สมมติฐานเนบิวลา (อังกฤษ: Nebular hypothesis) เป็นแบบจำลองที่ยอมรับกันมากที่สุดในสาขาของทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล ซึ่งอธิบายถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ ทฤษฎีนี้ยืนยันว่าระบบสุริยะก่อตัวขึ้นจากวัสดุเนบิวลา ทฤษฎีนี้สร้างขึ้นโดยอิมมานูเอล คานท์ และตีพิมพ์ลงในหนังสือของเขา แต่เดิมทฤษฎีนี้ถูกใช้อธิบายแค่ระบบสุริยะของเราเท่านั้น แต่กระบวนการการก่อตัวของระบบดาวเคราะห์นี้ใช้ได้ทั่วทั้งเอกภพ แบบจำลองที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดของสมมติฐานเนบิวลา มีชื่อว่า แบบจำลองเนบิวลาดวงอาทิตย์ สมมติฐานเนบิวลานี้อธิบายถึงสมบัติของระบบสุริยะจำนวนมาก รวมทั้ง การที่ดาวเคราะห์มีวงโคจรเป็นรูปร่างเกือบกลมและอยู่บนระนาบเดียวกัน และยังอธิบายถึงการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ที่ไปทางเดียวกันกับการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์ เนื้อหาบางส่วนของสมมติฐานจะถูกกล่าวถึงมากในทฤษฎีที่อธิบายถึงการก่อตัวของดาวเคราะห์ในปัจจุบัน แต่ส่วนมาก เนื้อหาเหล่านี้มักจะถูกแทนที่
อ้างอิง
- Montmerle, Thierry; Augereau, Jean-Charles; Chaussidon, Marc; และคณะ (2006). "Solar System Formation and Early Evolution: the First 100 Million Years". Earth, Moon, and Planets. 98 (1–4): 39–95. Bibcode:2006EM&P...98...39M. doi:10.1007/s11038-006-9087-5.
- Woolfson, M.M. (1993). "Solar System – its origin and evolution". Q. J. R. Astron. Soc. 34: 1–20. Bibcode:1993QJRAS..34....1W. For details of Kant's position, see Stephen Palmquist, "Kant's Cosmogony Re-Evaluated", Studies in History and Philosophy of Science 18:3 (September 1987), pp.255-269.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smmtithanenbiwla xngkvs Nebular hypothesis epnaebbcalxngthiyxmrbknmakthisudinsakhakhxngthvsdikarkaenidckrwal sungxthibaythungkarkaenidaelawiwthnakarkhxngrabbsuriya thvsdiniyunynwarabbsuriyakxtwkhuncakwsduenbiwla thvsdinisrangkhunodyximmanuexl khanth aelatiphimphlnginhnngsuxkhxngekha aetedimthvsdinithukichxthibayaekhrabbsuriyakhxngeraethann aetkrabwnkarkarkxtwkhxngrabbdawekhraahniichidthwthngexkphph aebbcalxngthiidrbkaryxmrbmakthisudkhxngsmmtithanenbiwla michuxwa aebbcalxngenbiwladwngxathity smmtithanenbiwlanixthibaythungsmbtikhxngrabbsuriyacanwnmak rwmthng karthidawekhraahmiwngokhcrepnruprangekuxbklmaelaxyubnranabediywkn aelayngxthibaythungkarekhluxnthikhxngdawekhraahthiipthangediywknkbkarhmunrxbtwexngkhxngdwngxathity enuxhabangswnkhxngsmmtithancathukklawthungmakinthvsdithixthibaythungkarkxtwkhxngdawekhraahinpccubn aetswnmak enuxhaehlanimkcathukaethnthixangxingMontmerle Thierry Augereau Jean Charles Chaussidon Marc aelakhna 2006 Solar System Formation and Early Evolution the First 100 Million Years Earth Moon and Planets 98 1 4 39 95 Bibcode 2006EM amp P 98 39M doi 10 1007 s11038 006 9087 5 Woolfson M M 1993 Solar System its origin and evolution Q J R Astron Soc 34 1 20 Bibcode 1993QJRAS 34 1W For details of Kant s position see Stephen Palmquist Kant s Cosmogony Re Evaluated Studies in History and Philosophy of Science 18 3 September 1987 pp 255 269 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk