บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
ศิลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนเริ่มแรก คือศิลปะที่สร้างโดยผู้นับถือคริสต์ศาสนาหรือโดยผู้ได้รับการอุปถัมภ์จากผู้นับถือคริสต์ศาสนาที่เริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 100 จนถึงราวปี ค.ศ. 500 ก่อนหน้าปี ค.ศ. 100 ไม่มีหลักฐานทางศิลปะที่หลงเหลือให้เห็นที่จะเรียกได้ว่าเป็นศิลปะหรือสถาปัตยกรรมของผู้นับถือคริสต์ศาสนาได้อย่างแท้จริง หลังจากปี ค.ศ. 500 ศิลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนก็เริ่มเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะของศิลปกรรมแบบไบแซนไทน์
ประวัติทั่วไป
ในดินแดนปาเลสไตน์ก่อน ค.ศ. 4 ปี จีซัส ไครสต์ ได้ถือกำเนิดในหมู่บ้านเบทลิเฮมของชาวยิว ใช้ชีวิตวัยหนุ่มส่วนใหญ่เป็นช่างไม้ในหมู่บ้านนาซาเรท พระองค์เกิดมาในท่ามกลางของความกดขี่ขูดรีดอย่างหนักของจักรพรรดิโรมันต่อชาวยิว ความเดือดร้อนเกิดขึ้นทุกหย่อมหญ้า ทำให้ชาวยิวต่างใฝ่ฝันที่จะได้หรือผู้มาโปรดโลก (Messiah) เพื่อขับไล่ชาวโรมันให้ออกจากดินแดน และสถาปนารัฐยิวที่เป็นของชาวยิวขึ้นมา
พระเยซูได้เริ่มต้นสั่งสอนให้มนุษย์มีความรัก ความกรุณาซึ่งกันและกันตั้งแต่ปี ค.ศ. 28 หลักธรรมคำสั่งสอนของพระองค์ได้แพร่หลายออกไป ก่อให้เกิดความสนใจต่อชาวยิวอย่างยิ่ง จนถึงกับทึกทักเอาว่าพระองค์ คือ เมซไซ-อะ ที่ทุกคนเฝ้ารอคอย แต่แล้วพระเยซูกลับสนใจแต่เรื่องของวิญญาณ มิใช่เรื่องทางวัตถุ จึงก่อให้เกิดความผิดหวังและกลายเป็นการต่อต้านและเป็นปฏิปักษ์การกระทำของพระองค์อย่างกว้างขวาง มีทั้งพวกคลั่งชาติ พวกเจ้าหนี้ที่คอยเอารัดเอาเปรียบ และพวกพระซึ่งเกรงว่าพระเยซู จะทำให้ฐานะและสิทธิของตนหมดสิ้นไป ทุกฝ่ายต่างพากันกล่าวหาว่าพระเยซูคือผู้ทำลายความสงบสุขและลบหลู่พระยะโฮวาอันศักดิ์สิทธิ์ของพวกตน จนกระทั่งพระเยซูถูกกล่าวหักหลังโดยบอกกับเจ้าหน้าที่มาจับตัวไปให้ศาลศาสนาซาเฮดรินของพวกยิวตัดสิน และถูกพิพากษาประหารชีวิตด้วยการตรึงกางเขนราวกับผู้ร้าย
การเสียสละชีวิตของพระเยซูมีผลสะท้อนออกไปอย่างกว้างขวางและล้ำลึก สาวกผู้มีศรัทธาปสาทะอย่างแรงกล้าได้นำคำสั่งสอนของพระองค์ออกเผยแพร่ออกไป โดยเฉพาะแหล่งชุมชนของชาวยิว ซึ่งอยู่กระจัดกระจายทั่วไปในเมืองต่าง ๆ แถบชายทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และที่อยู่ในกรุงโรม ต่อมาจึงค่อยเผยแพร่ออกไปสู่ชนชาติต่าง ๆ อย่างไม่จำกัดจนกลายเป็นศาสนาใหญ่และสำคัญที่สุดในโลกศาสนาหนึ่ง
อนึ่ง ในระหว่างที่จักรวรรดิโรมันเรืองอำนาจ ชาวโรมันมีความเป็นอยู่อย่างสุขสบาย แต่คนอื่นมิได้เป็นชาวโรมันกลับเต็มไปด้วยความทุกข์ยาก ทุกคนใฝ่ฝันที่จะมีเสรีภาพและความเสมอภาค พวกเขาพบว่าคริสต์ศาสนาได้สนองความต้องการของพวกตน ให้ความหวังในเรื่องเสรีภาพและความเสมอภาพในหมู่มนุษย์ ดังตัวอย่าง เช่น มีคำสอนในศาสนากล่าวว่าพระผู้เป็นเจ้าหรือพระบิดาที่เปี่ยมด้วยความรักความกรุณาได้สั่งพระบุตรหรือพระเยซูลงมาเพื่อไถ่บาปของมนุษย์ อนึ่ง ในเรื่องสิทธิการนับถือศาสนา แม้ว่าโรมันจะไม่มีนโยบายเป็นปฏิปักษ์ต่อความเชื่อความศรัทธาในศาสนาใดศาสนาหนึ่งโดยเฉพาะ ตราบใดที่ผู้นั้นยังร่วมถวายสักการบูชาองค์จักรพรรดิ์ให้เป็นประดุจหนึ่งเทพเจ้าชาวโรมัน จะไม่ขัดขวางการนับถือศาสนานั้น ๆ เลย คตินิยมนี้ชาวคริสเตียนยินยอมไม่ได้ เพราะขัดกับความเชื่อเรื่องของพระเจ้าของพวกตน นอกจากนี้ชาวโรมันเชื่อว่าหน้าที่สำคัญของมนุษย์ควรพึงปฏิบัติต่อรัฐ ส่วนชาวคริสเตียนมีความคิดเห็นว่า หน้าที่สำคัญของมนุษย์ คือ การปฏิบัติต่อพระเจ้า ดังนั้น ความขัดแย้งอย่างรุนแรงในขั้นพื้นฐานของความศรัทธาระหว่างชาวโรมันและชาวคริสเตียน จึงเป็นไปอย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง ชาวคริสเตียนจะไม่ยอมร่วมพิธีกรรมทางศาสนาที่ที่ทางรัฐจัดขึ้น ไม่ยอมรับราชการทำหารหรือดำรงตำแหน่งทางการเมืองใด ๆ ทางการโรมันจึงต้องปราบปรามชาวคริสเตียนอย่างรุนแรงและเหี้ยมโหดเป็นระยะเวลาร่วม 300 ปี แต่ดูเหมือนว่ายิ่งปราบปรามมากเท่าใดก็ยิ่งเพิ่มขึ้นมากเท่านั้น จนมีผู้กล่าวว่า “โลหิตของผู้เสียสละกลายเป็นเมล็ดพันธุ์ให้กับศาสนา” ตราบจนกระทั่งถึงรัชสมัยของจักรพรรดิคอราแตนติน พระองค์ได้ทรงพระราชกรณียกิจที่สำคัญไว้สองประการ คือ ประการแรก ได้ออกพระราชกฤษฎีกาแห่งเมืองมิลาน (Decoree of Milan) ในปี ค.ศ. 313 ประกาศยกฐานะของชาวคริสเตียนให้มีสิทธิเท่าเทียมกับชาวโรมัน ยกเลิกคำสั่งห้ามชาวคริสเตียนรับราชการ ยอมให้ถือกรรมสิทธ์ในทรัพย์สินและสามารถปฏิบัติศาสนกิจได้ตามใจชอบ ประการที่สอง ได้สร้างกรุงคอนสแตนติโนเปิลที่แคว้นบิแซนติอุมให้เป็นราชธานีของจักรวรรดิโรมันตะวันออก นับตั้งแต่นั้นมา คริสต์ศาสนาอันถูกต้องตามกฎหมาย ยั่งกว่วนั้นรัฐบาลในยุคหลังเริ่มเกื้อกูลให้การอุปถัมภ์พร้อมกับร่วมมือในการทำลายเปลี่ยนแปลงเทวสถาน และกวาดล้างลัทธิอื่น ๆ ซึ่งมิได้เป็นศาสนาคริสต์อีกด้วย
ศิลปกรรม
ศิลปกรรมของชาวคริสเตียนในระยะแรกเริ่ม นับตั้งแต่ศาสนาได้วางรากฐานลงในจักรวรรดิเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 1 เรื่อยมาจนกระทั่งได้รับอิสรภาพและกรุงโรมแตก แบ่งออกเป็น 2 สมัยด้วยกัน คือ
- สมัยแห่งการถูกประหัตประหาร ( Period of Persecution ) นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 เรื่อยมาจนถึง ค.ศ. 313 เป็นยุคที่ชาวคริสเตียนถูกปราบปรามและถือว่าเป็นพวกนอกกฎหมาย
- สมัยที่ได้รับการรับรอง (Period of Recognition ) เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 325 เมื่อจักรพรรดิคอนสแตนตินยกฐานะศาสนาคริสต์ขึ้นจนคล้ายกับเป็นศาสนาของจักรวรรดิโรมันและสิ้นสุดลงเมื่อกรุงโรมตกอยู่ภายใต้การปกครองของชนชาวป่าเถื่อนในราวปี ค.ศ. 500 ซึ่งทำให้อำนาจของจักรวรรดิแตกสลาย
ศิลปกรรมสมัยถูกประหัตประหาร
- สถาปัตยกรรม ในสมัยแห่งการถูกประหัตประหาร ชาวคริสเตียนถูกตามล่าจองล้างจองผลาญจนต้องหาที่ปลอดภัยสำหรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนา พวกเขาขุดอุโมงค์ลงไปใต้พื้นดินซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะว่า คาตาโคมบ์ (Catacombs) เพื่อใช้เป็นที่ลี้ภัยประกอบพิธีกรรมและเป็นที่ฝังศพ โดยเลือกขุดจากบริเวณที่มีดินทูฟาอันแข็งแกร่ง การขุดอุโมงค์เริ่มกระทำกันตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 2 เรื่อยมา จนกระทั่งได้รับพระราชทางโองการอนุญาตให้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาได้ตามใจชอบจึงเลิกกระทำ ในกรุงโรมมีอุโมงค์อยู่หลายแห่ง บางแห่งยาวนับเป็นไมล์ ๆ สร้างสลับคดเคี้ยวและซับซ้อนกันหลายชั้น ตามข้างกำแพงอุโมงค์จะเจาะเป็นช่องสำหรับบรรจุศพเรียงรายกันไป ช่องเหล่านี้เรียกว่า (Loculi) นอกจากนี้แต่ละอุโมงค์ยังมีห้องเล็ก ๆ โดยเฉพาะเรียกว่า คูบิคูลา (Cibicula) เพื่อใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจ จากการสำรวจภายในคาตาโคมบ์ค้นพบศพจำนวนทั้งหมดเท่าที่รวบรวมได้มีมากกว่า 2 ล้านศพฝังไว้ในนั้น
- ห้องคูบิคูลา หรือห้องประกอบศาสนกิจส่วนมากจะมีภาพจิตรกรรมวาดด้วยวิธีเฟรสโก้ประดับตกแต่งตามฝาผนังและบนเพดาน ฝีมือและรูปแบบยังคงเป็นแบบโรมันอยู่ ช่างชาวคริสเตียนได้นำมาดัดแปลงเสียใหม่ให้ตรงกับความเชื่อของตน มีการเน้นถึงความรู้สึกในเรื่องของวิญญาณและความศรัทธาในศาสนา มากกว่าจะมามัวเอาใจใส่แต่เรื่องของความงามเพียงอย่างเดียว เหมือนดังเช่นกรีก-โรมันชอบคำนึงถึง จากมูลเหตุดังกล่าว ทำให้ชาวคริสเตียนพุ่งความสนใจในการแสดงแบบสัญลักษณ์มากกว่าจะเป็นความงามที่มองเห็นด้วยตาได้ จากการที่ไม่พิถีพิถันในเรื่องฝีมือกับกรรมวิธีจึงทำให้ผลงานดูไม่มีสุนทรียภาพสูงและปราศจากฝีมือ
ศิลปกรรมสมัยได้รับการรับรอง
เมื่อจักรวรรดิคอนสแตนตินรับรองศาสนาคริสต์ให้เป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมาย การเจาะขุดอุโมงค์คาตาโคมบ์จึงเลิกไป คริสต์ศาสนิกชนได้หันมาแสวงหาสถานที่ใหม่บนพื้นดิน ระยะแรกคงกะทันหันเกินไป ไม่มีเวลาและเงินทองจะสร้างของใหม่ได้จึงนำเอาอาคารของชาวโรมันมาใช้ อาทิ เช่น นำเอาบาสิลิกามาดัดแปลงเป็นโบสถ์ ครั้นเวลาล่วงเลยมาจึงมีการสร้างเพิ่มเติมขึ้น