ในวิชาคณิตศาสตร์ ผลคูณคาร์ทีเซียนเป็นการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ซึ่งดำเนินการกับเซตหลายเซตได้ผลเป็นเซต (หรือ เซตผลคูณ) นั่นคือสำหรับเซต A และ B ผลคูณคาร์ทีเซียน A × B เป็นเซตของทุกคู่อันดับ (a, b) ที่ a ∈ A และ b ∈ B
กรณีที่ง่ายที่สุดของผลคูณคาร์ทีเซียนคือจัตุรัสคาร์ทีเซียน ซึ่งดำเนินการกับเซตสองเซตได้เซตหนึ่งเซต เราสามารถสร้างตารางได้โดยหาผลคูณคาร์ทีเซียนของ เซตของแถว กับ เซตของหลัก ถ้าหาผลคูณคาร์ทีเซียน แถว × หลัก เซลล์ของตารางจะประกอบด้วยคู่อันดับในรูปแบบ (ค่าของแถว, ค่าของหลัก)
ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต n เซตสามารถแสดงในรูปทูเพิล n มิติ โดยสมาชิกแต่ละตัวคือค่าของสมาชิกจากแต่ละเซตที่นำมาหาผลคูณคาร์ทีเซียน
ผลคูณคาร์ทีเซียนตั้งชื่อตามแนวคิดของ เรอเน เดการ์ต ผู้ริเริ่มวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์
ตัวอย่าง
สำรับไพ่
ตัวอย่างที่ทำให้เห็นภาพคือไพ่ป๊อก เซตเลขไพ่ {A, K, Q, J, 10, 9, 8, 7, 6, 5, 4, 3, 2} มีสมาชิก 13 ตัว และเซตหน้าไพ่ {♠, ♥, ♦, ♣} มีสมาชิก 4 ตัว ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซตทั้งสองคือเซตคู่อันดับ 52 คู่ ซึ่งสัมพันธ์กับไพ่ทั้ง 52 ใบ
เลขไพ่ × หน้าไพ่ ทำให้เกิดเซต {(A, ♠), (A, ♥), (A, ♦), (A, ♣), (K, ♠), ..., (3, ♣), (2, ♠), (2, ♥), (2, ♦), (2, ♣)} หรือ
หน้าไพ่ × เลขไพ่ ทำให้เกิดเซต {(♠, A), (♠, K), (♠, Q), (♠, J), (♠, 10), ..., (♣, 6), (♣, 5), (♣, 4), (♣, 3), (♣, 2)}
ระบบพิกัดสองมิติ
ตัวอย่างจากวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์คือระบบพิกัดคาร์ทีเซียน ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนเป็นผลลัพธ์จากการหาผลคูณคาร์ทีเซียนของเซตสองเซต X และ Y ที่หมายถึงจุดบนแกน x และแกน y ตามลำดับ ผลคูณคาร์ทีเซียนสามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ X × Y ผลคูณนี้เป็นเซตของคู่อันดับทั้งหมดที่เป็นไปได้ แต่ละคู่อันดับมีสมาชิกอันดับที่หนึ่งเป็นสมาชิกของ X และสมาชิกอันดับที่สองเป็นสมาชิกของ Y (แต่ละคู่อันดับประกอบเป็นระนาบ x–y ทั้งระนาบ) ในทางกลับกัน ผลคูณคาร์ทีเซียนอาจเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Y × X โดยสมาชิกของผลคูณนี้มีสมาชิกอันดับที่หนึ่งจากเซต Y และสมาชิกอันดับที่สองจากเซต X ผลคูณคาร์ทีเซียนจึงไม่มีสมบัติการสลับที่
การประยุกต์ใช้ทั่วไปในทฤษฎีเซต
นิยามของผลคูณคาร์ทีเซียนตามหลักการของทฤษฎีเซตเป็นผลของนิยามของคู่อันดับ นิยามของคู่อันดับที่ใช้โดยทั่วไป คือ(นิยามของ Kuratowski) ดังนี้ ข้อสังเกตภายใต้นิยามนี้ โดย เป็น เพาเวอร์เซต เพราะฉะนั้น การมีอยู่ของผลคูณคาร์ทีเซียนของสองเซตใดๆ ใน เป็นผลจากสัจพจน์แห่ง และ เพราะว่าฟังก์ชัน มักนิยามเป็นกรณีพิเศษของ และความสัมพันธ์มักนิยามเป็นสับเซตของผลคูณคาร์ทีเซียน นิยามของผลคูณคาร์ทีเซียนของเซตสองเซตสำคัญมากกว่านิยามอื่น ๆ เป็นส่วนใหญ่
การคูณคาร์ทีเซียนไม่มีสมบัติการสลับที่และเปลี่ยนหมู่
ให้ และ เป็นเซต ผลคูณคาร์ทีเซียน ไม่สามารถสลับที่ได้ นั่นคือ เพราะคู่อันดับถูกสลับอันดับ เว้นแต่เงื่อนไข
- เป็นเซตว่าง
- เป็นเซตว่าง
เป็นจริงอย่างน้อย 1 ข้อ
ตัวอย่าง
- และ
- และ
ผลคูณคาร์ทีเซียนโดยทั่วไปไม่มีสมบัติการเปลี่ยนหมู่ เว้นแต่เซตใดเซตหนึ่งเป็นเซตว่าง เพราะการเปลี่ยนหมู่เปลี่ยนลำดับการสร้างคู่อันดับ
- ตัวอย่าง
- และ
สมบัติเกี่ยวกับอินเตอร์เซกชันและยูเนียน
ให้ และ เป็นเซต
การหาผลคูณคาร์ทีเซียนก่อนหาอินเตอร์เซกชัน ได้ผลลัพธ์เท่ากับการหาอินเตอร์เซกชันก่อนหาผลคูณคาร์ทีเซียน
แต่การหาผลคูณคาร์ทีเซียนก่อนหายูเนียน ได้ผลลัพธ์ไม่เท่ากับการหายูเนียนก่อนหาผลคูณคาร์ทีเซียน
มีกฎเกี่ยวกับการแจกแจงอื่น ๆ ดังนี้:
สมบัติเกี่ยวกับเซตย่อยได้แก่:
- ถ้า แล้ว
- ถ้าทั้งและ ไม่เป็นเซตว่าง แล้ว
ภาวะเชิงการนับ
ภาวะเชิงการนับของเซตคือจำนวนสมาชิกของเซต เช่น กำหนดเซตสองเซต และ ทั้งเซต และเซต ต่างประกอบด้วยสมาชิกเซตละสองตัว ผลคูณคาร์ทีเซียนของสองเซตนี้ที่เขียนแทนด้วย เป็นเซตใหม่ที่มีสมาชิกดังนี้:
สมาชิกแต่ละตัวของ จับคู่กับสมาชิกแต่ละตัวของ แต่ละคู่เป็นสมาชิกตัวหนึ่งของเซตผลลัพธ์ จำนวนของค่าในแต่ละหลายสิ่งอันดับเท่ากับจำนวนเซตที่นำมาหาผลคูณคาร์ทีเซียน สำหรับกรณีตัวอย่าง ค่านี้เป็น 2 ภาวะเชิงการนับของเซตผลลัพธ์เท่ากับผลคูณของภาวะเชิงการนับของทุกเซตที่นำมาดำเนินการ นั่นคือ
และสามารถแสดงโดยการอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ว่า
ภาวะเชิงการนับของ เป็นอนันต์ถ้าเซต หรือเซต เซตใดเซตหนึ่งมีสมาชิกอนันต์และอีกเซตหนึ่งไม่ใช่เซตว่าง
จัตุรัสคาร์ทีเซียนและกำลังคาร์ทีเซียน
จัตุรัสคาร์ทีเซียน (หรือ ผลคูณคาร์ทีเซียนเชิงคู่) ของเซต X คือผลคูณคาร์ทีเซียน X2 = X × X ตัวอย่างคือระนาบ R2 = R × R เมื่อ R เป็นเซตของจำนวนจริง ซึ่งหมายถึงทุกจุด(x,y) ที่ x และ y เป็นจำนวนจริง (ดูหน้า ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน)
อ้างอิง
- cartesian (2014) ในพจนานุกรมออน์ไลน์ Merriam-Webster Online Dictionary เปิดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2014 จาก http://www.merriam-webster.com/dictionary/cartesian
- Warner, S: Modern Algebra, page 6. Dover Press, 1990.
