัง ถิ่นกำเนิดของสุนัขพันธุ์ไทยหลังอานอยู่ในภาคตะวันออก แถบจังหวัดจันทบุรีและตราด คนพื้นเมืองใช้สุนัขพันธุ์นี้ล่าสัตว์และติดตามเพื่อคอยระวังภัย ระบบการคมนาคมที่ยังไม่ดีในสมัยก่อนทำให้ไทยหลังอานสามารถคงลักษณะดั้งเดิมอยู่ได้นาน
สุนัขไทยหลังอานสีดำ | |
ถิ่นกำเนิดพันธุ์ | |
---|---|
ถิ่นกำเนิด | จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด ประเทศไทย |
มาตรฐานพันธุ์ | |
น้ำหนัก | ตัวผู้ 23-34 กิโลกรัม, ตัวเมีย 16-25 กิโลกรัม |
ส่วนสูง | ตัวผู้ 56-61 เซนติเมตร, ตัวเมีย 51-56 เซนติเมตร |
ลักษณะขน | สั้นเรียบ |
สีขน | สีเดียวทั้งตัว สีแดง, สีดำ, สีสวาด, สีกลีบบัว |
จัดอยู่ในกลุ่ม | กลุ่มสุนัขล่าเนื้อ (Hound) |
มาตรฐานสายพันธุ์และสีของไทยหลังอาน ปัจจุบันได้รับการยอมรับในวงการประกวดสุนัขอยู่ 4 สี คือ
นอกจากนี้ยังมีสีหรือลวดลายอื่น ๆ ด้วย แต่ยังไม่ได้รับการยอมรับในวงการประกวดสุนัข เช่น ลายเสือ เป็นต้น
- ไทยหลังอาน สีแดง (น้ำตาล-แดง)
- ไทยหลังอาน สีดำ
- ไทยหลังอาน สีสวาด (เทา)
- ไทยหลังอาน สีกลีบบัว (เหลืองอ่อนอมน้ำตาลอ่อน)
ถิ่นกำเนิดสุนัขไทยหลังอาน
มีการวิเคราะห์และศึกษาจากผู้รู้คิดว่าสุนัขไทยหลังอานน่าจะมาจากสุนัขในกลุ่ม Wolf และ Jackal สุนัขไทยหลังอานเป็นสุนัขพันธุ์พื้นเมืองที่อยู่ในย่านเอเชียตะวันออกในเขตร้อน ซี่ง สุนัขพื้นเมืองในเขตนี้จะดูมีลักษณะคล้าย ๆ กัน เช่น สุนัขในประเทศลาว เวียดนาม กัมพูชา พม่า มาเลเซีย บางแถบของประเทศจีน สุนัขในแถบนี้จะมีกะโหลกศีรษะเป็นสามเหลี่ยมรูปลิ่ม มีกรามใหญ่ที่แข็งแรง มีหูทั้งสองข้างตั้งชัน มีเส้นหลังตรง มีหางตั้งยกขึ้นเหมือนดาบหรือเคียว
แต่สุนัขไทยหลังอานจะมีลักษณะพิเศษเฉพาะคือมีขนบริเวณหลังขึ้นในแนวย้อนกลับ ที่สุนัขพันธุ์อื่น ๆ ในกลุ่มเดียวกันของประเทศต่าง ๆ ไม่มี และนี่จึงเป็นที่มาของสุนัขไทยหลังอาน
จากงานวิจัยของร.ศ. สุรวิช วรรณไกรโรจน์ อาจารย์ประจำคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้พบว่ามีภาพเขียนผนังถ้ำในยุคหินใหม่อายุราว 2000 ปี ที่จังหวัดนครราชสีมาและอุทัยธานี เป็นรูปสุนัขหูตั้งหางดาบ สีพื้นยืนคู่กับพรานธนูและลายเสือ แต่ภาพไม่มีรายละเอียดพอให้เห็นได้ว่ามีอานหรือไม่ นอกจากนี้ผู้วิจัยยังไม่พบวามีการบันทึกเรื่องราวของสุนัขไทยหลังอานก่อนรัชสมัยรัชกาลที่ 9 เพราะสมุดข่อยยุคต้นรัตนโกสินทร์ที่กล่าวถึงสุนัขมงคลก็ไม่ได้กล่าวถึงสุนัขหลังอานหรือสุนัขที่มีขนย้อนกลับบนแผ่นหลังแต่ประการใด ทั้งนี้สมุดข่อยโบราณซึ่งถูกอ้างว่ามีอายุ 300 กว่าปีมาซึ่งมีใจความว่า "สุนัขตัวมันใหญ่ มันสูงเกินสองศอก มีสีต่าง ๆ ไม่ซ้ำกัน มันมีขนที่หลังกลับ มันร้ายมันภักดีต่อผู้เลี้ยงมัน มันหากินขุดรูหาสัตว์เล็ก ๆ มันชอบตามผู้เลี้ยงไปป่าหากิน มันได้สัตว์ มันจะนำมาให้เจ้าของ ถึงต้นยางมีน้ามัน มันมีกำลังกล้าหาญไม่กลัวใคร ธาตุสีทั้งหลาย รัชตะชาด มันมีโคนหาง มันมีหางเป็นดาบชาวป่า ถ้าผู้ใดมีไว้ในครอบครองจะได้รับความภักดีจากมัน"นั้น เมื่อได้ถูกนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญภาษาโบราณของหอสมุดแห่งชาติอ่านในปี พ.ศ. 2539 แล้วไม่พบข้อความที่กล่าวอ้างแต่ประการใด ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษางานวิจัยของนักประวัติศาสตร์ชาวซิมบับเวแล้วใช้ข้อมูลทางพันธุศาสตร์ตั้งสมมติฐานว่าสุนัขทีมีลักษณะหลังอานซึ่งเป็นบรรพบุรุษของสุนัขพันธุ์ไทยหลังอานน่าจะถือกำเนิดขึ้นจากการกลายพันธุ์จากสุนัขพันธุ์ปกติซึ่งไม่มีอานเมื่อไม่น้อยกว่า 1500 ปีมาแล้วในอาณาจักรฟูนัน แล้วสุนัขพันธุ์ดังกล่าวจึงได้ถูกเผยแพร่ไปยังอินเดียและโรดีเชียในเวลาต่อมา จนเป็นต้นกำเนิดของสุนัขหลังอานพันธุ์ Ari ของชนเผ่า Hottentot (คำว่า "Ari" นั้นมาจากภาษาอินเดียโบราณ แปลว่า"สุนัข") และสุนัขหลังอานพันธุ์ผสม
นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้สรุปว่าการมีอานนั้นมียีนควบคุมแบบข่มข้ามคู่ (epistasis) เนื่องจากสุนัขที่ไม่มีอานมาในสายเลือดเลย 2 ตัว เมื่อผสมพันธุ์กันแล้วอาจได้ลูกที่มีอานได้ ขณะที่ขนาดของอานขึ้นกับจำนวนยีนสะสม (additive genes) ซึ่งหมายความว่าสุนัขที่มีอานขนาดใหญ่ มียีนควบคุมการเกิดอานอยู่มากกว่าสุนัขที่มีอานเข็มหรืออานธนู นอกจากนี้รูปร่างของอานยังมียีนปรับแต่ง (modifying genes) ที่ส่งผลให้อานมีลักษณะสมมาตรหรือไม่อีกด้วย ยิ่งไปกว่านั้นจำนวนขวัญรอบอานก็อยู่ภายใต้การควบคุมของยีนสะสมเช่นกัน
อย่างไรก็ตามสุนัขไทยหลังอานถูกจัดให้เป็น"สุนัขประจำชาติไทย" โดยเป็นสุนัขที่สามารถช่วยปกป้องเตือนภัย ดูแลทรัพย์สิน และช่วยยังชีพในการออกป่าล่าสัตว์ ของคนไทยมาแต่โบราณกาล เราจะสามารถพิสูจน์ได้ว่า สุนัขไทยหลังอานเคยอยู่คู่กับคนไทยเรามานานมากแล้ว โดย ถ้าเราไปตามที่ชุมชนดั้งเดิมที่ยังมีการรักษาวัฒนธรรมไทยมาแต่ปู่ย่า ตายาย หรือ ตามพื้นที่นอกปริมณฑล เมื่อชาวบ้านเห็นสุนัขไทยหลังอาน พวกเขาจะเรียกชื่อกันอีกชื่อหนึ่งว่า "หมาพราน"
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ithyhlngxan epnsunkhphnthuphunemuxngekaaekkhxngpraethsithy mikhnadklang khnsn hutngepnrupsamehliym playcmuksidaaelapakruplim hangeriywyawepnrupdab lksnaednkhuxmixansungekidcakkhnkhuninaenwyxnkbaenwkhnpktixyubnhlng thinkaenidkhxngsunkhphnthuithyhlngxanxyuinphakhtawnxxk aethbcnghwdcnthburiaelatrad khnphunemuxngichsunkhphnthunilastwaelatidtamephuxkhxyrawngphy rabbkarkhmnakhmthiyngimdiinsmykxnthaihithyhlngxansamarthkhnglksnadngedimxyuidnanithyhlngxansunkhithyhlngxansidathinkaenidphnthuthinkaenidcnghwdcnthburi cnghwdtrad praethsithymatrthanphnthunahnktwphu 23 34 kiolkrm twemiy 16 25 kiolkrmswnsungtwphu 56 61 esntiemtr twemiy 51 56 esntiemtrlksnakhnsneriybsikhnsiediywthngtw siaedng sida siswad siklibbwcdxyuinklumklumsunkhlaenux Hound phnthusunkhdk matrthansayphnthuaelasikhxngithyhlngxan pccubnidrbkaryxmrbinwngkarprakwdsunkhxyu 4 si khux sinatalaedng hrux siaedng sidaplxd siswad nxkcakniyngmisihruxlwdlayxun dwy aetyngimidrbkaryxmrbinwngkarprakwdsunkh echn layesux epntn ithyhlngxan siaedng natal aedng ithyhlngxan sida ithyhlngxan siswad etha ithyhlngxan siklibbw ehluxngxxnxmnatalxxn thinkaenidsunkhithyhlngxanklumluksunkhithyhlngxanxaniwoxlinxanma mikarwiekhraahaelasuksacakphurukhidwasunkhithyhlngxannacamacaksunkhinklum Wolf aela Jackal sunkhithyhlngxanepnsunkhphnthuphunemuxngthixyuinyanexechiytawnxxkinekhtrxn sing sunkhphunemuxnginekhtnicadumilksnakhlay kn echn sunkhinpraethslaw ewiydnam kmphucha phma maelesiy bangaethbkhxngpraethscin sunkhinaethbnicamikaohlksirsaepnsamehliymruplim mikramihythiaekhngaerng mihuthngsxngkhangtngchn miesnhlngtrng mihangtngykkhunehmuxndabhruxekhiyw aetsunkhithyhlngxancamilksnaphiessechphaakhuxmikhnbriewnhlngkhuninaenwyxnklb thisunkhphnthuxun inklumediywknkhxngpraethstang immi aelanicungepnthimakhxngsunkhithyhlngxan caknganwicykhxngr s surwich wrrnikrorcn xacarypracakhnaekstr mhawithyalyekstrsastridphbwamiphaphekhiynphnngthainyukhhinihmxayuraw 2000 pi thicnghwdnkhrrachsimaaelaxuthythani epnrupsunkhhutnghangdab siphunyunkhukbphranthnuaelalayesux aetphaphimmiraylaexiydphxihehnidwamixanhruxim nxkcakniphuwicyyngimphbwamikarbnthukeruxngrawkhxngsunkhithyhlngxankxnrchsmyrchkalthi 9 ephraasmudkhxyyukhtnrtnoksinthrthiklawthungsunkhmngkhlkimidklawthungsunkhhlngxanhruxsunkhthimikhnyxnklbbnaephnhlngaetprakarid thngnismudkhxyobransungthukxangwamixayu 300 kwapimasungmiickhwamwa sunkhtwmnihy mnsungekinsxngsxk misitang imsakn mnmikhnthihlngklb mnraymnphkditxphueliyngmn mnhakinkhudruhastwelk mnchxbtamphueliyngippahakin mnidstw mncanamaihecakhxng thungtnyangminamn mnmikalngklahayimklwikhr thatusithnghlay rchtachad mnmiokhnhang mnmihangepndabchawpa thaphuidmiiwinkhrxbkhrxngcaidrbkhwamphkdicakmn nn emuxidthuknaipihphuechiywchayphasaobrankhxnghxsmudaehngchatixaninpi ph s 2539 aelwimphbkhxkhwamthiklawxangaetprakarid thngniphuwicyidsuksanganwicykhxngnkprawtisastrchawsimbbewaelwichkhxmulthangphnthusastrtngsmmtithanwasunkhthimilksnahlngxansungepnbrrphburuskhxngsunkhphnthuithyhlngxannacathuxkaenidkhuncakkarklayphnthucaksunkhphnthupktisungimmixanemuximnxykwa 1500 pimaaelwinxanackrfunn aelwsunkhphnthudngklawcungidthukephyaephripyngxinediyaelaordiechiyinewlatxma cnepntnkaenidkhxngsunkhhlngxanphnthu Ari khxngchnepha Hottentot khawa Ari nnmacakphasaxinediyobran aeplwa sunkh aelasunkhhlngxanphnthuphsm nxkcakniphuwicyyngidsrupwakarmixannnmiyinkhwbkhumaebbkhmkhamkhu epistasis enuxngcaksunkhthiimmixanmainsayeluxdely 2 tw emuxphsmphnthuknaelwxacidlukthimixanid khnathikhnadkhxngxankhunkbcanwnyinsasm additive genes sunghmaykhwamwasunkhthimixankhnadihy miyinkhwbkhumkarekidxanxyumakkwasunkhthimixanekhmhruxxanthnu nxkcakniruprangkhxngxanyngmiyinprbaetng modifying genes thisngphlihxanmilksnasmmatrhruximxikdwy yingipkwanncanwnkhwyrxbxankxyuphayitkarkhwbkhumkhxngyinsasmechnkn xyangirktamsunkhithyhlngxanthukcdihepn sunkhpracachatiithy odyepnsunkhthisamarthchwypkpxngetuxnphy duaelthrphysin aelachwyyngchiphinkarxxkpalastw khxngkhnithymaaetobrankal eracasamarthphisucnidwa sunkhithyhlngxanekhyxyukhukbkhnithyeramananmakaelw ody thaeraiptamthichumchndngedimthiyngmikarrksawthnthrrmithymaaetpuya tayay hrux tamphunthinxkprimnthl emuxchawbanehnsunkhithyhlngxan phwkekhacaeriykchuxknxikchuxhnungwa hmaphran xangxingaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ithyhlngxan