ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ อาจมีข้อเสนอแนะ |
พลาสติก (อังกฤษ: Plastic) เป็นวัสดุในกลุ่มพอลิเมอร์ สังเคราะห์ขึ้นจากสารประกอบอินทรีย์ มีน้ำหนักโมเลกุลสูง สามารถหลอมขึ้นรูปเป็นของแข็งรูปทรงต่างๆ ได้ง่าย มีการนำมาใช้งานหลากหลายรูปแบบ เช่น ถุงพลาสติก ขวดน้ำ ภาชนะ บรรจุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนรถยนต์ ท่อประปา เป็นต้น
พลาสติกโดยทั่วไปสังเคราะห์จาก แต่ปัจจุบันมีพลาสติกที่ทำจากทรัพยากรหมุนเวียน (en:Renewable resource) มากขึ้น เช่น ทำจากกรดพอลิแลกติกที่ได้จากข้าวโพด หรือเอทานอลที่ได้จากอ้อย เป็นต้น อย่างไรก็ตาม พลาสติกที่ทำจากวัสดุทางชีวภาพบางชนิดก็ไม่สามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้
ความเป็นมาของพลาสติก
พลาสติกสังเคราะห์ชนิดแรกของโลก คือ เบคคาไลท์ (en:Bakelite) ถูกคิดค้นขึ้นโดย Leo Baekeland ในปี ค.ศ. 1907 ณ เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา และต่อมาได้มีนักเคมีคนสำคัญอีกหลายคนที่ศึกษาเรื่องพลาสติก อาทิ Hermann Staudinger ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งเคมีพอลิเมอร์ และ Herman Mark ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งฟิสิกส์พอลิเมอร์
พลาสติกเริ่มกลายมาเป็นวัสดุที่ใช้งานแพร่หลายในช่วงศตวรรษที่ 20 และอัตราการผลิตมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ในปี ค.ศ. 2018 มีปริมาณการผลิตพลาสติกทั่วโลกมากถึง 359 ล้านตัน แม้พลาสติกจะเป็นวัสดุที่มีประโยชน์หลากหลาย แต่ความคงทนของพลาสติกก็นำมาซึ่งปัญหาสิ่งแวดล้อมเช่นกัน เนื่องจากพลาสติกส่วนใหญ่ไม่สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติได้ ในระยะหลังจึงมีความพยายามที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวมากขึ้น เช่น เพิ่มอัตราการรีไซเคิลพลาสติก และรณรงค์ให้ลดการใช้พลาสติก หรือนำกลับมาใช้ซ้ำ เป็นต้น
พลาสติกชนิดต่าง ๆ
พลาสติกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ เทอร์โมพลาสติก และ เทอร์โมเซตติงพลาสติก
เทอร์โมพลาสติก
เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) หรือเรซิน เป็นพลาสติกที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยนรูปได้ พลาสติกประเภทนี้โครงสร้างโมเลกุลเป็นโซ่ตรงยาว มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์น้อย มาก จึงสามารถหลอมเหลว หรือเมื่อผ่านการอัดแรงมากจะไม่ทำลายโครงสร้างเดิม ตัวอย่าง พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิสไตรีน มีสมบัติพิเศษคือ เมื่อหลอมแล้วสามารถนำมาขึ้นรูปกลับมาใช้ใหม่ได้ ชนิดของพลาสติกใน ตระกูลเทอร์โมพลาสติก ได้แก่
- พอลิเอทิลีน (Polyethylene: PE) เป็นพลาสติกที่ไอน้ำซึมผ่านได้เล็กน้อย แต่อากาศผ่านเข้าออกได้ มีลักษณะขุ่นและทนความร้อนได้พอควร เป็นพลาสติกที่นำมาใช้มากที่สุดในอุตสาหกรรม เช่น ท่อน้ำ ถัง ถุง ขวด แท่นรองรับสินค้า
- (Polypropylene: PP) เป็นพลาสติกที่ไอน้ำซึมผ่านได้เล็กน้อย แข็งกว่าพอลิเอทิลีนทนต่อสารไขมันและความร้อนสูงใช้ทำแผ่นพลาสติถุงพลาสติกบรรจุอาหารที่ทนร้อน หลอดดูดพลาสติก เป็นต้น
- พอลิสไตรีน (Polystyrene: PS) มีลักษณะโปร่งใส เปราะ ทนต่อกรดและด่าง ไอน้ำและอากาศซึมผ่านได้พอควร ใช้ทำชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้สำนักงาน เป็นต้น
- SAN (styrene-acrylonitrile) เป็นพลาสติกโปร่งใส ใช้ผลิตชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า ชิ้นส่วนยานยนต์ เป็นต้น
- ABS (acrylonitrile-butadiene-styrene) สมบัติคล้ายพอลิสไตรีน แต่ทนสารเคมีดีกว่า เหนียวกว่า โปร่งแสง ใช้ผลิตถ้วย ถาด เป็นต้น
- พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride: PVC) ไอน้ำและอากาศซึมผ่านได้พอควร และป้องกันไขมันได้ดีมีลักษณะใส ใช้ทำขวดบรรจุน้ำมันและไขมันปรุงอาหาร ขวดบรรจุเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น ไวน์ เบียร์ ใช้ทำแผ่นพลาสติก ห่อเนยแข็ง ทำแผ่นแลมิเนตชั้นในของถุงพลาสติก
- ไนลอน (Nylon) เป็นพลาสติกที่มีความเหนียวมาก คงทนต่อการเพิ่มอุณหภูมิ ทำแผ่นแลมิเนตสำหรับทำถุงพลาสติกบรรจุอาหารแบบสุญญากาศ
- พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate: PET) เหนียวมากโปร่งใส ราคาแพง ใช้ทำแผ่นฟิล์มบาง ๆ บรรจุอาหาร
- (Polycarbonate: PC) มีลักษณะโปร่งใส แข็ง ทนแรงยึดและแรงกระแทกได้ดี ทนความร้อนสูง ทนกรด แต่ไม่ทนด่าง เป็นรอยหรือคราบอาหาร จับยาก ใช้ทำถ้วย จาน ชาม ขวดนมเด็ก และขวดบรรจุอาหารเด็ก
เทอร์โมเซตติ้งพลาสติก
เทอร์โมเซตติ้งพลาสติก (Thermosetting plastic) เป็นพลาสติกที่มีสมบัติพิเศษ คือทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและทนปฏิกิริยาเคมีได้ดี เกิดคราบและรอยเปื้อนได้ยาก คงรูปหลังการผ่านความร้อนหรือแรงดันเพียงครั้งเดียว เมื่อเย็นลงจะแข็งมาก ทนความร้อนและความดัน ไม่อ่อนตัวและเปลี่ยนรูปร่างไม่ได้ แต่ถ้าอุณหภูมิสูงก็จะแตกและไหม้เป็นขี้เถ้าสีดำ พลาสติกประเภทนี้โมเลกุลจะเชื่อมโยงกันเป็นร่างแหจับกันแน่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแข็งแรงมาก จึงไม่สามารถนำมาหลอมเหลวได้ กล่าวคือ เกิดการเชื่อมต่อข้ามไปมาระหว่างสายโซ่ของโมเลกุลของพอลิเมอร์ (cross linking among polymer chains) เหตุนี้หลังจาก พลาสติกเย็นจนแข็งตัวแล้ว จะไม่สามารถทำให้อ่อนได้อีกโดยใช้ความร้อน หากแต่จะสลายตัวทันทีที่อุณหภูมิสูงถึงระดับ การทำพลาสติกชนิดนี้ให้เป็นรูปลักษณะต่าง ๆ ต้องใช้ความร้อนสูง และโดยมากต้องการแรงอัดด้วย เทอร์โมเซตติงพลาสติก ได้แก่
- (melamine formaldehyde) มีสมบัติทางเคมีทนแรงดันได้ 7,000-135,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ทนแรงอัดได้ 25,000-50,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ทนแรงกระแทกได้ 0.25-0.35 ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ทนความร้อนได้ถึง 140 องศาเซลเซียส และทนปฏิกิริยาเคมีได้ดี เกิดคราบและรอยเปื้อนยาก เมลามีนใช้ทำภาชนะบรรจุอาหารหลายชนิด และนิยมใช้กันมาก มีทั้งที่เป็นสีเรียบและลวดลายสวยงาม ข้อเสียคือ น้ำส้มสายชูจะซึมเข้าเนื้อพลาสติกได้ง่าย ทำให้เกิดรอยด่าง แต่ไม่มีพิษภัยเพราะไม่มีปฏิกิริยากับพลาสติก
- (phenol-formaldehyde) มีความต้านทานต่อตัวทำละลายสารละลายเกลือและน้ำมัน แต่พลาสติกอาจพองบวมได้เนื่องจากน้ำหรือแอลกอฮอล์พลาสติกชนิดนี้ใช้ทำฝาจุกขวดและหม้อ
- (epoxy) ใช้เคลือบผิวของอุปกรณ์ภายในบ้านเรือน และท่อเก็บก๊าซ ใช้ในการเชื่อมส่วนประกอบโลหะ แก้ว และเซรามิก ใช้ในการหล่ออุปกรณ์ที่ทำจากโลหะและเคลือบผิวอุปกรณ์ ใช้ใส่ในส่วนประกอบของอุปกรณ์ไฟฟ้า เส้นใยของท่อ และท่อความดัน ใช้เคลือบผิวของพื้นและผนัง ใช้เป็นวัสดุของแผ่นกำบังนิวตรอน ซีเมนต์ และปูนขาว ใช้เคลือบผิวถนน เพื่อกันลื่น ใช้ทำโฟมแข็ง ใช้เป็นสารในการทำสีของแก้ว
- (polyester) กลุ่มของพอลิเมอร์ที่มีหมู่เอสเทอร์ (-O•CO-) ในหน่วยซ้ำเป็นพอลิเมอร์ที่นำมาใช้งานได้หลากหลาย เช่น ใช้ทำพลาสติกสำหรับเคลือบผิว ขวดน้ำ เส้นใย ฟิล์มและยาง เป็นต้น ตัวอย่างพอลิเมอร์ในกลุ่มนี้ เช่น พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต พอลิบิวทิลีนเทเรฟทาเลต และพอลิเมอร์ผลึกเหลวบางชนิด
- (urethane) ชื่อเรียกทั่วไปของเอทิลคาร์บาเมต มีสูตรทางเคมีคือ NH2COOC2H5
- (polyurethane) พอลิเมอร์ประกอบด้วยหมู่ยูรีเทน (–NH•CO•O-) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่าง (di-isocyanates) กับ (diols) หรือไทรออล (triols) ที่เหมาะสม ใช้เป็นกาว และ พลาสติกและยาง ชื่อย่อคือ PU
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- https://www.sciencehistory.org/science-of-plastics
- Storz, Henning. (2014). Bio-based plastics: status, challenges and trends. Landbauforschung Volkenrode. 63. 321-332. DOI: 10.3220/LBF_2013_321-332.
- American Chemical Society National Historic Chemical Landmarks. "Bakelite: The World's First Synthetic Plastic". สืบค้นเมื่อ 23 February 2015.
- Teegarden, David M. (2004). Polymer Chemistry: Introduction to an Indispensable Science. NSTA Press. ISBN – โดยทาง Google Books.
- PlasticsEurope. (2019). https://www.plasticseurope.org/application/files/1115/7236/4388/FINAL_web_version_Plastics_the_facts2019_14102019.pdf 2020-08-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
คณะอนุกรรมการเทคนิคคณะที่ 2 โครงการฉลากเขียว, 2539
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaena phlastik xngkvs Plastic epnwsduinklumphxliemxr sngekhraahkhuncaksarprakxbxinthriy minahnkomelkulsung samarthhlxmkhunrupepnkhxngaekhngrupthrngtang idngay mikarnamaichnganhlakhlayrupaebb echn thungphlastik khwdna phachna brrcuphnth efxrniecxr xupkrnthangkaraephthy chinswnkhxmphiwetxr chinswnrthynt thxprapa epntnekhruxngichphayinbanthithamacakphlastik phlastikodythwipsngekhraahcak aetpccubnmiphlastikthithacakthrphyakrhmunewiyn en Renewable resource makkhun echn thacakkrdphxliaelktikthiidcakkhawophd hruxexthanxlthiidcakxxy epntn xyangirktam phlastikthithacakwsduthangchiwphaphbangchnidkimsamarthyxyslaythangchiwphaphidkhwamepnmakhxngphlastikphlastiksngekhraahchnidaerkkhxngolk khux ebkhkhailth en Bakelite thukkhidkhnkhunody Leo Baekeland inpi kh s 1907 n emuxngniwyxrk shrthxemrika aelatxmaidminkekhmikhnsakhyxikhlaykhnthisuksaeruxngphlastik xathi Hermann Staudinger phuidrbkarykyxngwaepnbidaaehngekhmiphxliemxr aela Herman Mark phuidrbkarykyxngwaepnbidaaehngfisiksphxliemxr phlastikerimklaymaepnwsduthiichnganaephrhlayinchwngstwrrsthi 20 aelaxtrakarphlitmiaenwonmephimsungkhunthukpi inpi kh s 2018 miprimankarphlitphlastikthwolkmakthung 359 lantn aemphlastikcaepnwsduthimipraoychnhlakhlay aetkhwamkhngthnkhxngphlastikknamasungpyhasingaewdlxmechnkn enuxngcakphlastikswnihyimsamarthyxyslaytamthrrmchatiid inrayahlngcungmikhwamphyayamthicaaekpyhadngklawmakkhun echn ephimxtrakarriisekhilphlastik aelarnrngkhihldkarichphlastik hruxnaklbmaichsa epntnphlastikchnidtang phlastikaebngxxkepn 2 praephth idaek ethxromphlastik aela ethxromesttingphlastik ethxromphlastik ethxromphlastik Thermoplastic hruxersin epnphlastikthiichknaephrhlaythisudinolk idrbkhwamrxncaxxntw aelaemuxeynlngcaaekhngtw samarthepliynrupid phlastikpraephthniokhrngsrangomelkulepnostrngyaw mikarechuxmtxrahwangosphxliemxrnxy mak cungsamarthhlxmehlw hruxemuxphankarxdaerngmakcaimthalayokhrngsrangedim twxyang phxliexthilin phxliophrphilin phxlisitrin mismbtiphiesskhux emuxhlxmaelwsamarthnamakhunrupklbmaichihmid chnidkhxngphlastikin trakulethxromphlastik idaek phxliexthilin Polyethylene PE epnphlastikthiixnasumphanidelknxy aetxakasphanekhaxxkid milksnakhunaelathnkhwamrxnidphxkhwr epnphlastikthinamaichmakthisudinxutsahkrrm echn thxna thng thung khwd aethnrxngrbsinkha Polypropylene PP epnphlastikthiixnasumphanidelknxy aekhngkwaphxliexthilinthntxsarikhmnaelakhwamrxnsungichthaaephnphlastithungphlastikbrrcuxaharthithnrxn hlxddudphlastik epntnphxlisitrin Polystyrene PS milksnaoprngis epraa thntxkrdaeladang ixnaaelaxakassumphanidphxkhwr ichthachinswnxupkrniffaaelaxielkthrxniks ekhruxngichsankngan epntnSAN styrene acrylonitrile epnphlastikoprngis ichphlitchinswn ekhruxngichiffa chinswnyanynt epntnABS acrylonitrile butadiene styrene smbtikhlayphxlisitrin aetthnsarekhmidikwa ehniywkwa oprngaesng ichphlitthwy thad epntnphxliiwnilkhlxird Polyvinylchloride PVC ixnaaelaxakassumphanidphxkhwr aelapxngknikhmniddimilksnais ichthakhwdbrrcunamnaelaikhmnprungxahar khwdbrrcuekhruxngdumthimiaexlkxhxl echn iwn ebiyr ichthaaephnphlastik hxenyaekhng thaaephnaelmientchninkhxngthungphlastikinlxn Nylon epnphlastikthimikhwamehniywmak khngthntxkarephimxunhphumi thaaephnaelmientsahrbthathungphlastikbrrcuxaharaebbsuyyakasphxliexthilinetherfthaelt Polyethylene terephthalate PET ehniywmakoprngis rakhaaephng ichthaaephnfilmbang brrcuxahar Polycarbonate PC milksnaoprngis aekhng thnaerngyudaelaaerngkraaethkiddi thnkhwamrxnsung thnkrd aetimthndang epnrxyhruxkhrabxahar cbyak ichthathwy can cham khwdnmedk aelakhwdbrrcuxaharedkethxromesttingphlastik ethxromesttingphlastik Thermosetting plastic epnphlastikthimismbtiphiess khuxthnthantxkarepliynaeplngxunhphumiaelathnptikiriyaekhmiiddi ekidkhrabaelarxyepuxnidyak khngruphlngkarphankhwamrxnhruxaerngdnephiyngkhrngediyw emuxeynlngcaaekhngmak thnkhwamrxnaelakhwamdn imxxntwaelaepliynruprangimid aetthaxunhphumisungkcaaetkaelaihmepnkhiethasida phlastikpraephthniomelkulcaechuxmoyngknepnrangaehcbknaenn aerngyudehniywrahwangomelkulaekhngaerngmak cungimsamarthnamahlxmehlwid klawkhux ekidkarechuxmtxkhamipmarahwangsayoskhxngomelkulkhxngphxliemxr cross linking among polymer chains ehtunihlngcak phlastikeyncnaekhngtwaelw caimsamarththaihxxnidxikodyichkhwamrxn hakaetcaslaytwthnthithixunhphumisungthungradb karthaphlastikchnidniihepnruplksnatang txngichkhwamrxnsung aelaodymaktxngkaraerngxddwy ethxromesttingphlastik idaek melamine formaldehyde mismbtithangekhmithnaerngdnid 7 000 135 000 pxndtxtarangniw thnaerngxdid 25 000 50 000 pxndtxtarangniw thnaerngkraaethkid 0 25 0 35 thnthantxkarepliynaeplngxunhphumi thnkhwamrxnidthung 140 xngsaeslesiys aelathnptikiriyaekhmiiddi ekidkhrabaelarxyepuxnyak emlaminichthaphachnabrrcuxaharhlaychnid aelaniymichknmak mithngthiepnsieriybaelalwdlayswyngam khxesiykhux nasmsaychucasumekhaenuxphlastikidngay thaihekidrxydang aetimmiphisphyephraaimmiptikiriyakbphlastik phenol formaldehyde mikhwamtanthantxtwthalalaysarlalayekluxaelanamn aetphlastikxacphxngbwmidenuxngcaknahruxaexlkxhxlphlastikchnidniichthafacukkhwdaelahmx epoxy ichekhluxbphiwkhxngxupkrnphayinbaneruxn aelathxekbkas ichinkarechuxmswnprakxbolha aekw aelaesramik ichinkarhlxxupkrnthithacakolhaaelaekhluxbphiwxupkrn ichisinswnprakxbkhxngxupkrniffa esniykhxngthx aelathxkhwamdn ichekhluxbphiwkhxngphunaelaphnng ichepnwsdukhxngaephnkabngniwtrxn siemnt aelapunkhaw ichekhluxbphiwthnn ephuxknlun ichthaofmaekhng ichepnsarinkarthasikhxngaekw polyester klumkhxngphxliemxrthimihmuexsethxr O CO inhnwysaepnphxliemxrthinamaichnganidhlakhlay echn ichthaphlastiksahrbekhluxbphiw khwdna esniy filmaelayang epntn twxyangphxliemxrinklumni echn phxliexthilinetherfthaelt phxlibiwthilinetherfthaelt aelaphxliemxrphlukehlwbangchnid urethane chuxeriykthwipkhxngexthilkharbaemt misutrthangekhmikhux NH2COOC2H5 polyurethane phxliemxrprakxbdwyhmuyuriethn NH CO O etriymcakptikiriyarahwang di isocyanates kb diols hruxithrxxl triols thiehmaasm ichepnkaw aela phlastikaelayang chuxyxkhux PUduephimphlastikyxyslayidthangchiwphaphxangxinghttps www sciencehistory org science of plastics Storz Henning 2014 Bio based plastics status challenges and trends Landbauforschung Volkenrode 63 321 332 DOI 10 3220 LBF 2013 321 332 American Chemical Society National Historic Chemical Landmarks Bakelite The World s First Synthetic Plastic subkhnemux 23 February 2015 Teegarden David M 2004 Polymer Chemistry Introduction to an Indispensable Science NSTA Press ISBN 978 0 87355 221 9 odythang Google Books PlasticsEurope 2019 https www plasticseurope org application files 1115 7236 4388 FINAL web version Plastics the facts2019 14102019 pdf 2020 08 04 thi ewyaebkaemchchinaehlngkhxmulxunkhnaxnukrrmkarethkhnikhkhnathi 2 okhrngkarchlakekhiyw 2539 http www tpi co th tpi pprandom asp 2007 02 03 thi ewyaebkaemchchin http www tpi co th tpi pphomo asp 2007 03 05 thi ewyaebkaemchchin http www domo be en Chemicals Polymers Polypropylene PP DOMOLENECCO Homopolymer Types 2006 02 12 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk