บทความนี้ไม่มีจาก |
พลังงานกระตุ้น หรือ พลังงานก่อกัมมันต์ (อังกฤษ: activation energy) ในทางเคมีและชีววิทยา เป็นพลังงานกระตุ้น หรือพลังงานที่ต้องใช้ในการเริ่มปฏิกิริยาเคมี (chemical reaction) ให้เกิดขึ้น หรือมิฉะนั้นพลังงานกระตุ้นอาจจะแสดงได้ว่าเป็นพลังงานน้อยที่สุดที่จำเป็นสำหรับใช้กระตุ้นปฏิกิริยาเคมีให้เกิดขึ้น พลังงานกระตุ้นอาจแสดงโดยตัวย่อได้ดังนี้ 'Ea
ทฤษฎีคอลลิชันนัลโมเดล
ในทฤษฎีคอลลิชันนัลโมเดล ต้องการสิ่งที่จำเป็น 3 อย่างในการทำให้เกิดปฏิกิริยา คือ
- โมเลกุลจะต้องชนกัน (collide) แรงๆเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา ถ้า 2 โมเลกุลชนกันธรรมดาจะไม่เกิดปฏิกิริยาเสมอไป เพราะการชนกันไม่แรงพอ
- ต้องมีพลังงานที่เพียงพอ (energy of activation) สำหรับสองโมเลกุลที่จะเกิดปฏิกิริยากัน (transition state)
- ตำแหน่ง ทิศทาง และมุมการชนจะต้องถูกจัดรียงอย่างถูกต้องเหมาะสม (correct orientation) เพื่อการใช้พลังงานกระตุ้นน้อยที่สุด
- ขณะเกิดปฏิกิริยาพอจะสรุปเหตุการณ์ได้ดังนี้
- ขณะที่สองโมเลกุลเข้ามาอยู่ใกล้ชิดกันกลุ่มอิเล็กตรอนของทั้งโมเลกุลจะผลักซึ่งกันและกัน
- เพื่อเอาชนะแรงผลักปฏิกิริยาจึงต้องใช้พลังงานกระตุ้น (activation energy) ซึ่งโดยทั่วไปก็จะเป็นพลังงานความร้อน (heat)ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลทั้งสองดังนี้
- ถ้ามีพลังงานกระตุ้นมากพอและสามารถเอาชนะแรงผลักได้โมเลกุลทั้งสองก็จะเข้าใกล้ชิดกันและเกิดการดูดกัน และมีการจัดเรียงพันธะใหม่จึงเกิดปฏิกิริยาขึ้น
แหล่งข้อมูลอื่น
- "Activation energy" 2007-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (from the IUPAC "")
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phlngngankratun hrux phlngngankxkmmnt xngkvs activation energy inthangekhmiaelachiwwithya epnphlngngankratun hruxphlngnganthitxngichinkarerimptikiriyaekhmi chemical reaction ihekidkhun hruxmichannphlngngankratunxaccaaesdngidwaepnphlngngannxythisudthicaepnsahrbichkratunptikiriyaekhmiihekidkhun phlngngankratunxacaesdngodytwyxiddngni Eathvsdikhxllichnnlomedlinthvsdikhxllichnnlomedl txngkarsingthicaepn 3 xyanginkarthaihekidptikiriya khux omelkulcatxngchnkn collide aerngephuxihekidptikiriya tha 2 omelkulchnknthrrmdacaimekidptikiriyaesmxip ephraakarchnknimaerngphx txngmiphlngnganthiephiyngphx energy of activation sahrbsxngomelkulthicaekidptikiriyakn transition state taaehnng thisthang aelamumkarchncatxngthukcdriyngxyangthuktxngehmaasm correct orientation ephuxkarichphlngngankratunnxythisudkhnaekidptikiriyaphxcasrupehtukarniddngnikhnathisxngomelkulekhamaxyuiklchidknklumxielktrxnkhxngthngomelkulcaphlksungknaelakn ephuxexachnaaerngphlkptikiriyacungtxngichphlngngankratun activation energy sungodythwipkcaepnphlngngankhwamrxn heat sungthaihekidkarepliynaeplnginomelkulthngsxngdngni translation vibration karhmun rotation bangkhrngxacmikarepliynaeplngekiywkbaesng ekhmiaesng hrux iffa ekhmiiffa thamiphlngngankratunmakphxaelasamarthexachnaaerngphlkidomelkulthngsxngkcaekhaiklchidknaelaekidkardudkn aelamikarcderiyngphnthaihmcungekidptikiriyakhunaehlngkhxmulxun Activation energy 2007 09 27 thi ewyaebkaemchchin from the IUPAC bthkhwamekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk