โครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย หรือโครงการ วมว. เป็นโครงการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนสำหรับผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีมหาวิทยาลัยเป็นผู้กำกับดูแลการดำเนินการ การบริหาร จัดการหลักสูตรการเรียนการสอนห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนซึ่งอาจเป็นโรงเรียนเครือข่ายหรือโรงเรียนในกำกับของมหาวิทยาลัยโดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เป็นผู้ให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
Science Classrooms in University-Affiliated School Project | |
ภาพรวมหน่วยงาน | |
---|---|
ก่อตั้ง | 24 เมษายน พ.ศ. 2550 |
ผู้ก่อตั้ง | กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม |
สำนักงานใหญ่ | 75/47 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 |
เว็บไซต์ | scius.most.go.th scius.mhesi.go.th |
ประวัติ
เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2550 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินงานโครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) ขึ้น เพื่อผลิตนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ทั้งนี้ ให้ปรับเปลี่ยนจากการให้การสนับสนุนในรูป "ทุนการศึกษา" เป็นการสนับสนุน "หลักสูตรการศึกษา" ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมแทน โดยเริ่มแรก (ปีการศึกษา 2551) มีมหาวิทยาลัยและโรงเรียนเข้าร่วมจำนวน 4 คู่ศูนย์
โดยในปัจจุบันมีมหาวิทยาลัยและโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 19 คู่ศูนย์ ซึ่งหลักสูตรจะแตกต่างกันไปตามศักยภาพ ความพร้อม และความโดดเด่นทางวิชาการในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ
สัญลักษณ์
ความหมายของสี
- สีเหลือง หมายถึง วิทยาศาสตร์ และเป็นสีประจำพระชนมวารพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสีที่ตามองเห็นได้ชัดเจน และกระตุ้นให้คนใช้ปัญญาและเกิดการอยากเรียนรู้ เป็นสีแห่งความเฉลียวฉลาด ความรอบรู้มุ่งมั่น ความตั้งใจและความรวดเร็วในการคิด ซึ่งแสดงถึงการเป็นผู้มีความเจริญทางปัญญาและความรู้อย่างมีเหตุผล
- สีแสด หมายถึง สีประจำพระชนมวารพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสีที่แสดงถึงแรงบันดาลใจเต็มเปี่ยม และพลังในการพัฒนาและใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์
- สีน้ำเงิน หมายถึง นวัตกรรมและพระมหากษัตริย์ แทนความมีอัจฉริยภาพ ความเป็นผู้นำในการพัฒนาสร้างสรรค์และก่อกำเนิดสิ่งที่มีคุณค่าใหม่ ๆ
- สีเขียว หมายถึง สิ่งแวดล้อม ความเป็นธรรมชาติ และการเจริญเติบโต แสดงถึงการใช้วิทยาศาสตร์ในการพัฒนา ควบคู่กับการดำรงระบบนิเวศไว้ให้ยั่งยืน
การรับสมัครนักเรียน
คุณสมบัติของนักเรียนผู้สมัคร
- กำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่าในปีการศึกษานั้น
- มีผลการเรียน ดังนี้
- ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมรวมทุกรายวิชาในชั้น ม.1 และ ม.2 ไม่ต่ำกว่า 3.00
- ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมรายวิชาวิทยาศาสตร์ในชั้น ม.1 และ ม.2 ไม่ต่ำกว่า 3.00
- ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมรายวิชาคณิตศาสตร์ในชั้น ม.1 และ ม.2 ไม่ต่ำกว่า 3.00
- มีสัญชาติไทย (มีเลขประจำตัวประชาชน)
- ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา และการพักในหอพัก
- มีความขยันหมั่นเพียร มีความประพฤติดีและมีบุคลิกภาพเหมาะสม
- มีความตั้งใจเข้าเรียนในโรงเรียนที่อยู่ในโครงการ และได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง
- สามารถพักอยู่ในโรงเรียนหรือสถานที่ที่โรงเรียนจัดไว้ให้ในลักษณะโรงเรียนประจำได้ และสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบ หรือข้อบังคับ ของหอพักหรือโครงการกำหนดไว้ได้
ขั้นตอนการรับสมัครและคัดเลือก
- โครงการฯ โดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จะดำเนินการรับสมัครนักเรียนในเดือนสิงหาคมของทุกปีทาง ระบบการรับสมัครนักเรียนของโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
- มหาวิทยาลัยและโรงเรียนทำการตรวจสอบคุณสมบัติ เมื่อนักเรียนมีคุณสมบัติครบถ้วน จึงจะมีสิทธิ์ในการสอบคัดเลือก
- โครงการฯ โดยโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์จะเป็นผู้ดำเนินการคัดเลือกนักเรียนในรอบแรก โดยการสอบข้อเขียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในช่วงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ซึ่งมีเกณฑ์การคัดเลือกโดยใช้คะแนนผลการสอบคัดเลือกโรงเรียนละ 150-300 อันดับแรก (ตามการรับของแต่ละศูนย์) โดยคะแนนลำดับที่ 150-300 (ตามการรับของแต่ละศูนย์) ให้คัดเลือกนักเรียนที่ได้คะแนนเท่ากันไว้ทั้งหมด
- มหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการแต่ละแห่งจะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกรอบสอง โดยแยกกัน โดยอิสระในช่วงเดือนมกราคมของทุกปีโดยวิธีการสอบคัดเลือกในลักษณะเดียวกันกับการสอบรอบแรก
- มหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการแต่ละแห่งเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกนักเรียนในโครงการ วมว. แห่งละ 30 - 90 คน (ตามการรับของแต่ละศูนย์) พร้อมสำรอง และส่งให้รายชื่อให้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
รายชื่อมหาวิทยาลัยและโรงเรียนในกำกับ
มหาวิทยาลัย | โรงเรียนในกำกับ | ปีที่เข้าร่วม | รายละเอียดหลักสูตร | |
---|---|---|---|---|
1 | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | 2551 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติโดยนักเรียนจะได้เรียนรู้ผ่านการเรียนการสอนแบบ Problem based ที่นำองค์ความรู้แต่ละกลุ่มสาระบูรณาการเป็นหน่วยการเรียนรู้อย่างกลมกลืน โดยนักเรียนได้รับทักษะและกระบวนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ผ่านการปฏิบัติจริง |
2 | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย | 2551 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และการวิจัย มุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนตามความสนใจ ความถนัด และศักยภาพของนักเรียนเพิ่มเติมด้วยวิชาปฏิบัติการฟิสิกส์ เคมี และชีวเคมี และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลายทั่งภายใน และภายนอกสถานศึกษา |
3 | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | โรงเรียนดรุณสิกขาลัย | 2551 | หลักสูตรห้องเรียนวิศว์-วิทย์ เน้นการเรียนรู้ผ่านเรื่องราวที่ร้อยเรียงตามประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติโดยเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมเข้ากันไว้ด้วยกันแบบ Story-Based Learning นักเรียนจะเพลิดเพลินกับการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติการแก้ปัญหาจริง และโครงงานหลังสูตรนี้เหมาะกับผู้ที่ต้องการเติบโตไปเป็นวิศวกรวิจัย (Research Engineer) และวิศวกรปฏิบัติ-นวัตกร (Hands-on Engineer) |
4 | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ | โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ | 2551 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูงโดยประยุกต์ใช้กับวิทยาการด้านนวัฒนกรรมการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ สัตวแพทย์ และวิศวกรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ |
5 | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | 2553 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และภาษาอังกฤษ มุ่งเน้นให้นักเยนมีความคิดสร้างสรรค์ ความคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ กล้าแสดงออกและเป็นผู้นำที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ |
6 | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน | โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน | 2554 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูงโดยประยุกต์ใช้กับวิทยาการด้านนวัฒนกรรมการเกษตร อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ สัตวแพทยศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ |
7 | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์) | 2554 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ นาโนเทคโนโลยี และการวิจัยผ่านการลงมือปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดทักษะ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานวัตกรรมที่สามารถนำมาพัฒนาท้องถิ่นได้จริง |
8 | มหาวิทยาลัยบูรพา | 2556 | หลักสูตรการเรียนการสอนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความโดดเด่นในด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดแก้ปัญหาผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม และวิทยาศาสตร์ทางทะเล โดยมีเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้ | |
9 | มหาวิทยาลัยนเรศวร | โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร | 2556 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ-กายภาพ-ชีวภาพ เน้นการสร้างทักษะการวิจัยจากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และต่อยอดการทำวิจัยร่วมกับนักวิจัย/คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เป็นนักวิจัย/นักนวัตกรรมในอนาคตและมีความสามารถในด้านภาษาต่างประเทศ นักเรียนสามารถเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนเรศวรล่วงหน้าได้ |
10 | มหาวิทยาลัยทักษิณ | 2556 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คณิตศาสตร์ ความหลากหลายทางชีวภาพ สิ่งแวดล้อม พลังงานทดแทนและเกษตรยั่งยืน บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านการเรียนรู้ด้วยรูปแบบต่างๆ โดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยและปราชญ์ชาวบ้านเพื่อให้นักเรียนได้มีการบูรณาการความรู้ผ่านการทำโครงงานวิจัยขนาดเล็กร่วมกับคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัย โดยเน้นบริบทในท้องถิ่นภาคใต้ | |
11 | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) | 2556 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยผสานความโดดเด่นทางวิชาการตามความสนใจของนักเรียน และการแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์แบบบูรณาการโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ |
12 | มหาวิทยาลัยพะเยา | โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา | 2558 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และภาษาอังกฤษ มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ ความคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ กล้าแสดงออกและเป็นผู้นำที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณ์ |
13 | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (มอดินแดง) | 2558 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีเกษตร โดยจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเน้นการะบวนการคิดตามแนวทางการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) พร้อมทั้งนำมาประยุกต์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้องค์ความรู้ที่นำไปสู่การพัฒนาหรือเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น นำไปสู่การสร้างนักยุววิจัยเพื่อเป็นรากฐานของนักวิจัยในอนาคต |
14 | มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี | 2558 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มีการบูรณาการความรู้ในสาขาต่างๆ ได้แก่ นาโนเทคโนโลยี วัสดุนาโนเพื่อพลังงานและประหยัดพลังงาน เคมีอินทรีย์ขั้นสูงเพื่อพลังงาน การพัฒนาพลังงานเอทานอลและพืชพลังงาน การคำนวณและการจำลองแบบวัสดุพลังงาน และด้านเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นพัฒนาทักษะของนักเรียนเพื่อไปเป็นนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยในอนาคตต่อไป | |
15 | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 2558 | หลักสูตรมีความโดดเด่นในการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นสากลโดยการปฏิบัติจริงและใช้หลัก Project Based Learning กระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์และนำไปสร้างประโยชน์ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน เน้นบูรณาการความรู้ระหว่างสาระการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมและเทคโนโลยีผ่านการทำโครงงานวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง | |
16 | มหาวิทยาลัยศิลปากร | โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย | 2558 | มุ่งจัดการศึกษาแบบสร้างสรรค์ภายใต้กรอบแนวความคิด ‘บูรณาการ วิทยาศาสตร์และศิลป์ ศึกษาสสารและวัสดุ พัฒนาพลังงานทดแทน ประสานสู่สิ่งแวดล้อม’ สำหรับนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มีทักษะกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์สำหรับการเป็นนักวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ พร้อมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสำนึกในความเป็นไทย |
17 | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี | 2559 | หลักสูตรมีความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในสาขาวิชาการที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ เช่น เทคโนโลยียาง เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ หรือ RIBA | |
18 | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | 2561 | หลักสูตรที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะ ประสบการณ์ และการคิดวิเคราะห์ในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความโดดเด่นในด้านการเรียนการสอน มุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนตามแบบสะเต็มศึกษา ฝึกฝนการคิดวิเคราะห์อย่างนักวิทยาศาสตร์ สร้างเสริมความชำนาญด้านปฏิบัติการ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างนวัตกรรมเพื่อสังคม เน้นพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ | |
19 | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | 2562 |
อ้างอิง
- สำนักงานเลขาธิการรัฐมนตรี, มติคณะรัฐมนตรี เรื่อง โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนโดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย, สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน พ.ศ. 2559
- โครงการ วมว., ความเป็นมาของโครงการ 2021-10-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน พ.ศ. 2559
- โครงการ วมว., คู่มือการรับสมัคร[], สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน พ.ศ. 2559
- โครงการ วมว., คู่มหาวิทยาลัย - โรงเรียนในกำกับ 2019-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน พ.ศ. 2559
- ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี, WHAT IS SCIUS 2017-02-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน พ.ศ. 2559
แหล่งข้อมูลอื่น
- โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย 2017-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ระบบรับสมัครออนไลน์ โครงการ วมว. 2014-10-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
okhrngkarhxngeriynwithyasastrinorngeriyn odykarkakbduaelkhxngmhawithyaly hruxokhrngkar wmw epnokhrngkarcdtnghxngeriynwithyasastrinorngeriynsahrbphueriynthimikhwamsamarthphiessthangdanwithyasastraelaethkhonolyi odymimhawithyalyepnphukakbduaelkardaeninkar karbrihar cdkarhlksutrkareriynkarsxnhxngeriynwithyasastrinorngeriynsungxacepnorngeriynekhruxkhayhruxorngeriyninkakbkhxngmhawithyalyodykrathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrm xw epnphuihkarsnbsnunkarcdkareriynkarsxnokhrngkarhxngeriynwithyasastrinorngeriyn odykarkakbduaelkhxngmhawithyalyScience Classrooms in University Affiliated School Projectphaphrwmhnwyngankxtng24 emsayn ph s 2550phukxtngkrathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrmsanknganihy75 47 thnnphraram 6 aekhwngthungphyaith ekhtrachethwi krungethphmhankhr 10400ewbistscius most go th scius mhesi go thprawtiemuxwnthi 24 emsayn ph s 2550 khnarthmntri idmimtiihkrathrwngwithyasastraelaethkhonolyi rwmkbkrathrwngsuksathikar daeninnganokhrngkarsnbsnunkarcdtnghxngeriynwithyasastrinorngeriyn odykarkakbduaelkhxngmhawithyaly okhrngkar wmw khun ephuxphlitnkeriynthimikhwamsamarthphiessthangwithyasastraelaethkhonolyitngaetradbmthymsuksatxnplaycnsaerckarsuksainradbpriyyatri thngni ihprbepliyncakkarihkarsnbsnuninrup thunkarsuksa epnkarsnbsnun hlksutrkarsuksa thangdanwithyasastraelaethkhonolyithiehmaasmaethn odyerimaerk pikarsuksa 2551 mimhawithyalyaelaorngeriynekharwmcanwn 4 khusuny odyinpccubnmimhawithyalyaelaorngeriynekharwmokhrngkarcanwn 19 khusuny sunghlksutrcaaetktangkniptamskyphaph khwamphrxm aelakhwamoddednthangwichakarinsakhawichawithyasastraelaethkhonolyikhxngaetlamhawithyalythiekharwmokhrngkarsylksnkhwamhmaykhxngsi siehluxng hmaythung withyasastr aelaepnsipracaphrachnmwarphrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedch epnsithitamxngehnidchdecn aelakratunihkhnichpyyaaelaekidkarxyakeriynru epnsiaehngkhwamechliywchlad khwamrxbrumungmn khwamtngicaelakhwamrwderwinkarkhid sungaesdngthungkarepnphumikhwamecriythangpyyaaelakhwamruxyangmiehtuphl siaesd hmaythung sipracaphrachnmwarphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw epnsithiaesdngthungaerngbndalicetmepiym aelaphlnginkarphthnaaelaichpraoychncakwithyasastr sinaengin hmaythung nwtkrrmaelaphramhakstriy aethnkhwammixcchriyphaph khwamepnphunainkarphthnasrangsrrkhaelakxkaenidsingthimikhunkhaihm siekhiyw hmaythung singaewdlxm khwamepnthrrmchati aelakarecriyetibot aesdngthungkarichwithyasastrinkarphthna khwbkhukbkardarngrabbniewsiwihyngyunkarrbsmkhrnkeriynkhunsmbtikhxngnkeriynphusmkhr kalngsuksaxyuinchnmthymsuksapithi 3 hruxethiybethainpikarsuksann miphlkareriyn dngni radbkhaaennechliysasmrwmthukraywichainchn m 1 aela m 2 imtakwa 3 00 radbkhaaennechliysasmraywichawithyasastrinchn m 1 aela m 2 imtakwa 3 00 radbkhaaennechliysasmraywichakhnitsastrinchn m 1 aela m 2 imtakwa 3 00 misychatiithy mielkhpracatwprachachn imepnorkhtidtxrayaerngsungepnxupsrrkhtxkarsuksa aelakarphkinhxphk mikhwamkhynhmnephiyr mikhwampraphvtidiaelamibukhlikphaphehmaasm mikhwamtngicekhaeriyninorngeriynthixyuinokhrngkar aelaidrbkarsnbsnuncakphupkkhrxng samarthphkxyuinorngeriynhruxsthanthithiorngeriyncdiwihinlksnaorngeriynpracaid aelasamarthptibtitamkdraebiyb hruxkhxbngkhb khxnghxphkhruxokhrngkarkahndiwidkhntxnkarrbsmkhraelakhdeluxk okhrngkar odykrathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrm cadaeninkarrbsmkhrnkeriynineduxnsinghakhmkhxngthukpithang rabbkarrbsmkhrnkeriynkhxngorngeriynmhidlwithyanusrn mhawithyalyaelaorngeriynthakartrwcsxbkhunsmbti emuxnkeriynmikhunsmbtikhrbthwn cungcamisiththiinkarsxbkhdeluxk okhrngkar odyorngeriynmhidlwithyanusrncaepnphudaeninkarkhdeluxknkeriyninrxbaerk odykarsxbkhxekhiyninraywichawithyasastraelakhnitsastrinchwngeduxnphvscikaynkhxngthukpi sungmieknthkarkhdeluxkodyichkhaaennphlkarsxbkhdeluxkorngeriynla 150 300 xndbaerk tamkarrbkhxngaetlasuny odykhaaennladbthi 150 300 tamkarrbkhxngaetlasuny ihkhdeluxknkeriynthiidkhaaennethakniwthnghmd mhawithyalythiekharwmokhrngkaraetlaaehngcaepnphudaeninkarsxbkhdeluxkrxbsxng odyaeykkn odyxisrainchwngeduxnmkrakhmkhxngthukpiodywithikarsxbkhdeluxkinlksnaediywknkbkarsxbrxbaerk mhawithyalythiekharwmokhrngkaraetlaaehngepnphuphicarnakhdeluxknkeriyninokhrngkar wmw aehngla 30 90 khn tamkarrbkhxngaetlasuny phrxmsarxng aelasngihraychuxihkrathrwngkarxudmsuksa withyasastr wicyaelanwtkrrmraychuxmhawithyalyaelaorngeriyninkakbmhawithyaly orngeriyninkakb pithiekharwm raylaexiydhlksutr1 mhawithyalyechiyngihm orngeriynsathitmhawithyalyechiyngihm 2551 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastrthrrmchatiodynkeriyncaideriynruphankareriynkarsxnaebb Problem based thinaxngkhkhwamruaetlaklumsaraburnakarepnhnwykareriynruxyangklmklun odynkeriynidrbthksaaelakrabwnkarkhidechingwithyasastrphankarptibticring2 mhawithyalyethkhonolyisurnari orngeriynrachsimawithyaly 2551 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastr wiswkrrmsastr aelakarwicy mungennkarcdkareriynkarsxntamkhwamsnic khwamthnd aelaskyphaphkhxngnkeriynephimetimdwywichaptibtikarfisiks ekhmi aelachiwekhmi aelakickrrmphthnaphueriynthihlakhlaythngphayin aelaphaynxksthansuksa3 mhawithyalyethkhonolyiphracxmeklathnburi orngeriyndrunsikkhaly 2551 hlksutrhxngeriynwisw withy ennkareriynruphaneruxngrawthirxyeriyngtamprawtisastrkhxngmnusychatiodyechuxmoyngkhnitsastr withyasastr sngkhmsastr tlxdcnsilpwthnthrrmekhakniwdwyknaebb Story Based Learning nkeriyncaephlidephlinkbkareriynruphankarlngmuxptibtikaraekpyhacring aelaokhrngnganhlngsutrniehmaakbphuthitxngkaretibotipepnwiswkrwicy Research Engineer aelawiswkrptibti nwtkr Hands on Engineer 4 mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhthadihy orngeriyn mx withyanusrn 2551 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastraelaethkhonolyikhnsungodyprayuktichkbwithyakardannwthnkrrmkarekstr ethkhonolyichiwphaph stwaephthy aelawiswkrrmsastr nxkcakniyngmungennphthnathksaphasaxngkvs5 mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhtpttani orngeriynsathitmhawithyalysngkhlankhrinthr 2553 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastr khnitsastr withyasastrkaraephthy phlngnganaelasingaewdlxmethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar aelaphasaxngkvs mungennihnkeynmikhwamkhidsrangsrrkh khwamkhidwiekhraahsngekhraah klaaesdngxxkaelaepnphunathimisukhphaphkayaelasukhphaphcitthismburn6 mhawithyalyekstrsastr withyaekhtkaaephngaesn orngeriynsathitaehngmhawithyalyekstrsastr withyaekhtkaaephngaesn 2554 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastraelaethkhonolyikhnsungodyprayuktichkbwithyakardannwthnkrrmkarekstr xahar ethkhonolyichiwphaph stwaephthysastr aelawiswkrrmsastr nxkcakniyngmungennphthnathksaphasaxngkvs7 mhawithyalykhxnaekn orngeriynsathitmhawithyalykhxnaekn faymthymsuksa suksasastr 2554 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastr naonethkhonolyi aelakarwicyphankarlngmuxptibtithnginaelanxkhxngeriyn odymungennihnkeriynekidthksa aelakrabwnkarthangwithyasastrinkareriynru ephuxphthnanwtkrrmthisamarthnamaphthnathxngthinidcring8 mhawithyalyburpha orngeriynsathit phibulbaephy mhawithyalyburpha 2556 hlksutrkareriynkarsxnmungennihnkeriynmikhwamoddednindanthksakarkhidwiekhraah karkhidsngekhraah karkhidaekpyhaphankrabwnkarthangwithyasastrthimikhwamhlakhlaythangchiwphaph rabbniews singaewdlxm aelawithyasastrthangthael odymiethkhonolyiepnekhruxngmuxsakhyinkareriynru9 mhawithyalynerswr orngeriynmthymsathitmhawithyalynerswr 2556 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastrsukhphaph kayphaph chiwphaph ennkarsrangthksakarwicycakkarthaokhrngnganwithyasastraelatxyxdkarthawicyrwmkbnkwicy khnacarykhxngmhawithyaly mikickrrmphthnaphueriynthimungennphthnankeriynihepnnkwicy nknwtkrrminxnakhtaelamikhwamsamarthindanphasatangpraeths nkeriynsamartheriynraywichaphunthanwithyasastr khnitsastrkhxngmhawithyalynerswrlwnghnaid10 mhawithyalythksin 2556 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastrthrrmchati khnitsastr khwamhlakhlaythangchiwphaph singaewdlxm phlngnganthdaethnaelaekstryngyun bnthanphumipyyathxngthin phankareriynrudwyrupaebbtang odykhnacarymhawithyalyaelaprachychawbanephuxihnkeriynidmikarburnakarkhwamruphankarthaokhrngnganwicykhnadelkrwmkbkhnacaryaelankwicykhxngmhawithyaly odyennbribthinthxngthinphakhit11 mhawithyalymhasarkham orngeriynsathitmhawithyalymhasarkham faymthym 2556 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastrthrrmchati khwamhlakhlaythangchiwphaphaelaphumipyyathxngthinodyphsankhwamoddednthangwichakartamkhwamsnickhxngnkeriyn aelakaraekpyha khidwiekhraahaebbburnakarodyichthksakrabwnkarthangwithyasastr12 mhawithyalyphaeya orngeriynsathitmhawithyalyphaeya 2558 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastr khnitsastr withyasastrkaraephthy phlngnganaelasingaewdlxmethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar aelaphasaxngkvs mungennihnkeriynmikhwamkhidsrangsrrkh khwamkhidwiekhraahsngekhraah klaaesdngxxkaelaepnphunathimisukhphaphkayaelasukhphaphcitthismburn13 mhawithyalykhxnaekn orngeriynsathitmhawithyalykhxnaekn faymthymsuksa mxdinaedng 2558 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastrthrrmchati withyasastrprayukt ethkhonolyichiwphaph aelaethkhonolyiekstr odycdkareriynkarsxnthimungennthksakrabwnkarthangwithyasastr aelaennkarabwnkarkhidtamaenwthangkarsuksachneriyn Lesson Study aelawithikaraebbepid Open Approach phrxmthngnamaprayuktkbphumipyyathxngthin ephuxihphueriynidichxngkhkhwamruthinaipsukarphthnahruxepnaenwthangaekikhpyhakhxngthxngthin naipsukarsrangnkyuwwicyephuxepnrakthankhxngnkwicyinxnakht14 mhawithyalyxublrachthani 2558 hlksutrmikhwamoddedndanphlngnganaelasingaewdlxm mikarburnakarkhwamruinsakhatang idaek naonethkhonolyi wsdunaonephuxphlngnganaelaprahydphlngngan ekhmixinthriykhnsungephuxphlngngan karphthnaphlngnganexthanxlaelaphuchphlngngan karkhanwnaelakarcalxngaebbwsduphlngngan aeladanethkhonolyisingaewdlxm odymungennphthnathksakhxngnkeriynephuxipepnnkwithyasastraelankwicyinxnakhttxip15 mhawithyalythrrmsastr 2558 hlksutrmikhwamoddedninkareriynrudanwithyasastraelaethkhonolyithiepnsaklodykarptibticringaelaichhlk Project Based Learning kratunihekidkrabwnkareriynru samarthsuksakhnkhwadwytnexng miectkhtithiditxwithyasastraelanaipsrangpraoychntxmnusyaelasingaewdlxmidxyangyngyun ennburnakarkhwamrurahwangsarakareriynruthihlakhlay ephuxsrangsrrkhnwtkrrmaelaethkhonolyiphankarthaokhrngnganwithyasastrxyangtxenuxng16 mhawithyalysilpakr orngeriynsirinthrrachwithyaly 2558 mungcdkarsuksaaebbsrangsrrkhphayitkrxbaenwkhwamkhid burnakar withyasastraelasilp suksassaraelawsdu phthnaphlngnganthdaethn prasansusingaewdlxm sahrbnkeriynphumikhwamsamarthphiessthangdanwithyasastraelaethkhonolyi ihmithksakrabwnkarkhidaebbwithyasastrsahrbkarepnnkwicythangwithyasastraelaethkhonolyithimikhunphaph phrxmthngmikhunthrrm criythrrm aelamicitsanukinkhwamepnithy17 mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhtsurasdrthani 2559 hlksutrmikhwamoddedndanwithyasastraelaethkhonolyi insakhawichakarthisxdkhlxngkbbribthkhxngphunthi echn ethkhonolyiyang ethkhonolyisarsneths ethkhonolyichiwphaph aelaethkhonolyikarephaaeliyngstwna hrux RIBA18 mhawithyalyethkhonolyisurnari 2561 hlksutrthiennihnkeriynmithksa prasbkarn aelakarkhidwiekhraahindanwithyasastraelaethkhonolyi khwamoddednindankareriynkarsxn mungennkarcdkareriynkarsxntamaebbsaetmsuksa fukfnkarkhidwiekhraahxyangnkwithyasastr srangesrimkhwamchanaydanptibtikar karnakhwamruipprayuktichinkarsrangnwtkrrmephuxsngkhm ennphthnathksakarsuxsarphasaxngkvs19 mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhtpttani 2562xangxingsanknganelkhathikarrthmntri mtikhnarthmntri eruxng okhrngkarsnbsnunkarcdtnghxngeriynwithyasastrinorngeriynodykarkakbduaelkhxngmhawithyaly subkhnemux 14 knyayn ph s 2559 okhrngkar wmw khwamepnmakhxngokhrngkar 2021 10 09 thi ewyaebkaemchchin subkhnemux 14 knyayn ph s 2559 okhrngkar wmw khumuxkarrbsmkhr lingkesiy subkhnemux 15 knyayn ph s 2559 okhrngkar wmw khumhawithyaly orngeriyninkakb 2019 01 22 thi ewyaebkaemchchin subkhnemux 14 knyayn ph s 2559 hxngeriynwithyasastr orngeriyn mx withyanusrn surasdrthani WHAT IS SCIUS 2017 02 09 thi ewyaebkaemchchin subkhnemux 14 knyayn ph s 2559aehlngkhxmulxunokhrngkarsnbsnunkarcdtnghxngeriynwithyasastrinorngeriyn odykarkakbduaelkhxngmhawithyaly 2017 05 01 thi ewyaebkaemchchin rabbrbsmkhrxxniln okhrngkar wmw 2014 10 27 thi ewyaebkaemchchin bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk