มอเตอร์โมเลกุล (อังกฤษ: Molecular motor) คือชีวจักรกลโมเลกุลอันเป็นองค์ประกอบที่จำเป็นต่อการเคลื่อนไหวในระบบต่างๆของสิ่งมีชีวิต อาจอธิบายได้ด้วยหลักการทำงานของมอเตอร์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่บริโภคพลังงานอย่างหนึ่งเข้าไปและเปลี่ยนพลังงานเหล่านั้นเป็นการเคลื่อนไหวเชิงกล มอเตอร์โมเลกุลถูกสร้างขึ้นจากโมเลกุลจำนวนมากที่มีฐานจากโปรตีน มอเตอร์โมเลกุลเหล่านี้จะไปควบคุมพลังงานเสรีทางเคมีซึ่งถูกปล่อยมาจาก (Hydrolysis) ของATP เพื่อเปลี่ยนรูปพลังงานเสรีเหล่านั้นเป็นการเคลื่อนไหวเชิงกล มอเตอร์ตัวจิ๋วเหล่านี้มีประสิทธิภาพเทียบเท่าได้กับมอเตอร์หรือเครื่องยนต์อุตสาหกรรมที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างมอเตอร์โมเลกุลกับมอเตอร์อุตสาหกรรมคือการที่มอเตอร์โมเลกุลต้องทำงานอยู่ในแหล่งสะสมพลังงานความร้อน (Thermal reservoir) หรือก็คือต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสม
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากมอเตอร์โมเลกุล อาทิในค.ศ. 2011 กลุ่มนักวิจัยได้ใช้โมเลกุลโซ่สร้างเป็นช่วงล่างแบบรถยนต์ขึ้นมาและใช้มอเตอร์โมเลกุล 4 ตัวประกอบเข้ากับช่วงล่างเหล่านั้นเพื่อทำหน้าที่เป็นล้อรถ เกิดเป็นรถนาโนที่สามารถเคลื่อนที่ไปบนพื้นผิวได้จริงโดยใช้พลังงานแสงในการขับเคลื่อน หรือในค.ศ. 2016 นักวิจัยได้สร้างโมเลกุลที่มีหัวแหลมคล้ายกับสว่านขึ้นมา และนำไปติดตั้งเข้ากับมอเตอร์โมเลกุล ได้เป็นสว่านโมเลกุลที่สามารถเจาะทะลุผนังเซลล์มะเร็งในเวลาเพียงไม่กี่นาที
อ้างอิง
- Bustamante C, Chemla YR, Forde NR, Izhaky D (2004). "Mechanical processes in biochemistry". Annu. Rev. Biochem. 73: 705–48. doi:10.1146/annurev.biochem.72.121801.161542. PMID 15189157.
- รางวัลโนเบลสาขาเคมีปี 2016: การสังเคราะห์เครื่องจักรโมเลกุล (molecular machines)[]
- Nature 2017, DOI: 10.1038/nature23657
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mxetxromelkul xngkvs Molecular motor khuxchiwckrklomelkulxnepnxngkhprakxbthicaepntxkarekhluxnihwinrabbtangkhxngsingmichiwit xacxthibayiddwyhlkkarthangankhxngmxetxr sungepnxupkrnthibriophkhphlngnganxyanghnungekhaipaelaepliynphlngnganehlannepnkarekhluxnihwechingkl mxetxromelkulthuksrangkhuncakomelkulcanwnmakthimithancakoprtin mxetxromelkulehlanicaipkhwbkhumphlngnganesrithangekhmisungthukplxymacak Hydrolysis khxngATP ephuxepliynrupphlngnganesriehlannepnkarekhluxnihwechingkl mxetxrtwciwehlanimiprasiththiphaphethiybethaidkbmxetxrhruxekhruxngyntxutsahkrrmthisrangkhunodymnusy khwamaetktangthisakhyrahwangmxetxromelkulkbmxetxrxutsahkrrmkhuxkarthimxetxromelkultxngthanganxyuinaehlngsasmphlngngankhwamrxn Thermal reservoir hruxkkhuxtxngkarxunhphumithiehmaasm twxyangkarichpraoychncakmxetxromelkul xathiinkh s 2011 klumnkwicyidichomelkulossrangepnchwnglangaebbrthyntkhunmaaelaichmxetxromelkul 4 twprakxbekhakbchwnglangehlannephuxthahnathiepnlxrth ekidepnrthnaonthisamarthekhluxnthiipbnphunphiwidcringodyichphlngnganaesnginkarkhbekhluxn hruxinkh s 2016 nkwicyidsrangomelkulthimihwaehlmkhlaykbswankhunma aelanaiptidtngekhakbmxetxromelkul idepnswanomelkulthisamarthecaathaluphnngesllmaernginewlaephiyngimkinathixangxingBustamante C Chemla YR Forde NR Izhaky D 2004 Mechanical processes in biochemistry Annu Rev Biochem 73 705 48 doi 10 1146 annurev biochem 72 121801 161542 PMID 15189157 rangwloneblsakhaekhmipi 2016 karsngekhraahekhruxngckromelkul molecular machines lingkesiy Nature 2017 DOI 10 1038 nature23657