ภาวะเสียการคำนวณ (อังกฤษ: Acalculia) เป็นภาวะบกพร่องที่ได้รับมา (acquired) ของผู้ป่วย มีอาการบกพร่องในกระบวนการทางคณิตศาสตร์ง่ายๆ เช่น การบวก, การลบ, การคูณ, หรือแม้กระทั่งการเปรียบเทียบระหว่างจำนวนว่าจำนวนใดมากกว่า ภาวะเสียการคำนวณแตกต่างจาก (dyscalculia) ซึ่งเป็นความผิดปกติของพัฒนาการ แต่ภาวะเสียการคำนวณเกิดจากการบาดเจ็บของระบบประสาทเช่นโรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะเสียการคำนวณ (Acalculia) | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | F81.2 |
ICD- | 784.69 |
ความแปรผัน
ภาวะเสียการคำนวณเกี่ยวข้องกับรอยโรคที่สมองกลีบข้าง (parietal lobe) (โดยเฉพาะที่ (angular gyrus)) และสมองกลีบหน้า (frontal lobe) ของซีรีบรัม และมีอาการแสดงแรกคือมีภาวะสมองเสื่อม (dementia) ในผู้ป่วยบางคนอาจพบอาการของการเสียการคำนวณเพียงอย่างเดียว แต่โดยทั่วไปจะพบกลุ่มอาการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น (agraphia) , (finger agnosia) , และอาการสับสนทิศทางซ้ายขวา ซึ่งเกิดจากความเสียหายของลอนสมองแองกูลาร์ข้างซ้าย หรือที่เรียกกันว่า (Gerstmann's syndrome)
จากการศึกษาผู้ป่วยซึ่งมีรอยโรคที่สมองกลีบข้างแสดงให้เห็นว่ารอยโรคที่ลอนสมองแองกูลาร์จะมีแนวโน้มเกิดความบกพร่องในการจำข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์มากกว่า เช่น สูตรคูณ โดยไม่มีความบกพร่องในการลบเลข ในทางกลับกันผู้ป่วยที่มีรอยโรคบริเวณ (intraparietal sulcus) จะมีแนวโน้มเกิดความบกพร่องในการลบเลข แต่ยังมีความสามารถในการคูณเลข จากการศึกษาข้างต้นแสดงให้เห็นว่าบริเวณต่างๆ ของสมองกลีบข้างทำหน้าที่แตกต่างกันในกระบวนการทางคณิตศาสตร์
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-15. สืบค้นเมื่อ 2010-03-03.
- "Acalculia." Stedman's Medical Dictionary, 27th ed. (2000).
- Gerstmann, J. (1940). Syndrome of finger agnosia, disorientation for right and left, agraphia, acalculia. Archives of Neurology and Psychology 44, 398–408.
- Mayer, E. et al. (1999). A pure case of Gerstmann syndrome with a subangular lesion. Brain 122, 1107–1120.
- Dehaene, S., & Cohen, L. (1997). Cerebral pathways for calculation: Double dissociation between rote verbal and quantitative knowledge of arithmetic. Cortex, 33 (2) , 219-250.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phawaesiykarkhanwn xngkvs Acalculia epnphawabkphrxngthiidrbma acquired khxngphupwy mixakarbkphrxnginkrabwnkarthangkhnitsastrngay echn karbwk karlb karkhun hruxaemkrathngkarepriybethiybrahwangcanwnwacanwnidmakkwa phawaesiykarkhanwnaetktangcak dyscalculia sungepnkhwamphidpktikhxngphthnakar aetphawaesiykarkhanwnekidcakkarbadecbkhxngrabbprasathechnorkhhlxdeluxdsmxngphawaesiykarkhanwn Acalculia bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F81 2ICD 784 69khwamaeprphnphawaesiykarkhanwnekiywkhxngkbrxyorkhthismxngklibkhang parietal lobe odyechphaathi angular gyrus aelasmxngklibhna frontal lobe khxngsiribrm aelamixakaraesdngaerkkhuxmiphawasmxngesuxm dementia inphupwybangkhnxacphbxakarkhxngkaresiykarkhanwnephiyngxyangediyw aetodythwipcaphbklumxakarxun rwmdwy echn agraphia finger agnosia aelaxakarsbsnthisthangsaykhwa sungekidcakkhwamesiyhaykhxnglxnsmxngaexngkularkhangsay hruxthieriykknwa Gerstmann s syndrome cakkarsuksaphupwysungmirxyorkhthismxngklibkhangaesdngihehnwarxyorkhthilxnsmxngaexngkularcamiaenwonmekidkhwambkphrxnginkarcakhxethccringthangkhnitsastrmakkwa echn sutrkhun odyimmikhwambkphrxnginkarlbelkh inthangklbknphupwythimirxyorkhbriewn intraparietal sulcus camiaenwonmekidkhwambkphrxnginkarlbelkh aetyngmikhwamsamarthinkarkhunelkh cakkarsuksakhangtnaesdngihehnwabriewntang khxngsmxngklibkhangthahnathiaetktangkninkrabwnkarthangkhnitsastrxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 07 15 subkhnemux 2010 03 03 Acalculia Stedman s Medical Dictionary 27th ed 2000 ISBN 0 683 40007 X Gerstmann J 1940 Syndrome of finger agnosia disorientation for right and left agraphia acalculia Archives of Neurology and Psychology 44 398 408 Mayer E et al 1999 A pure case of Gerstmann syndrome with a subangular lesion Brain 122 1107 1120 Dehaene S amp Cohen L 1997 Cerebral pathways for calculation Double dissociation between rote verbal and quantitative knowledge of arithmetic Cortex 33 2 219 250