ปีแยร์ กูว์รี (ฝรั่งเศส: Pierre Curie; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 – 19 เมษายน ค.ศ. 1906) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส สามีของมารี กูว์รี นักเคมีชาวโปแลนด์ ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน ค.ศ. 1903
ปีแยร์ กูว์รี | |
---|---|
กูว์รี ป. ค.ศ. 1906 | |
เกิด | 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 ปารีส ประเทศฝรั่งเศส |
เสียชีวิต | 19 เมษายน ค.ศ. 1906 ปารีส ประเทศฝรั่งเศส | (46 ปี)
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยปารีส |
มีชื่อเสียงจาก |
|
คู่สมรส | มารี กูว์รี (สมรส 1895) |
บุตร | |
รางวัล |
|
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | ฟิสิกส์, เคมี |
สถาบันที่ทำงาน | มหาวิทยาลัยปารีส |
วิทยานิพนธ์ | Propriétés magnétiques des corps à diverses températures (Magnetic properties of bodies at various temperatures) (1895) |
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอก | กาเบรียล ลิพพ์มานน์ |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | |
ลายมือชื่อ | |
ประวัติ
ปีแยร์ กูว์รี เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยบิดาของเขาเป็นนายแพทย์ หลังจากจบการศึกษาขั้นต้นแล้ว ปีแยร์ได้เข้าศึกษาต่อวิชาเคมี ที่หลังจากที่เขาจบการศึกษาแล้วได้เข้าฝึกงานกับคณะผู้เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์ของทางมหาวิทยาลัย ซึ่งเขาก็สามารถสร้างผลงานเป็นที่น่าพอใจ และในปี ค.ศ. 1878 ปีแยร์ก็ได้รับรางวัลไซเอนซิเอต (Scienciate Award) ทางฟิสิกส์ และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการห้องทดลองประจำมหาวิทยาลัยซอร์บอน และในระหว่างนี้เขาได้รับเชิญเป็นที่ปรึกษาในโรงเรียน โรงงานอุตสาหกรรม และงานทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ
ต่อมาในปี ค.ศ. 1880 ปีแยร์ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับความต่างศักย์ของไฟฟ้าระหว่างผลึกหินควอทซ์กับเกลือโรเชลลีภายใต้ความกดดันสูง จากผลการทดลองเขาพบว่า ความกดดันมีผลกระทบต่อความต่างศักย์ ซึ่งปีแยร์เรียกสั้น ๆ ว่า "ปีแยร์โซอิเล็กทริซิตี" (Pierre so Electricity) และเขาได้พบเพิ่มเติมอีกว่า ถ้าเพิ่มค่าความต่างศักย์ของไฟฟ้าให้มากขึ้น จะทำให้พื้นผิวของผลึกเกิดการสั่นสะเทือน ทำให้เกิดคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงเกินกว่าที่คนปกติจะได้ยิน แต่ก็มีประโยชน์ เพราะต่อมานักวิทยาศาสตร์รุ่นหลังได้นำหลักการเดียวกันนี้มาประดิษฐ์อุปกรณ์เกี่ยวกับเสียงหลายชนิด เช่น ไมโครโฟน เครื่องบันทึกเสียง เป็นต้น
ในปี ค.ศ. 1895 ปีแยร์ได้ทดลองเกี่ยวกับความร้อนที่เกิดขึ้นกับแม่เหล็ก จากผลการทดลองปีแยร์พบว่าที่อุณหภูมิระดับหนึ่ง แม่เหล็กไม่สามารถแสดงสมบัติออกมาได้ โดยปีแยร์เรียกอุณหภูมิระดับนี้ว่า "เคียวรีพอยต์" (Cury Point) และจากการทดลองครั้งนี้ เขาได้สร้างเครื่องมือขึ้นมาชิ้นหนึ่งชื่อว่า อิเล็กทรอมิเตอร์ (Electrometer หรือ ThermoMeter) สำหรับใช้ในการทดลองครั้งนี้ด้วย จากผลงานชิ้นนี้เขาได้รับมอบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยซอร์บอน และได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการประจำห้องทดลองเคมีและฟิสิกส์ประจำมหาวิทยาลัยซอร์บอน ซึ่งทำให้เขามีโอกาสได้พบกับมาเรีย สกวอดอฟสกา (Maria Sklodowska) และแต่งงานกันในปี ค.ศ. 1895
ชีวิตส่วนตัว
หลังจากที่ปีแยร์ได้มีโอกาสพบกับมาเรีย สกวอดอฟสกา ภายหลังทั้งคู้จึงได้แต่งงานกันในปี ค.ศ. 1895 โดยมีบุตรสาวสองคน ได้แก่
- อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี (Irène Joliot-Curie) โดยอีแรนเป็นบุตรีคนแรก และได้แต่งงานกับ ผู้ค้นคว้าเรื่องการแผ่รังสีเทียม จนได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 1935
- (Ève Denise Curie Labouisse) บุตรีคนที่สอง ได้เขียนชีวประวัติของมารดาของเธอคือมารี กูว์รี ใน ค.ศ. 1937
เสียชีวิต
ปีแยร์ กูว์รีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนนที่ปารีสเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1906 ขณะที่เขากำลังข้าม ที่มีคนชุกชมตอนฝนตกที่ Quai de Conti เขาลื่นล้มและตกลงใต้เกวียนลากม้าหนัก ล้อวงหนึ่งของเกวียนเคลื่อนไปเหนือหัว ทำให้กะโหลกแตก และทำให้เขาเสียชีวิตทันที จากคำให้การของพ่อของเขากับผู้ช่วยห้องปฏิบัติการกล่าวโดยนัยว่า ลักษณะนิสัยเหม่อลอยของกูว์รีที่หมกมุ่นอยู่กับความคิดของเขามีส่วนทำให้เขาเสียชีวิต
ทั้งมารีและปีแยร์ กูว์รีมีประสบการณ์ถูกเรเดียมเผาไหม้ทั้งโดยบังเอิญและสมัครใจ และได้รับรังสีปริมาณมากขณะทำการวิจัย ทั้งคู่เป็นโรคจากรังสีและมารี กูว์รีเสียชีวิตจากที่เกิดจากรังสีใน ค.ศ. 1934 แม้แต่ตอนนี้ เอกสารทั้งหมดของทั้งคู่ที่เขียนในคริสต์ทศวรรษ 1890 (แม้แต่ตำราอาหารของเธอ) อันตรายเกินกว่าที่จะแตะโดยไม่ได้รับการป้องกัน หนังสือในห้องปฏิบัติการของทั้งคู่ถูกเก็บไว้ในกล่องตะกั่วพิเศษ และผู้ที่ต้องการจะดูมันจะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกัน ของส่วนใหญ่สามารถพบได้ใน ถ้าปีแยร์ กูว์รีไม่ได้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ เขาก็คงมีแนวโน้มเสียชีวิตจากผลของสารกัมมันตรังสี เหมือนกับภรรยา อีแรน ลูกสาวของทั้งคู่ และ สามีของลูกสาว
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1995 มีการเคลื่อนย้ายสุสานของปีแยร์กับมารี กูว์รีจากสุสานของครอบครัวไปยังห้องฝังศพใต้ดินที่ป็องเตองในปารีส
รางวัล
- รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ร่วมกับมารี กูว์รีกับอ็องรี แบ็กแรล (1903)
- ร่วมกับมารี กูว์รี (1903): 185
- , ร่วมกับมารี กูว์รี (1904)
- (1909) ได้รับหลังเสียชีวิตในพิธีรับรางวัลของมารี กูว์รี
- Citation for Chemical Breakthrough Award from the Division of History of Chemistry of the American Chemical Society (2015)
หมายเหตุ
- ร่วมกับมารี กูว์รี ภรรยาของเขา
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-13. สืบค้นเมื่อ 2009-10-17.
- "Prof. Curie killed in a Paris street", The New York Times, 20 April 1906, จากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2018, สืบค้นเมื่อ 25 July 2018
- "Marie Curie – Tragedy and Adjustment (1906–1910)", Marie Curie and the Science of Radioactivity, 2000, จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2021, สืบค้นเมื่อ 17 January 2017
- Mould, R.F. (2007). "Pierre Curie, 1859–1906". Current Oncology. 14 (2): 74–82. doi:10.3747/co.2007.110. PMC 1891197. PMID 17576470.
- Tasch, Barbara (31 August 2015). "These personal effects of 'the mother of modern physics' will be radioactive for another 1500 years". Business Insider. จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2021. สืบค้นเมื่อ 9 July 2016.
- Concasty, Marie-Louise (1914–1977) Auteur du texte; texte, Bibliothèque nationale (France) Auteur du (1967). Pierre et Marie Curie : [exposition], Paris, Bibliothèque nationale, [octobre-décembre] 1967 / [catalogue réd. par Marie-Louise Concasty] ; [préf. par Étienne Dennery] (ภาษาอังกฤษ). จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2021. สืบค้นเมื่อ 6 November 2020.
- Redniss, Lauren (2010). Radioactive : Marie And Pierre Curie : a tale of love and fallout (1st ed.). New York: HarperEntertainment. ISBN .
- Bartusiak, Marcia (11 November 2011). ""Radioactive: Marie & Pierre Curie – A Tale of Love and Fallout" by Lauren Redniss". The Washington Post. จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2021. สืบค้นเมื่อ 9 July 2016.
- "The Nobel Prize in Physics 1903". Nobel Prize. จากแหล่งเดิมเมื่อ 31 August 2020. สืบค้นเมื่อ 8 July 2016.
- Quinn, Susan (1996). Marie Curie : a life. Reading, Mass.: Addison-Wesley. ISBN .[]
- . Accademia Nazionale delle Scienza. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 March 2016. สืบค้นเมื่อ 9 July 2016.
- "2015 Awardees". American Chemical Society, Division of the History of Chemistry. University of Illinois at Urbana-Champaign School of Chemical Sciences. 2015. จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 June 2016. สืบค้นเมื่อ 1 July 2016.
- "Citation for Chemical Breakthrough Award" (PDF). American Chemical Society, Division of the History of Chemistry. University of Illinois at Urbana-Champaign School of Chemical Sciences. 2015. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2016. สืบค้นเมื่อ 1 July 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
- NOBELPRIZE.ORG: History of Pierre and Marie
- Pierre Curie's Nobel prize
- ปีแยร์ กูว์รี ที่ Nobelprize.org including the Nobel Lecture, 6 June 1905 Radioactive Substances, Especially Radium
- Biography American Institute of Physics 16 กุมภาพันธ์ 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
piaeyr kuwri frngess Pierre Curie 15 phvsphakhm kh s 1859 19 emsayn kh s 1906 epnnkfisikschawfrngess samikhxngmari kuwri nkekhmichawopaelnd thiidrbrangwloneblsakhafisiksin kh s 1903piaeyr kuwrikuwri p kh s 1906ekid15 phvsphakhm kh s 1859 1859 05 15 paris praethsfrngessesiychiwit19 emsayn kh s 1906 1906 04 19 46 pi paris praethsfrngesssisyekamhawithyalyparismichuxesiyngcakkarslayihkmmntrngsiphubukebikkarwicysarkmmntrngsiphukhnphbphxoleniymaelaerediymphukhnphbkhusmrsmari kuwri smrs 1895 butrxiaernrangwl 1903 rangwloneblsakhafisiks 1903 1904 1909 xachiphthangwithyasastrsakhafisiks ekhmisthabnthithanganmhawithyalypariswithyaniphnthProprietes magnetiques des corps a diverses temperatures Magnetic properties of bodies at various temperatures 1895 xacarythipruksainradbpriyyaexkkaebriyl liphphmannluksisyinradbpriyyaexkmarekxrit epxaerlaymuxchuxprawtipiaeyr kuwri ekidemuxwnthi 15 phvsphakhm kh s 1859 thikrungparis praethsfrngess odybidakhxngekhaepnnayaephthy hlngcakcbkarsuksakhntnaelw piaeyridekhasuksatxwichaekhmi thihlngcakthiekhacbkarsuksaaelwidekhafukngankbkhnaphuechiywchaythangwithyasastrkhxngthangmhawithyaly sungekhaksamarthsrangphlnganepnthinaphxic aelainpi kh s 1878 piaeyrkidrbrangwlisexnsiext Scienciate Award thangfisiks aelaidrbkaraetngtngihdarngtaaehnngphuchwyphuxanwykarhxngthdlxngpracamhawithyalysxrbxn aelainrahwangniekhaidrbechiyepnthipruksainorngeriyn orngnganxutsahkrrm aelanganthangwithyasastrtang txmainpi kh s 1880 piaeyridthakarthdlxngekiywkbkhwamtangskykhxngiffarahwangphlukhinkhwxthskbekluxorechlliphayitkhwamkddnsung cakphlkarthdlxngekhaphbwa khwamkddnmiphlkrathbtxkhwamtangsky sungpiaeyreriyksn wa piaeyrosxielkthrisiti Pierre so Electricity aelaekhaidphbephimetimxikwa thaephimkhakhwamtangskykhxngiffaihmakkhun cathaihphunphiwkhxngphlukekidkarsnsaethuxn thaihekidkhlunesiyngthimikhwamthisungekinkwathikhnpkticaidyin aetkmipraoychn ephraatxmankwithyasastrrunhlngidnahlkkarediywknnimapradisthxupkrnekiywkbesiynghlaychnid echn imokhrofn ekhruxngbnthukesiyng epntn inpi kh s 1895 piaeyridthdlxngekiywkbkhwamrxnthiekidkhunkbaemehlk cakphlkarthdlxngpiaeyrphbwathixunhphumiradbhnung aemehlkimsamarthaesdngsmbtixxkmaid odypiaeyreriykxunhphumiradbniwa ekhiywriphxyt Cury Point aelacakkarthdlxngkhrngni ekhaidsrangekhruxngmuxkhunmachinhnungchuxwa xielkthrxmietxr Electrometer hrux ThermoMeter sahrbichinkarthdlxngkhrngnidwy cakphlnganchinniekhaidrbmxbpriyyaexkcakmhawithyalysxrbxn aelaidrbkaraetngtngepnphuxanwykarpracahxngthdlxngekhmiaelafisikspracamhawithyalysxrbxn sungthaihekhamioxkasidphbkbmaeriy skwxdxfska Maria Sklodowska aelaaetngngankninpi kh s 1895chiwitswntwmari kuwriinpi 1911 hlngcakthipiaeyridmioxkasphbkbmaeriy skwxdxfska phayhlngthngkhucungidaetngngankninpi kh s 1895 odymibutrsawsxngkhn idaek xiaern chxlioy kuwri Irene Joliot Curie odyxiaernepnbutrikhnaerk aelaidaetngngankb phukhnkhwaeruxngkaraephrngsiethiym cnidrbrangwloneblinpi kh s 1935 Eve Denise Curie Labouisse butrikhnthisxng idekhiynchiwprawtikhxngmardakhxngethxkhuxmari kuwri in kh s 1937esiychiwitpiaeyr kuwriesiychiwitcakxubtiehtubnthnnthiparisemuxwnthi 19 emsayn kh s 1906 khnathiekhakalngkham thimikhnchukchmtxnfntkthi Quai de Conti ekhalunlmaelatklngitekwiynlakmahnk lxwnghnungkhxngekwiynekhluxnipehnuxhw thaihkaohlkaetk aelathaihekhaesiychiwitthnthi cakkhaihkarkhxngphxkhxngekhakbphuchwyhxngptibtikarklawodynywa lksnanisyehmxlxykhxngkuwrithihmkmunxyukbkhwamkhidkhxngekhamiswnthaihekhaesiychiwit thngmariaelapiaeyr kuwrimiprasbkarnthukerediymephaihmthngodybngexiyaelasmkhric aelaidrbrngsiprimanmakkhnathakarwicy thngkhuepnorkhcakrngsiaelamari kuwriesiychiwitcakthiekidcakrngsiin kh s 1934 aemaettxnni exksarthnghmdkhxngthngkhuthiekhiyninkhristthswrrs 1890 aemaettaraxaharkhxngethx xntrayekinkwathicaaetaodyimidrbkarpxngkn hnngsuxinhxngptibtikarkhxngthngkhuthukekbiwinklxngtakwphiess aelaphuthitxngkarcadumncatxngswmxupkrnpxngkn khxngswnihysamarthphbidin thapiaeyr kuwriimidesiychiwitcakxubtiehtu ekhakkhngmiaenwonmesiychiwitcakphlkhxngsarkmmntrngsi ehmuxnkbphrrya xiaern luksawkhxngthngkhu aela samikhxngluksaw ineduxnemsayn kh s 1995 mikarekhluxnyaysusankhxngpiaeyrkbmari kuwricaksusankhxngkhrxbkhrwipynghxngfngsphitdinthipxngetxnginparis prakasniybtrrangwlonebl kh s 1903rangwlrangwloneblsakhafisiks rwmkbmari kuwrikbxxngri aebkaerl 1903 rwmkbmari kuwri 1903 185 rwmkbmari kuwri 1904 1909 idrbhlngesiychiwitinphithirbrangwlkhxngmari kuwri Citation for Chemical Breakthrough Award from the Division of History of Chemistry of the American Chemical Society 2015 hmayehturwmkbmari kuwri phrryakhxngekhaxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 08 13 subkhnemux 2009 10 17 Prof Curie killed in a Paris street The New York Times 20 April 1906 cakaehlngedimemux 25 July 2018 subkhnemux 25 July 2018 Marie Curie Tragedy and Adjustment 1906 1910 Marie Curie and the Science of Radioactivity 2000 cakaehlngedimemux 11 February 2021 subkhnemux 17 January 2017 Mould R F 2007 Pierre Curie 1859 1906 Current Oncology 14 2 74 82 doi 10 3747 co 2007 110 PMC 1891197 PMID 17576470 Tasch Barbara 31 August 2015 These personal effects of the mother of modern physics will be radioactive for another 1500 years Business Insider cakaehlngedimemux 11 February 2021 subkhnemux 9 July 2016 Concasty Marie Louise 1914 1977 Auteur du texte texte Bibliotheque nationale France Auteur du 1967 Pierre et Marie Curie exposition Paris Bibliotheque nationale octobre decembre 1967 catalogue red par Marie Louise Concasty pref par Etienne Dennery phasaxngkvs cakaehlngedimemux 11 February 2021 subkhnemux 6 November 2020 Redniss Lauren 2010 Radioactive Marie And Pierre Curie a tale of love and fallout 1st ed New York HarperEntertainment ISBN 978 0 06 135132 7 Bartusiak Marcia 11 November 2011 Radioactive Marie amp Pierre Curie A Tale of Love and Fallout by Lauren Redniss The Washington Post cakaehlngedimemux 11 February 2021 subkhnemux 9 July 2016 The Nobel Prize in Physics 1903 Nobel Prize cakaehlngedimemux 31 August 2020 subkhnemux 8 July 2016 Quinn Susan 1996 Marie Curie a life Reading Mass Addison Wesley ISBN 978 0 201 88794 5 lingkesiy Accademia Nazionale delle Scienza khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 7 March 2016 subkhnemux 9 July 2016 2015 Awardees American Chemical Society Division of the History of Chemistry University of Illinois at Urbana Champaign School of Chemical Sciences 2015 cakaehlngedimemux 21 June 2016 subkhnemux 1 July 2016 Citation for Chemical Breakthrough Award PDF American Chemical Society Division of the History of Chemistry University of Illinois at Urbana Champaign School of Chemical Sciences 2015 PDF cakaehlngedimemux 19 September 2016 subkhnemux 1 July 2016 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb piaeyr kuwri NOBELPRIZE ORG History of Pierre and Marie Pierre Curie s Nobel prize piaeyr kuwri thi Nobelprize org including the Nobel Lecture 6 June 1905 Radioactive Substances Especially Radium Biography American Institute of Physics 16 kumphaphnth 2015 thi ewyaebkaemchchin bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk