พระเยซูถูกเฆี่ยน (ภาษาอังกฤษ: Flagellation of Christ หรือ Christ at the Column) เป็นฉากหนึ่งจากทุกขกิริยาของพระเยซูซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระเยซู “พระเยซูถูกเฆี่ยน” เป็นหัวเรื่องของศิลปะคริสต์ศาสนาที่ศิลปินนิยมสร้างหรือเขียนที่แปลงมาจากทางสู่กางเขนแต่มิได้เป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดดั้งเดิม คอลัมน์ที่พระเยซูถูกมัด, แส้, หรือไม้เบิร์ชเป็นองค์ประกอบใน (Arma Christi)—สถาบันหลายแห่งอ้างว่าเป็นเจ้าของอุปกรณ์เหล่านี้รวมทั้ง (Basilica di Santa Prassede) ในกรุงโรมที่อ้างว่าเป็นเจ้าของคอลัมน์ที่พระเยซูถูกมัด
ประวัติ
เหตุการณ์นี้ปรากฏในสามในสี่ของและเป็นเหตุการณ์ที่มักจะเกิดก่อนการตรึงกางเขนตาม ในทุกขกิริยาของพระเยซูเหตุการณ์นี้ตามด้วย “” และ “”
ฉากนี้เริ่มสร้างทางคริสต์ศาสนจักรตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 9 แต่แทบจะไม่ปรากฏในศิลปะไบแซนไทน์และหายากในศิลปะของนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ไม่ว่าจะในสมัยใด งานแรกๆ พบในหนังสือวิจิตรและงานแกะงาช้าง ในอิตาลีพบในงานจิตรกรรมฝาผนังขนาดใหญ่จากคริสต์ศตวรรษที่ 11 องค์ประกอบของภาพมักจะมีด้วยกันสามคนในภาพ—พระเยซู และผู้รับใช้สองคนของไพเลทที่ทำหน้าที่เฆี่ยน ในรูปวาดสมัยแรกพระเยซูมักจะเปลือย หรือสวมเสื้อยาวมองมาทางด้านผู้ชมรูปหรือเป็นฉากที่มองจากด้านหลัง แต่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 พระเยซูมักจะนุ่งผ้าเตี่ยว (loincloth) และหันพระพักต์มาทางผู้ชมภาพ
บางภาพก็จะมีไพเลทนั่งดูการเฆี่ยนและอาจจะมีผู้รับใช้ของภรรยาของไพเลทเดินเข้ามาพร้อมกับจดหมาย ในปลายยุคกลางจำนวนผู้เฆี่ยนก็เพิ่มเป็นสามหรือสี่คน และลักษณะของผู้ที่เฆี่ยนทางเหนือก็เริ่มอัปลักษณ์ขึ้นและแต่งตัวอย่างทหารรับจ้างในสมัยนั้น บางครั้งก็จะมี (Herod Antipas) ปรากฏในรูปด้วย การเฆี่ยนทำโดยผู้ที่ทำงานให้กับไพเลท และบางครั้งผู้เฆี่ยนก็จะใส่หมวกอย่างชาวยิว หลังจากภาพ (Maestà) โดยดุชโช การเฆี่ยนก็มักจะทำกันในที่สาธารณะต่อหน้าผู้มามุงดู
นักบวชลัทธิฟรานซิสกันผู้เผยแพร่การเฆี่ยนตัวเองเพื่อให้เข้าใจถึงความทรมานของพระเยซูอาจจะเป็นผู้รับผิดชอบการสร้างกางเขนขนาดใหญ่หลายชิ้นที่ใช้ในการแห่ที่ด้านหลังเป็นภาพการเฆี่ยนและด้านหน้าเป็นพระเยซูถูกตรึงกางเขน และอาจจะมีกลุ่มผู้เดินตามขบวนแห่ที่เฆี่ยนตัวเองไปพลางที่มองเห็นพระเยซูทรมานนำอยู่ข้างหน้าบนกางเขน
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ฉากนี้ก็อาจจะนำมาสร้างเป็นงานโดดๆ มิได้เป็นส่วนหนึ่งของภาพในชุดทุกขกิริยาของพระเยซู ในขณะเดียวกันในภาพ “พระเยซูที่คอลัมน์” ก็อาจจะเป็นภาพพระเยซูยืนอยู่คนเดียว ลักษณะนี้เป็นที่นิยมทำเป็นประติมากรรมในสมัยศิลปะบาโรก อีกฉากหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับฉากนี้แต่ไม่ปรากฏในคือฉาก “พระเยซูในคุกใต้ดิน” (Christ in the Dungeon) ซึ่งมักจะแยกจากฉาก “พระเยซูถูกเฆี่ยน” ค่อนข้างยาก หรือ ระหว่างฉาก “พระเยซูที่คอลัมน์” กับฉาก “พระเยซูถูกเฆี่ยน” ก็แยกกันยากเช่นกัน
ในสมัยใหม่ฉากนี้ก็ปรากฏในภาพยนตร์เช่นในงานที่สร้างโดย เมล กิบสัน ในปี ค.ศ. 2004 เรื่อง “The Passion of the Christ” และในงานที่สร้างโดย สแตนลีย์ คูบริค (Stanley Kubrick) ในปี ค.ศ. 1972 เรื่อง “A Clockwork Orange” เมื่อตัวละครที่ถูกจำขังที่แสดงโดยมัลคอล์ม แมคโดเวลล์ (Malcolm McDowell) จินตนาการว่าตนเองเป็นทหารโรมันที่เฆี่ยนพระเยซู
อ้างอิง
- ชิลเลอร์, จี (ค.ศ. 1972). รูปสัญลักษณ์ในศิลปะคริสต์ศาสนา, เล่ม 1. ลอนดอน: ลันด์ ฮัมฟรีย์ส. pp. หน้า 66-69, รูป 225-234 และอื่นๆ. ISBN .
{{}}
: ตรวจสอบค่า|isbn=
: length ((help)); ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|year=
((help)); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|notes=
ถูกละเว้น ((help))
- ทางตอนเหนือของภูเขาแอลป์มักจะใช้ไม้เบิร์ช
- ซึ่งยังตั้งอยู่ที่เดิม รูป
- ชิลเลอร์, 67
- ชิลเลอร์, 66-67
- ชิลเลอร์, 68
- ดูตัวอย่างจากชิลเลอร์ รูป 231, จิตรกรรมฝาผนังจากคริสต์ศตวรรษที่ จากโคโลญ
- Commons image
- ชิลเลอร์, 68
- ชิลเลอร์, 69
ดูเพิ่ม
- ศิลปะคริสต์ศาสนา
- พระเยซู
- ชีวิตของพระเยซู
- ทุกขกิริยาของพระเยซู
- พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พระเยซูถูกเฆี่ยน วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พระเยซูที่คอลัมน์
งานชิ้นสำคัญ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha phraeysuthukekhiyn phasaxngkvs Flagellation of Christ hrux Christ at the Column epnchakhnungcakthukkhkiriyakhxngphraeysusungepnswnhnungkhxngphaphchudchiwitkhxngphraeysu phraeysuthukekhiyn epnhweruxngkhxngsilpakhristsasnathisilpinniymsranghruxekhiynthiaeplngmacakthangsukangekhnaetmiidepnswnhnungkhxngphaphchuddngedim khxlmnthiphraeysuthukmd aes hruximebirchepnxngkhprakxbin Arma Christi sthabnhlayaehngxangwaepnecakhxngxupkrnehlanirwmthng Basilica di Santa Prassede inkrungormthixangwaepnecakhxngkhxlmnthiphraeysuthukmdngankracksi phraeysuthukekhiyn raw kh s 1240 phraeysuthiesa pratimakrrmxitali kh s 1817prawtiehtukarnnipraktinsaminsikhxngaelaepnehtukarnthimkcaekidkxnkartrungkangekhntam inthukkhkiriyakhxngphraeysuehtukarnnitamdwy aela chaknierimsrangthangkhristsasnckrtawntkinkhriststwrrsthi 9 aetaethbcaimpraktinsilpaibaesnithnaelahayakinsilpakhxngnikayxisetirnxxrothdxksimwacainsmyid nganaerk phbinhnngsuxwicitraelanganaekangachang inxitaliphbinngancitrkrrmfaphnngkhnadihycakkhriststwrrsthi 11 xngkhprakxbkhxngphaphmkcamidwyknsamkhninphaph phraeysu aelaphurbichsxngkhnkhxngiphelththithahnathiekhiyn inrupwadsmyaerkphraeysumkcaepluxy hruxswmesuxyawmxngmathangdanphuchmruphruxepnchakthimxngcakdanhlng aettngaetkhriststwrrsthi 12 phraeysumkcanungphaetiyw loincloth aelahnphraphktmathangphuchmphaph bangphaphkcamiiphelthnngdukarekhiynaelaxaccamiphurbichkhxngphrryakhxngiphelthedinekhamaphrxmkbcdhmay inplayyukhklangcanwnphuekhiynkephimepnsamhruxsikhn aelalksnakhxngphuthiekhiynthangehnuxkerimxplksnkhunaelaaetngtwxyangthharrbcanginsmynn bangkhrngkcami Herod Antipas praktinrupdwy karekhiynthaodyphuthithanganihkbiphelth aelabangkhrngphuekhiynkcaishmwkxyangchawyiw hlngcakphaph Maesta odyduchoch karekhiynkmkcathakninthisatharnatxhnaphumamungdu nkbwchlththifransisknphuephyaephrkarekhiyntwexngephuxihekhaicthungkhwamthrmankhxngphraeysuxaccaepnphurbphidchxbkarsrangkangekhnkhnadihyhlaychinthiichinkaraehthidanhlngepnphaphkarekhiynaeladanhnaepnphraeysuthuktrungkangekhn aelaxaccamiklumphuedintamkhbwnaehthiekhiyntwexngipphlangthimxngehnphraeysuthrmannaxyukhanghnabnkangekhn tngaetkhriststwrrsthi 15 chaknikxaccanamasrangepnnganodd miidepnswnhnungkhxngphaphinchudthukkhkiriyakhxngphraeysu inkhnaediywkninphaph phraeysuthikhxlmn kxaccaepnphaphphraeysuyunxyukhnediyw lksnaniepnthiniymthaepnpratimakrrminsmysilpabaork xikchakhnungthiekiywkhxngkbchakniaetimpraktinkhuxchak phraeysuinkhukitdin Christ in the Dungeon sungmkcaaeykcakchak phraeysuthukekhiyn khxnkhangyak hrux rahwangchak phraeysuthikhxlmn kbchak phraeysuthukekhiyn kaeykknyakechnkn insmyihmchaknikpraktinphaphyntrechninnganthisrangody eml kibsn inpi kh s 2004 eruxng The Passion of the Christ aelainnganthisrangody saetnliy khubrikh Stanley Kubrick inpi kh s 1972 eruxng A Clockwork Orange emuxtwlakhrthithukcakhngthiaesdngodymlkhxlm aemkhodewll Malcolm McDowell cintnakarwatnexngepnthharormnthiekhiynphraeysuxangxingchilelxr ci kh s 1972 rupsylksninsilpakhristsasna elm 1 lxndxn lnd hmfriys pp hna 66 69 rup 225 234 aelaxun ISBN 853313245 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a trwcsxbkha isbn length help trwcsxbkhawnthiin year help imruckpharamietxr notes thuklaewn help thangtxnehnuxkhxngphuekhaaexlpmkcaichimebirch sungyngtngxyuthiedim rup chilelxr 67 chilelxr 66 67 chilelxr 68 dutwxyangcakchilelxr rup 231 citrkrrmfaphnngcakkhriststwrrsthi cakokholy Commons image chilelxr 68 chilelxr 69duephimsilpakhristsasna phraeysu chiwitkhxngphraeysu thukkhkiriyakhxngphraeysu phraeysuthukekhiyn epiyor edlla franechska aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb phraeysuthukekhiyn wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb phraeysuthikhxlmnnganchinsakhy phraeysuthukekhiyn raw kh s 1455 1460 ody epiyor edlla franechska kh s 1476 1478 ody xnotenlol da emssina Antonello da Messina raw kh s 1607 ody kharawcoc kh s 1571 1610 ody kharawcoc