แต่ก็ยังไม่มีรูปแบบเด่นเป็นพิเศษ ยังคงนิยมลอกเลียนสิ่งก่อสร้างของโรมันอยู่ ทั้งนี้จะเห็นได้จากโบสถ์หลังเก่าของเซนต์ปีเตอร์ ยืมเอารูปแบบของบาสิลิกามาใช้ แต่ดัดแปลงเสียใหม่ให้มีแผนผังเป็นรูปตัว T นำเอา เอทริอุม (Atrium = ลานบ้านชาวโรมัน อยู่หน้าบ้าน เปิดโล่งไม่มีหลังคา) มาผสมกันกับบาสิลิกา กล่าวคือ มีบันไดขึ้นด้านหน้าสู่เฉลียงกว้างก่อนผ่านเข้าประตูใหญ่ เมื่อผ่านเข้าไปภายในจะเป็นลานขนาดใหญ่เปิดโล่งตามแบบเอทริอุมของโรมัน รอบลานนี้จะทำเป็นระเบียงทางเดินมุงหลังคาเรียบร้อย ตรงใจกลางลานมีน้ำพุสำหรับผู้มาประกอบพิธีกรรมล้างมือ ถัดจากบริเวณนี้จะเป็นตัวโบสถ์ซึ่งภายในทางด้านซ้ายและขวามือจัดเป็นที่นั่งฟังธรรม บริเวณดังกล่าวเรียกว่า ไอล (Aisle) จากประตูโบสถ์ถึงแท่นบูชามีช่องทางเดินกว้าง เรียกว่า เนฟ (Nave) ส่วนสุดห้องใช้เป็นที่ตั้งของแท่นบูชา ด้านข้างทั้งสองของแท่นบูชาขยายกว้างออกไปเป็นห้องยาวขวาง เรียกว่า ทรานเซพท์ (Trancept) คล้ายกับหางของตัว T
โครงสร้างหลังเก่าเซนต์ปีเตอร์ไม่ได้ใช้โวลท์ แต่หันไปใช้หลังคาจั่วแทน เพราะว่าการสร้างหลังคาด้วยระบบโวลท์และใช้คอนกรีตค่อยข้างแพง แต่เมื่อพิจารณาดูรูปทรงทั้งหมดยังคงมีเค้ารูปแบบคล้ายกับบาสิลิกาของโรมันอยู่ วิธีการวางแผนผังเช่นนี้เป็นที่นิยมในการสร้างโบสถ์ทั่ว ๆ ไปในระยะแรก
ครั้นเมื่อคริสต์ศาสนาได้รับการรับรอง จักรวรรดิโรมันเริ่มอ่อนแอลงตามลำดับ ประจวบกับพวกป่าเถื่อนได้ถือโอกาสยกเข้าโจมตีปล้นสะดมกรุงโรมอยู่เป็นเนืองนิจ จักรพรรดิโฮโนริอุสจึงได้ย้ายเมืองหลวงจากโรมไปอยู่ที่เมืองราเวนนา (Ravenna) ในปี ค.ศ. 402 ที่ตั้งของราเวนนามีภูมิประเทศคับขัน สามารถป้องกันศัตรูได้ดี อีกทั้งยังอยู่ใกล้กับเมืองท่าคลาสเส (Classe) ซึ่งสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือจากจักรวรรดิบิแซนทีนหรือโรมันตะวันออกได้อย่างสะดวกสบาย ถึงอย่างไรก็ตาม ใน ค.ศ. 476 ราเวนนา เมืองหลวงสุดท้ายของจักรวรรดิโรมันก็ทนต่อการรุกรานของพวกกอธไม่ไหว โอโดเชอร์ ผู้นำของชนเหล่านั้นได้เข้ายึดครองและเปลี่ยนแปลงราเวนนาให้เป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรโตรกอธ อยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง ราเวนนาได้เจริญรุ่งเรืองสืบมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 540 และถึงกาลอวสานเมื่อจักรพรรดิจัสติเนียนของจักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือ บิแซนทีน ได้ส่งกองทัพมารบบุกยึดกรุงราเวนนาและอิตาลีไว้ได้ ทำให้ศิลปวัฒนธรรมของบิแซนทีนเข้ามามีอิทธิพลโดยตรงในอิตาลี ในขณะเดียวกันอำนาจของคริสตจักรที่โรมนับวันจะพอกพูนขึ้นทุกขณะ
อ้างอิง
- Honour, Hugh; Flemming, J. (2005). The Visual Arts: A History (ภาษาอังกฤษ) (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall. .
- Eduard Syndicus; Early Christian Art; Burns & Oates, London, 1962
- "Early Christian art". In Encyclopædia Britannica Online.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng silpaaelasthaptykrrmkhrisetiynerimaerk khuxsilpathisrangodyphunbthuxkhristsasnahruxodyphuidrbkarxupthmphcakphunbthuxkhristsasnathierimtngaetrawpi kh s 100 cnthungrawpi kh s 500 kxnhnapi kh s 100 immihlkthanthangsilpathihlngehluxihehnthicaeriykidwaepnsilpahruxsthaptykrrmkhxngphunbthuxkhristsasnaidxyangaethcring hlngcakpi kh s 500 silpaaelasthaptykrrmkhrisetiynkerimepliynaeplngipmilksnakhxngsilpkrrmaebbibaesnithnprawtithwipsilpakhrisetiynerimaerk indinaednpaelsitnkxn kh s 4 pi ciss ikhrst idthuxkaenidinhmubanebthliehmkhxngchawyiw ichchiwitwyhnumswnihyepnchangiminhmubannasaerth phraxngkhekidmainthamklangkhxngkhwamkdkhikhudridxyanghnkkhxngckrphrrdiormntxchawyiw khwameduxdrxnekidkhunthukhyxmhya thaihchawyiwtangiffnthicaidhruxphumaoprdolk Messiah ephuxkhbilchawormnihxxkcakdinaedn aelasthapnarthyiwthiepnkhxngchawyiwkhunma phraeysuiderimtnsngsxnihmnusymikhwamrk khwamkrunasungknaelakntngaetpi kh s 28 hlkthrrmkhasngsxnkhxngphraxngkhidaephrhlayxxkip kxihekidkhwamsnictxchawyiwxyangying cnthungkbthukthkexawaphraxngkh khux emsis xa thithukkhnefarxkhxy aetaelwphraeysuklbsnicaeteruxngkhxngwiyyan miicheruxngthangwtthu cungkxihekidkhwamphidhwngaelaklayepnkartxtanaelaepnptipkskarkrathakhxngphraxngkhxyangkwangkhwang mithngphwkkhlngchati phwkecahnithikhxyexardexaepriyb aelaphwkphrasungekrngwaphraeysu cathaihthanaaelasiththikhxngtnhmdsinip thukfaytangphaknklawhawaphraeysukhuxphuthalaykhwamsngbsukhaelalbhluphrayaohwaxnskdisiththikhxngphwktn cnkrathngphraeysuthukklawhkhlngodybxkkbecahnathimacbtwipihsalsasnasaehdrinkhxngphwkyiwtdsin aelathukphiphaksapraharchiwitdwykartrungkangekhnrawkbphuray karesiyslachiwitkhxngphraeysumiphlsathxnxxkipxyangkwangkhwangaelalaluk sawkphumisrththapsathaxyangaerngklaidnakhasngsxnkhxngphraxngkhxxkephyaephrxxkip odyechphaaaehlngchumchnkhxngchawyiw sungxyukracdkracaythwipinemuxngtang aethbchaythaelemdietxrereniyn aelathixyuinkrungorm txmacungkhxyephyaephrxxkipsuchnchatitang xyangimcakdcnklayepnsasnaihyaelasakhythisudinolksasnahnung xnung inrahwangthickrwrrdiormneruxngxanac chawormnmikhwamepnxyuxyangsukhsbay aetkhnxunmiidepnchawormnklbetmipdwykhwamthukkhyak thukkhniffnthicamiesriphaphaelakhwamesmxphakh phwkekhaphbwakhristsasnaidsnxngkhwamtxngkarkhxngphwktn ihkhwamhwngineruxngesriphaphaelakhwamesmxphaphinhmumnusy dngtwxyang echn mikhasxninsasnaklawwaphraphuepnecahruxphrabidathiepiymdwykhwamrkkhwamkrunaidsngphrabutrhruxphraeysulngmaephuxithbapkhxngmnusy xnung ineruxngsiththikarnbthuxsasna aemwaormncaimminoybayepnptipkstxkhwamechuxkhwamsrththainsasnaidsasnahnungodyechphaa trabidthiphunnyngrwmthwayskkarbuchaxngkhckrphrrdiihepnpraduchnungethphecachawormn caimkhdkhwangkarnbthuxsasnann ely khtiniymnichawkhrisetiynyinyxmimid ephraakhdkbkhwamechuxeruxngkhxngphraecakhxngphwktn nxkcaknichawormnechuxwahnathisakhykhxngmnusykhwrphungptibtitxrth swnchawkhrisetiynmikhwamkhidehnwa hnathisakhykhxngmnusy khux karptibtitxphraeca dngnn khwamkhdaeyngxyangrunaernginkhnphunthankhxngkhwamsrththarahwangchawormnaelachawkhrisetiyn cungepnipxyangkwangkhwangaelaluksung chawkhrisetiyncaimyxmrwmphithikrrmthangsasnathithithangrthcdkhun imyxmrbrachkarthaharhruxdarngtaaehnngthangkaremuxngid thangkarormncungtxngprabpramchawkhrisetiynxyangrunaerngaelaehiymohdepnrayaewlarwm 300 pi aetduehmuxnwayingprabprammakethaidkyingephimkhunmakethann cnmiphuklawwa olhitkhxngphuesiyslaklayepnemldphnthuihkbsasna trabcnkrathngthungrchsmykhxngckrphrrdikhxraaetntin phraxngkhidthrngphrarachkrniykicthisakhyiwsxngprakar khux prakaraerk idxxkphrarachkvsdikaaehngemuxngmilan Decoree of Milan inpi kh s 313 prakasykthanakhxngchawkhrisetiynihmisiththiethaethiymkbchawormn ykelikkhasnghamchawkhrisetiynrbrachkar yxmihthuxkrrmsiththinthrphysinaelasamarthptibtisasnkicidtamicchxb prakarthisxng idsrangkrungkhxnsaetntionepilthiaekhwnbiaesntixumihepnrachthanikhxngckrwrrdiormntawnxxk nbtngaetnnma khristsasnaxnthuktxngtamkdhmay yngkwwnnrthbalinyukhhlngerimekuxkulihkarxupthmphphrxmkbrwmmuxinkarthalayepliynaeplngethwsthan aelakwadlanglththixun sungmiidepnsasnakhristxikdwysilpkrrmsilpkrrmkhxngchawkhrisetiyninrayaaerkerim nbtngaetsasnaidwangrakthanlnginckrwrrdiemuxkhriststwrrsthi 1 eruxymacnkrathngidrbxisrphaphaelakrungormaetk aebngxxkepn 2 smydwykn khux smyaehngkarthukprahtprahar Period of Persecution nbtngaetkhriststwrrsthi 1 eruxymacnthung kh s 313 epnyukhthichawkhrisetiynthukprabpramaelathuxwaepnphwknxkkdhmay smythiidrbkarrbrxng Period of Recognition erimtngaetpi kh s 325 emuxckrphrrdikhxnsaetntinykthanasasnakhristkhuncnkhlaykbepnsasnakhxngckrwrrdiormnaelasinsudlngemuxkrungormtkxyuphayitkarpkkhrxngkhxngchnchawpaethuxninrawpi kh s 500 sungthaihxanackhxngckrwrrdiaetkslaysilpkrrmsmythukprahtpraharsthaptykrrm insmyaehngkarthukprahtprahar chawkhrisetiynthuktamlacxnglangcxngphlaycntxnghathiplxdphysahrbprakxbphithikrrmthangsasna phwkekhakhudxuomngkhlngipitphundinsungmichuxeriykechphaawa khataokhmb Catacombs ephuxichepnthiliphyprakxbphithikrrmaelaepnthifngsph odyeluxkkhudcakbriewnthimidinthufaxnaekhngaekrng karkhudxuomngkherimkrathakntngaetkhriststwrrsthi 2 eruxyma cnkrathngidrbphrarachthangoxngkarxnuyatihprakxbphithikrrmthangsasnaidtamicchxbcungelikkratha inkrungormmixuomngkhxyuhlayaehng bangaehngyawnbepniml srangslbkhdekhiywaelasbsxnknhlaychn tamkhangkaaephngxuomngkhcaecaaepnchxngsahrbbrrcuspheriyngrayknip chxngehlanieriykwa Loculi nxkcakniaetlaxuomngkhyngmihxngelk odyechphaaeriykwa khubikhula Cibicula ephuxichepnthiprakxbsasnkic cakkarsarwcphayinkhataokhmbkhnphbsphcanwnthnghmdethathirwbrwmidmimakkwa 2 lansphfngiwinnn hxngkhubikhula hruxhxngprakxbsasnkicswnmakcamiphaphcitrkrrmwaddwywithiefrsokpradbtkaetngtamfaphnngaelabnephdan fimuxaelarupaebbyngkhngepnaebbormnxyu changchawkhrisetiynidnamaddaeplngesiyihmihtrngkbkhwamechuxkhxngtn mikarennthungkhwamrusukineruxngkhxngwiyyanaelakhwamsrththainsasna makkwacamamwexaicisaeteruxngkhxngkhwamngamephiyngxyangediyw ehmuxndngechnkrik ormnchxbkhanungthung cakmulehtudngklaw thaihchawkhrisetiynphungkhwamsnicinkaraesdngaebbsylksnmakkwacaepnkhwamngamthimxngehndwytaid cakkarthiimphithiphithnineruxngfimuxkbkrrmwithicungthaihphlnganduimmisunthriyphaphsungaelaprascakfimuxsilpkrrmsmyidrbkarrbrxngemuxckrwrrdikhxnsaetntinrbrxngsasnakhristihepnsasnathithuktxngtamkdhmay karecaakhudxuomngkhkhataokhmbcungelikip khristsasnikchnidhnmaaeswnghasthanthiihmbnphundin rayaaerkkhngkathnhnekinip immiewlaaelaenginthxngcasrangkhxngihmidcungnaexaxakharkhxngchawormnmaich xathi echn naexabasilikamaddaeplngepnobsth khrnewlalwngelymacungmikarsrangephimetimkhun aetkyngimmirupaebbednepnphiess yngkhngniymlxkeliynsingkxsrangkhxngormnxyu thngnicaehnidcakobsthhlngekakhxngesntpietxr yumexarupaebbkhxngbasilikamaich aetddaeplngesiyihmihmiaephnphngepnruptw T naexa exthrixum Atrium lanbanchawormn xyuhnaban epidolngimmihlngkha maphsmknkbbasilika klawkhux mibnidkhundanhnasuechliyngkwangkxnphanekhapratuihy emuxphanekhaipphayincaepnlankhnadihyepidolngtamaebbexthrixumkhxngormn rxblannicathaepnraebiyngthangedinmunghlngkhaeriybrxy trngicklanglanminaphusahrbphumaprakxbphithikrrmlangmux thdcakbriewnnicaepntwobsthsungphayinthangdansayaelakhwamuxcdepnthinngfngthrrm briewndngklaweriykwa ixl Aisle cakpratuobsththungaethnbuchamichxngthangedinkwang eriykwa enf Nave swnsudhxngichepnthitngkhxngaethnbucha dankhangthngsxngkhxngaethnbuchakhyaykwangxxkipepnhxngyawkhwang eriykwa thranesphth Trancept khlaykbhangkhxngtw T okhrngsranghlngekaesntpietxrimidichowlth aethnipichhlngkhacwaethn ephraawakarsranghlngkhadwyrabbowlthaelaichkhxnkritkhxykhangaephng aetemuxphicarnadurupthrngthnghmdyngkhngmiekharupaebbkhlaykbbasilikakhxngormnxyu withikarwangaephnphngechnniepnthiniyminkarsrangobsththw ipinrayaaerk khrnemuxkhristsasnaidrbkarrbrxng ckrwrrdiormnerimxxnaexlngtamladb pracwbkbphwkpaethuxnidthuxoxkasykekhaocmtiplnsadmkrungormxyuepnenuxngnic ckrphrrdiohonrixuscungidyayemuxnghlwngcakormipxyuthiemuxngraewnna Ravenna inpi kh s 402 thitngkhxngraewnnamiphumipraethskhbkhn samarthpxngknstruiddi xikthngyngxyuiklkbemuxngthakhlases Classe sungsamarthtidtxkhxkhwamchwyehluxcakckrwrrdibiaesnthinhruxormntawnxxkidxyangsadwksbay thungxyangirktam in kh s 476 raewnna emuxnghlwngsudthaykhxngckrwrrdiormnkthntxkarrukrankhxngphwkkxthimihw oxodechxr phunakhxngchnehlannidekhayudkhrxngaelaepliynaeplngraewnnaihepnemuxnghlwngkhxngrachxanackrotrkxth xyuchwrayaewlahnung raewnnaidecriyrungeruxngsubmacnkrathngpi kh s 540 aelathungkalxwsanemuxckrphrrdicstieniynkhxngckrwrrdiormntawnxxkhrux biaesnthin idsngkxngthphmarbbukyudkrungraewnnaaelaxitaliiwid thaihsilpwthnthrrmkhxngbiaesnthinekhamamixiththiphlodytrnginxitali inkhnaediywknxanackhxngkhristckrthiormnbwncaphxkphunkhunthukkhnaxangxingHonour Hugh Flemming J 2005 The Visual Arts A History phasaxngkvs 7th ed Upper Saddle River NJ Pearson Prentice Hall ISBN 0 13 193507 0 Eduard Syndicus Early Christian Art Burns amp Oates London 1962 Early Christian art In Encyclopaedia Britannica Online