ลิงวอก | |
---|---|
ลิงวอกที่กำลังคาบดอกไม้ที่เขาโปะป้า ประเทศพม่า | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Mammalia |
อันดับ: | Primates |
วงศ์: | Cercopithecidae |
สกุล: | Macaca |
สปีชีส์: | M. mulatta |
ชื่อทวินาม | |
Macaca mulatta (, 1780) | |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ | |
ชื่อพ้อง | |
ชื่อพ้อง
|
ลิงวอก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Macaca mulatta) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primates) เป็นลิงที่มีร่างกายอ้วนสั้น บริเวณหลัง หัวไหล่ และตะโพกมีสีน้ำตาลปนเทา ส่วนบริเวณใต้ท้องและสีข้างมีสีอ่อนกว่า หางยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวลำตัว ขนหางค่อนข้างยาวและฟู มีการผลัดขนประมาณช่วงเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคมของทุกปี โดยจะเริ่มที่บริเวณปากก่อน หลังจากนั้นจึงจะเริ่มผลัดขนที่หลัง ตัวเมียอาจมีขนสีแดงในฤดูผสมพันธุ์ ขนที่หัวของลิงวอกจะชี้ตรงไปด้านหลัง ลิงตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย
มีความยาวลำตัวและหัว 47–58.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 20.5–28 เซนติเมตร น้ำหนัก 3–6 กิโลกรัม
มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่อัฟกานิสถาน, ภาคเหนือของอินเดีย, เนปาล, พม่า, ภาคใต้ของจีน, ลาว, เวียดนาม และภาคตะวันตกของไทย โดยในประเทศ ปัจจุบันเชื่อว่า เหลืออยู่เพียงฝูงสุดท้ายแล้วที่ ในพื้นที่อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย แต่จากข้อมูลล่าสุด ยังพบเห็นฝูงลิงวอกได้อีกที่บริเวณสะพานข้ามน้ำ หน่วยพิทักษ์ป่าศาลาพรม ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ตั้งแต่ 50 ตัวขึ้นไป สมาชิกส่วนใหญ่ในฝูงประกอบไปด้วยลิงตัวเมียและลูก ๆ ตัวเมียในฝูงจะมีบทบาทสำคัญมากกว่าตัวผู้ แต่ลิงตัวผู้จะมีบทบาทในการปกป้องฝูง ลิงวอกเริ่มผสมพันธุ์ได้เมื่อมีอายุ 3–4 ปี ระยะตั้งท้องนาน 5–7 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ลิงตัวเมียจะอยู่กับฝูงไปจนตาย แต่ตัวผู้เมื่อโตขึ้น มักจะถูกขับไล่ให้ออกจากฝูง จากการศึกษาพบว่า ลิงวอกมีความสัมพันธ์กับชุมชนมนุษย์มาเป็นเวลานาน แต่การที่ลิงวอกมักเข้ามาอาศัยและใช้ประโยชน์ในพื้นที่เกษตรกรรม จึงทำให้ไม่กลัวคน ในบางครั้งจึงถูกจับฆ่าเพื่อนำมาทำเป็นอาหารและฆ่าเพื่อลดความรำคาญ
ปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 แต่ประชาชนทั่วไป สามารถ ขออนุญาตเลี้ยงได้ ตามกฎกระทรวงกำหนดชนิดของสัตว์ป่าชนิดที่เพาะพันธุ์ได้ พ.ศ. 2546 ส่วนใหญ่จะเลี้ยงไว้ใช้งาน เป็นลิงเก็บมะพร้าว ซึ่งเป็นอาชีพดังเดิมของคนไทยที่ควรอนุรักษ์ไว้
อ้างอิง
- Eudey et al (2000). Macaca mulatta. 2006 IUCN Red List of Threatened Species. IUCN 2006. Retrieved on .
- "Macaca mulatta". .
- "บันทึกนักเดินทาง : ลิงวอกฝูงสุดท้ายในป่าเมืองไทย ?". สารคดี.[]
แหล่งข้อมูลอื่น
- ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Macaca mulatta ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingwxklingwxkthikalngkhabdxkimthiekhaopapa praethsphmasthanakarxnurksiklthukkhukkham IUCN 2 3 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Primateswngs Cercopithecidaeskul Macacaspichis M mulattachuxthwinamMacaca mulatta 1780 aephnthiaesdngkarkracayphnthuchuxphxngchuxphxngSimia erythraea 1800 Simia fulvus 1792 Macacus lasiotus 1868 Pithecus littoralis 1909 Macaca nipalensis 1840 Macaca oinops Hodgson 1840 Simia rhesus 1798 Inuus sancti johannis Swinhoe 1866 Macaca siamica 1917 Macacus tcheliensis 1872 Macacus vestitus 1892 Inuus sanctijohannis 1866 Macacus rhesus villosus 1894 Macaca mulatta mcmahoni 1932 lingwxk chuxwithyasastr Macaca mulatta epnstweliynglukdwynminxndbwanr Primates epnlingthimirangkayxwnsn briewnhlng hwihl aelataophkmisinatalpnetha swnbriewnitthxngaelasikhangmisixxnkwa hangyawpramankhrunghnungkhxngkhwamyawlatw khnhangkhxnkhangyawaelafu mikarphldkhnpramanchwngeduxnmithunaynthungkrkdakhmkhxngthukpi odycaerimthibriewnpakkxn hlngcaknncungcaerimphldkhnthihlng twemiyxacmikhnsiaednginvduphsmphnthu khnthihwkhxnglingwxkcachitrngipdanhlng lingtwphumikhnadihykwatwemiy mikhwamyawlatwaelahw 47 58 5 esntiemtr khwamyawhang 20 5 28 esntiemtr nahnk 3 6 kiolkrm mikarkracayphnthutngaetxfkanisthan phakhehnuxkhxngxinediy enpal phma phakhitkhxngcin law ewiydnam aelaphakhtawntkkhxngithy odyinpraeths pccubnechuxwa ehluxxyuephiyngfungsudthayaelwthi inphunthixaephxwngsaphung cnghwdely aetcakkhxmullasud yngphbehnfunglingwxkidxikthibriewnsaphankhamna hnwyphithkspasalaphrm inekhtrksaphnthustwpaphuekhiyw cnghwdchyphumi miphvtikrrmchxbxyurwmknepnfungihy tngaet 50 twkhunip smachikswnihyinfungprakxbipdwylingtwemiyaelaluk twemiyinfungcamibthbathsakhymakkwatwphu aetlingtwphucamibthbathinkarpkpxngfung lingwxkerimphsmphnthuidemuxmixayu 3 4 pi rayatngthxngnan 5 7 eduxn xxklukkhrngla 1 tw lingtwemiycaxyukbfungipcntay aettwphuemuxotkhun mkcathukkhbilihxxkcakfung cakkarsuksaphbwa lingwxkmikhwamsmphnthkbchumchnmnusymaepnewlanan aetkarthilingwxkmkekhamaxasyaelaichpraoychninphunthiekstrkrrm cungthaihimklwkhn inbangkhrngcungthukcbkhaephuxnamathaepnxaharaelakhaephuxldkhwamrakhay pccubn epnstwpakhumkhrxng tamphrarachbyytisngwnaelakhumkhrxngstwpa ph s 2535 aetprachachnthwip samarth khxxnuyateliyngid tamkdkrathrwngkahndchnidkhxngstwpachnidthiephaaphnthuid ph s 2546 swnihycaeliyngiwichngan epnlingekbmaphraw sungepnxachiphdngedimkhxngkhnithythikhwrxnurksiwxangxingEudey et al 2000 Macaca mulatta 2006 IUCN Red List of Threatened Species IUCN 2006 Retrieved on Macaca mulatta bnthuknkedinthang lingwxkfungsudthayinpaemuxngithy sarkhdi lingkesiy wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb lingwxkaehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb Macaca mulatta thiwikispichis