ลูกปรายหิมะ (อังกฤษ: graupel (/ˈɡraʊpəl/)) หรืออาจเรียก เม็ดหิมะ เป็นหยาดน้ำฟ้าชนิดหนึ่ง เกิดจากการตกตะกอนเมื่อละอองหยดน้ำ (อนุภาคหยดน้ำขนาดเล็กมาก) ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งแต่ยังไม่แข็งตัว (supercool) เข้ารวมตัวและแข็งตัวบนเกล็ดหิมะที่กำลังตกลงมา โดยมีขนาด 2 – 5 มม. (0.08 – 0.20 นิ้ว ) มีลักษณะเป็นอนุภาคเกล็ดน้ำแข็งสีขาวทึบ รูปร่างกลม แต่โดยทั่วไปจะเป็นรูปทรงของเกล็ดหิมะที่ขยายขนาด ลูกปรายหิมะ แตกต่างจากลูกเห็บ ซึ่งลูกเห็บเกิดอย่างปกติทั่วไปในภาวะอากาศแปรปรวน เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง ส่วนลูกปรายหิมะมักจะตกเป็นปกติในพายุฤดูหนาว
ระเบียงภาพ
- เกล็ดหิมะ ที่กำลังเปลี่ยนเป็นลูกปรายหิมะ
- ลูกปรายหิมะที่กำลังก่อตัว
- ลูกปรายหิมะที่สมบูรณ์ ในรูปทรงของเกล็ดหิมะ
อ้างอิง
- "Graupel - Definition". Merriam-Webster Dictionary. Merriam-Webster. Retrieved 15 Jan 2012.
- "Glossary". International Cloud Atlas. World Meteorological Organization. 2017. Retrieved 2019-09-03.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lukprayhima xngkvs graupel ˈɡraʊpel hruxxaceriyk emdhima epnhyadnafachnidhnung ekidcakkartktakxnemuxlaxxnghydna xnuphakhhydnakhnadelkmak thimixunhphumitakwacudeyuxkaekhngaetyngimaekhngtw supercool ekharwmtwaelaaekhngtwbnekldhimathikalngtklngma odymikhnad 2 5 mm 0 08 0 20 niw milksnaepnxnuphakhekldnaaekhngsikhawthub ruprangklm aetodythwipcaepnrupthrngkhxngekldhimathikhyaykhnad lukprayhima aetktangcaklukehb sunglukehbekidxyangpktithwipinphawaxakasaeprprwn echn phayufnfakhanxng swnlukprayhimamkcatkepnpktiinphayuvduhnawlukprayhimakalngtkraebiyngphaphekldhima thikalngepliynepnlukprayhima lukprayhimathikalngkxtw lukprayhimathismburn inrupthrngkhxngekldhimaxangxing Graupel Definition Merriam Webster Dictionary Merriam Webster Retrieved 15 Jan 2012 Glossary International Cloud Atlas World Meteorological Organization 2017 Retrieved 2019 09 03