- Singh, S. (2009, August 27). Cartesian product. Retrieved from the Connexions Web site: http://cnx.org/content/m15207/1.5/
- CartesianProduct on
- Cartesian Product of Subsets. (2011, February 15). ProofWiki. Retrieved 05:06, August 1, 2011 from http://www.proofwiki.org/w/index.php?title=Cartesian_Product_of_Subsets&oldid=45868
- Peter S. (1998). A Crash Course in the Mathematics Of Infinite Sets. St. John's Review, 44(2), 35–59. Retrieved August 1, 2011, from http://www.mathpath.org/concepts/infinity.htm
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inwichakhnitsastr phlkhunkharthiesiynepnkardaeninkarthangkhnitsastrsungdaeninkarkbesthlayestidphlepnest hrux estphlkhun nnkhuxsahrbest A aela B phlkhunkharthiesiyn A B epnestkhxngthukkhuxndb a b thi a A aela b Bphlkhunkharthiesiyn A B displaystyle scriptstyle A times B khxngest A x y z displaystyle scriptstyle A x y z aela B 1 2 3 displaystyle scriptstyle B 1 2 3 krnithingaythisudkhxngphlkhunkharthiesiynkhuxcturskharthiesiyn sungdaeninkarkbestsxngestidesthnungest erasamarthsrangtarangidodyhaphlkhunkharthiesiynkhxng estkhxngaethw kb estkhxnghlk thahaphlkhunkharthiesiyn aethw hlk esllkhxngtarangcaprakxbdwykhuxndbinrupaebb khakhxngaethw khakhxnghlk phlkhunkharthiesiynkhxngest n estsamarthaesdnginrupthuephil n miti odysmachikaetlatwkhuxkhakhxngsmachikcakaetlaestthinamahaphlkhunkharthiesiyn phlkhunkharthiesiyntngchuxtamaenwkhidkhxng erxen edkart phurierimwichaerkhakhnitwiekhraahtwxyangsarbiph twxyangthithaihehnphaphkhuxiphpxk estelkhiph A K Q J 10 9 8 7 6 5 4 3 2 mismachik 13 tw aelaesthnaiph mismachik 4 tw phlkhunkharthiesiynkhxngestthngsxngkhuxestkhuxndb 52 khu sungsmphnthkbiphthng 52 ib elkhiph hnaiph thaihekidest A A A A K 3 2 2 2 2 hrux hnaiph elkhiph thaihekidest A K Q J 10 6 5 4 3 2 rabbphikdsxngmiti twxyangcakwichaerkhakhnitwiekhraahkhuxrabbphikdkharthiesiyn rabbphikdkharthiesiynepnphllphthcakkarhaphlkhunkharthiesiynkhxngestsxngest X aela Y thihmaythungcudbnaekn x aelaaekn y tamladb phlkhunkharthiesiynsamarthekhiynaethndwysylksn X Y phlkhunniepnestkhxngkhuxndbthnghmdthiepnipid aetlakhuxndbmismachikxndbthihnungepnsmachikkhxng X aelasmachikxndbthisxngepnsmachikkhxng Y aetlakhuxndbprakxbepnranab x y thngranab inthangklbkn phlkhunkharthiesiynxacekhiynaethndwysylksn Y X odysmachikkhxngphlkhunnimismachikxndbthihnungcakest Y aelasmachikxndbthisxngcakest X phlkhunkharthiesiyncungimmismbtikarslbthi X Y x y x X y Y displaystyle X times Y x y mid x in X land y in Y Y X y x y Y x X displaystyle Y times X y x mid y in Y land x in X X Y Y X displaystyle X times Y neq Y times X karprayuktichthwipinthvsdiestniyamkhxngphlkhunkharthiesiyntamhlkkarkhxngthvsdiestepnphlkhxngniyamkhxngkhuxndb niyamkhxngkhuxndbthiichodythwip khuxniyamkhxng Kuratowski dngni x y x x y displaystyle x y x x y khxsngektphayitniyamni X Y P P X Y displaystyle X times Y subseteq mathcal P mathcal P X cup Y ody P displaystyle mathcal P epn ephaewxrest ephraachann karmixyukhxngphlkhunkharthiesiynkhxngsxngestid in epnphlcakscphcnaehng aela ephraawafngkchn mkniyamepnkrniphiesskhxng aelakhwamsmphnthmkniyamepnsbestkhxngphlkhunkharthiesiyn niyamkhxngphlkhunkharthiesiynkhxngestsxngestsakhymakkwaniyamxun epnswnihy karkhunkharthiesiynimmismbtikarslbthiaelaepliynhmu ih A displaystyle A B displaystyle B aela C displaystyle C epnest phlkhunkharthiesiyn A B displaystyle A times B imsamarthslbthiid nnkhux A B B A displaystyle A times B neq B times A ephraakhuxndbthukslbxndb ewnaetenguxnikh A B displaystyle A B A displaystyle A epnestwang B displaystyle B epnestwang epncringxyangnxy 1 khx twxyang A 1 2 displaystyle A 1 2 aela B 1 3 displaystyle B 1 3 A B 1 2 1 3 1 1 1 3 2 1 2 3 displaystyle A times B 1 2 times 1 3 1 1 1 3 2 1 2 3 dd B A 1 3 1 2 1 1 1 2 3 1 3 2 displaystyle B times A 1 3 times 1 2 1 1 1 2 3 1 3 2 dd A B B A displaystyle A times B neq B times A dd A B 1 2 displaystyle A B 1 2 A B B A 1 2 1 2 1 1 1 2 2 1 2 2 displaystyle A times B B times A 1 2 times 1 2 1 1 1 2 2 1 2 2 dd A 1 2 displaystyle A 1 2 aela B displaystyle B A B 1 2 displaystyle A times B 1 2 times dd B A 1 2 displaystyle B times A times 1 2 dd A B B A displaystyle A times B B times A dd phlkhunkharthiesiynodythwipimmismbtikarepliynhmu ewnaetestidesthnungepnestwang ephraakarepliynhmuepliynladbkarsrangkhuxndb twxyangA a displaystyle A a B b displaystyle B b aela C c displaystyle C c dd A B C a b c a b c a b c displaystyle A times B times C a times b times c a b times c a b c dd A B C a b c a b c a b c displaystyle A times B times C a times b times c a times b c a b c dd A B C A B C displaystyle A times B times C neq A times B times C dd smbtiekiywkbxinetxreskchnaelayueniyn ih A displaystyle A B displaystyle B C displaystyle C aela D displaystyle D epnest karhaphlkhunkharthiesiynkxnhaxinetxreskchn idphllphthethakbkarhaxinetxreskchnkxnhaphlkhunkharthiesiyn A C B D A B C D displaystyle A times C cap B times D A cap B times C cap D aetkarhaphlkhunkharthiesiynkxnhayueniyn idphllphthimethakbkarhayueniynkxnhaphlkhunkharthiesiyn A C B D A B C D displaystyle A times C cup B times D neq A cup B times C cup D A C B D A B C D displaystyle A times C cup B times D subseteq A cup B times C cup D mikdekiywkbkaraeckaecngxun dngni A B C A B A C displaystyle A times B cap C A times B cap A times C A B C A B A C displaystyle A times B cup C A times B cup A times C A B C A B A C displaystyle A times B setminus C A times B setminus A times C A B c Ac Bc Ac B A Bc displaystyle A times B c A c times B c cup A c times B cup A times B c smbtiekiywkbestyxyidaek tha A B displaystyle A subseteq B aelw A C B C displaystyle A times C subseteq B times C thathngA displaystyle A aelaB displaystyle B imepnestwang aelw A B C D A C B D displaystyle A times B subseteq C times D iff A subseteq C land B subseteq D phawaechingkarnb phawaechingkarnbkhxngestkhuxcanwnsmachikkhxngest echn kahndestsxngest A m n displaystyle A m n aela B 0 1 displaystyle B 0 1 thngest A displaystyle A aelaest B displaystyle B tangprakxbdwysmachikestlasxngtw phlkhunkharthiesiynkhxngsxngestnithiekhiynaethndwy A B displaystyle A times B epnestihmthimismachikdngni A B m 0 m 1 n 0 n 1 displaystyle A times B m 0 m 1 n 0 n 1 smachikaetlatwkhxng A displaystyle A cbkhukbsmachikaetlatwkhxng B displaystyle B aetlakhuepnsmachiktwhnungkhxngestphllphth canwnkhxngkhainaetlahlaysingxndbethakbcanwnestthinamahaphlkhunkharthiesiyn sahrbkrnitwxyang khaniepn 2 phawaechingkarnbkhxngestphllphthethakbphlkhunkhxngphawaechingkarnbkhxngthukestthinamadaeninkar nnkhux A B A B displaystyle A times B A B aelasamarthaesdngodykarxupnyechingkhnitsastrwa A1 A2 A3 An A1 A2 A3 An displaystyle A 1 times A 2 times A 3 times times A n A 1 A 2 A 3 A n phawaechingkarnbkhxng A B displaystyle A times B epnxnntthaest A displaystyle A hruxest B displaystyle B estidesthnungmismachikxnntaelaxikesthnungimichestwangcturskharthiesiynaelakalngkharthiesiyncturskharthiesiyn hrux phlkhunkharthiesiynechingkhu khxngest X khuxphlkhunkharthiesiyn X2 X X twxyangkhuxranab R2 R R emux R epnestkhxngcanwncring sunghmaythungthukcud x y thi x aela y epncanwncring duhna rabbphikdkharthiesiyn xangxingcartesian 2014 inphcnanukrmxxniln Merriam Webster Online Dictionary epidemuxwnthi 17 kumphaphnth 2014 cak http www merriam webster com dictionary cartesian Warner S Modern Algebra page 6 Dover Press 1990 Singh S 2009 August 27 Cartesian product Retrieved from the Connexions Web site http cnx org content m15207 1 5 CartesianProduct on Cartesian Product of Subsets 2011 February 15 ProofWiki Retrieved 05 06 August 1 2011 from http www proofwiki org w index php title Cartesian Product of Subsets amp oldid 45868 Peter S 1998 A Crash Course in the Mathematics Of Infinite Sets St John s Review 44 2 35 59 Retrieved August 1 2011 from http www mathpath org concepts infinity htm