มีข้อสงสัยว่าบทความนี้อาจละเมิดลิขสิทธิ์ แต่ระบุไม่ได้ชัดเจนเพราะขาด หรืออ้างถึงสิ่งพิมพ์ที่ยังตรวจสอบไม่ได้ หากแสดงได้ว่าบทความนี้ละเมิดลิขสิทธิ์ ให้แทนป้ายนี้ด้วย {{}} หากคุณมั่นใจว่าบทความนี้ไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ ให้แสดงหลักฐาน โปรดอย่านำป้ายนี้ออกก่อนมีข้อสรุป |
ประเพณียี่เป็ง หรือประเพณีเดือนยี่ เป็นประเพณีเก่าแก่ของล้านนาที่ถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๔ โดยคำว่า “ยี่” แปลว่า สอง ส่วน เป็ง แปลว่า เพ็ญ หรือ คืนพระจันทร์เต็มดวง ซึ่งหมายถึงประเพณีในวันเพ็ญเดือนสองของชาวล้านนา ตำนานที่กล่าวถึงที่มาของประเพณียี่เป็งมีอยู่หลายตำนาน เช่น หนังสือตำนานโยนกและจามเทวีวงศ์ กล่าวว่า ประเพณีลอยโขมด หรือลอยไฟ เป็นประเพณีดั้งเดิมที่สืบเนื่องกันมาตั้งแต่โบราณกาลแล้ว การลอยโขมด เกิดขึ้นที่อาณาจักรหริภุญไชย เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๔๙๐ มีกลุ่มคนมอญหรือเม็งที่อาศัยอยู่ในเมืองหริภุญไชยได้อพยพหนีอหิวาตกโรคที่เกิดขึ้นในเมืองไปอยู่ที่เมืองสะเทิม ต่อมาเมื่ออหิวาตกโรคในหริภุญชัยได้สงบลงแล้ว จึงเดินทางกลับหริภุญไชย เมื่อถึงวันครบรอบปีที่ได้จากพี่น้องที่เมืองสะเทิม จึงจัดดอกไม้ธูปเทียน เครื่องสักการะ พร้อมทั้งเครื่องอุปโภคบริโภค ใส่ลงใน สะเปา ลักษณะคล้ายเรือ หรือใส่ในสะตวงหรือกระทงลอยลงน้ำแม่ปิง น้ำแม่กวง แม่ทา เพื่อส่งความระลึกถึงญาติพี่น้องที่ยังอยู่เมืองหงสาวดี จึงเป็นมูลเหตุของการลอยสะเปาหรือลอยโขมด หรือลอยกระทงนับแต่นั้นมาถึงปัจจุบัน ๐ งานประเพณีจะมีทั้งหมด 3 วัน คือ - วันขึ้นสิบสามค่ำ หรือ ชาวพื้นถิ่นเรียกว่า ‘วันดา’ จะเป็นวันสำหรับการซื้อของตระเตรียมสิ่งต่างๆ ไปทำบุญที่วัด (ในปีนี้ตรงกับวันที่ ๒๙ ต.ค. ๒๕๖๓) - วันขึ้นสิบสี่ค่ำ จะไปทำบุญกันที่วัด พร้อมทำกระทงใหญ่ไว้ที่วัดและนำของกินมาใส่กระทงเพื่อทำทานให้แก่คนยากจน (ในปีนี้ตรงกับวันที่ ๓๐ ต.ค. ๒๕๖๓) - วันขึ้นสิบห้าค่ำ จะนำกระทงใหญ่ที่วัดและกระทงเล็กส่วนตัวไปลอยในลำน้ำ (ในปีนี้ตรงกับวันที่ ๓๑ ต.ค. ๒๕๖๓) ๐ กิจกรรมที่ชาวล้านนานิยมกระทำในประเพณียี่เป็ง คือ การจุดผางประทีปและโคมไฟบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ การปล่อยว่าว จุดบอกไฟชนิดต่างๆ วัด การไปทำบุญที่วัดในวันยี่เป็ง การฟังเทศน์ใหญ่ ที่เรียกว่า เทศมหาชาติ และการทำซุ้มประตูป่า ๐ โดยชาวล้านนาจะเตรียมจัดตกแต่งประตูบ้านและประตูวัด ด้วยซุ้มประตูป่า โดยการนำต้นกล้วย ใบมะพร้าว ต้นอ้อย โคมหูกระต่าย โคมเงี้ยวหรือโคมชนิดอื่นๆ ดอกไม้ต่างๆ ฯลฯ ตกแต่งเป็นซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม เพื่อเป็นเครื่องสักการะถวายการต้อนรับพระเวสสันดรในวันยี่เป็ง ครั้งเสด็จออกจากป่าเข้าสู่เมือง ซึ่งปรากฏในเวสสันดรชาดก อันเป็นชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ก่อนจะประสูติเป็นพระพุทธเจ้า และเชื่อกันว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา
ตั้งธรรมหลวง
การตั้งธรรมหลวง หรือเทศน์มหาชาติ ในอดีตเป็นหัวใจหลักของงานยี่เป็ง โดยแบ่งการเทศน์เป็น วันแรกเทศน์ธรรมวัตร วันที่สองเทศน์คาถาพัน ก่อนที่จะเทศน์มหาชาติก็จะเทศน์เรื่องอื่นไปเรื่อย ๆ พอถึงวันสุดท้ายก็จะเทศน์ด้วยคัมภีร์ชื่อ มาลัยต้น มาลัยปลาย และอานิสงส์มหาชาติ รุ่งขึ้นเวลาเช้ามืดก็จะเริ่มเทศน์มหาชาติตั้งแต่กัณฑ์ทศพรเรื่อยไป จนครบทั้ง ๑๓ กัณฑ์ ซึ่งมักจะไปเสร็จเอาในเวลาทุ่มเศษ แล้วจะมีการเทศนธรรมพุทธาภิเษกปฐมสมโพธิ สวดมนต์เจ็ดตำนานย่อ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร และสวดพุทธาภิเษก ปัจจุบันนิยมเทศน์จบภายในวันเดียว
ก่อนการจัดพิธีตั้งธรรมหลวง พระเณรและชาวบ้านต้องช่วยกันเตรียมงานเป็นการใหญ่ ล่วงหน้าอย่างน้อยเป็นเดือน เพราะต้องเตรียมการในหลายส่วน เช่น การ “ตกธรรม” คือการไปนิมนต์พระเสียงดีมาเทศน์ การตกแต่งสถานที่ การทำรั้วราชวัตร ประตูป่า ประดับโครงซุ้มด้วยทางมะพร้าว ประดับด้วยฉัตร ธง ช่อช้าง ต้นกล้วย ต้นอ้อย ต้นข่า ต้นกุก มาปักไว้ให้ดูเหมือนกับประตูเข้าป่า การที่จัดทำประตูป่านี้ คาดว่าคงจำลองมาจากเรื่องในเวสสันดรชาดก คือตอนที่พระเวสสันดรถูกขับให้ออกจากเมือง พร้อมทั้งพระมเหสีและโอรสธิดา จึงพากันเข้าไปอยู่ในป่าเพื่อบวชเป็นฤาษีบำเพ็ญบารมี เมื่อไปถึงประตูป่าที่มีพรานเจตบุตรเป็นผู้เฝ้า ได้ชี้ทางไปเขาวงกตให้และอาจมีการจำลองเขาวงกตไว้ภายในวัดให้ได้เดินเล่น โดยตรงกลางเขาวงกตจะมีแท่นบูชาพระพุทธรูปอยู่ หากหลงก็วนเวียนอบยู่จนกว่าจะเข้าไปสักการะพระพุทธรูปได้ จึงเป็นที่สนุกสนานของผู้ที่มาร่วมทำบุญ สถานที่ใช้ในการ ตั้งธรรมหลวง จะนิยมใช้วิหาร ภายในจะต้องตกแต่งไปด้วยเครื่องบูชาเวสสันดรชาดก ได้แก่ ดอกบัว ดอกพ้าน(บัวสาย) ช่อสามเหลี่ยม ติดกระดาษต้อง(กระดาษฉลุ) รูปช้าง ม้า วัว ควาย ทาสหญิง ทาสชาย แก้ว แหวน เงิน ทอง อย่างละ ๑๐๐ รูป ประดับโคมผัดที่เล่าเรื่องเวสสันดรชาดก มีการทำค้างโคมแขวนบูชา มีเชือกสำหรับดึงขึ้นลงได้ จึงเรียกว่า โคมล้อ ล้อ หมายถึงรอกที่ใช้สำหรับชักเชือกขึ้นลงเพื่อจุดประทีปบูชา
ส่วนธรรมมาสน์สำหรับเป็นที่นั่งเทศน์ของพระสงฆ์ก็จะประดับตกแต่งด้วยม่าน และห้อยดอกพัน ที่อยู่ใน หับดอก ที่สานโดยแตะไม้ไผ่ประกบกัน ดอกไม้พันดอก หรือ สหสสฺปุปฺผานิ เป็นเครื่องบูชาพระธรรม บูชาพระคาถาจำนวน ๑,๐๐๐ พระคาถา ที่เรียกว่า สหสฺสคาถา ดอกไม้ที่นิยมได้แก่ดอกกาสะลอง ดอกจีหุบ(มณฑา) ดอกสารภี เป็นต้น ดอกไม้เหล่านี้เป็นดอกไม้หอมช่วยให้บรรยากาศเหมือนอยู่ในป่าหิมพานต์ที่พระเวสสันดรบำเพ็ญบารมีอยู่ที่นั่น ส่วนด้านข้างก็จะมีการจำลองเป็นป่าหิมพานต์ ปัจจุบันมีการตกแต่งด้วยซุ้มต้นไม้ดอกไม้ใส่กระถางไปประดับตกแต่งให้งดงาม
ด้านข้างพระประธานในวิหารก็จะมีอ่างน้ำมนต์ โดยใช้น้ำมันงา หรือน้ำมันมะพร้าว ใส่ลงไป โยงสายสิญจน์จากพระประธาน ไปยังธรรมมาสน์ โยงมาพันที่อ่างน้ำมนต์สามรอบ แล้วโยงกลับไปยังธรรมมาสน์ให้พระถือไว้ขณะเทศน์กัณฑ์ต่างๆ เชื่อว่าอานุภาพของการเทศน์ตั้งธรรมหลวงจะทำให้น้ำมนต์นี้ศักดิ์สิทธิ์ ใช้ทาแผล แก้ปวดเคล็ดขัดยอก แก้ผื่นคัน และเชื่อว่าจะทำให้อยู่ยงคงกระพัน
การปล่อยว่าว
ว่าว ในภาษาล้านนา หมายถึง เครื่องเล่นชนิดหนึ่งทำด้วยกระดาษ สำหรับปล่อยให้ลอยไปตามลม คล้ายกับบอลลูน ตามวัฒนธรรมของล้านนา ในช่วงยี่เป็งจะมีการปล่อยว่าว 2 แบบ คือ
- ว่าวฮม (ว่าวลม) หรือ ว่าวควัน นำกระดาษหลายสี มาทำเป็นถุงรับความร้อนจากควันไฟ ใช้ควันไฟที่มีความร้อนอัดเข้าไปในตัวว่าว เรียกว่า ฮมควัน เพื่อให้พยุงให้ลอยขึ้นไปในอากาศได้ มี2ชนิดคือ ว่าวสี่แจ่ง คือว่าวทรงสี่เหลี่ยม และ ว่าวมน คือว่าวทรงมน มักจะผูกสายประทัดติดที่หางว่าวและจุดเมื่อปล่อย นิยมปล่อยกันในช่วงกลางวัน
- ว่าวไฟ ใช้หลักการเดียวกันกับการทำว่าวฮม แต่ใช้กระดาษน้อยกว่า และอาศัยความร้อนจากลูกไฟที่ผูกติดกับแกนกลาง ทำให้ว่าวลอยขึ้นสู่อากาศ ลูกไฟที่ผูกติดแกนกลางในอดีตนั้น ใช้ขี้หญ้าหล่อเป็นแท่ง ปัจจุบันนิยมใช้กระดาษชำระชุบขี้ผึ้งเทียน นิยมจุดในตอนกลางคืน
ปัจจุบันนิยมเรียกหรือเรียกเพราะไม่รู้ตามแบบภาคกลางโดยเรียก ว่าวควันหรือว่าวฮม ว่า“โคมลอย” และเรียกว่าวไฟว่า “โคมไฟ” ทั้งๆ ที่โคมแปลว่าเครื่องใช้ที่ให้แสงสว่าง สันนิฐานว่าการปล่อยว่าวน่าาจะเป็นการทำตามแบบของพวกฝรั่งหรือมิชชันนารี ในเมืองเชียงใหม่
โคมยี่เป็ง
ในช่วงก่อนจะถึงวันยี่เป็ง จะมีการประดิษฐ์โคมรูปลักษณะต่างๆ (ภาษาล้านนาออกเสียง โคม ว่า โกม ) เพื่อเตรียมใช้ในการจุดผางประทีปบูชา โดยการแขวนใส่ค้างโคมบูชาตามพระธาตุเจดีย์ แขวนไว้หน้าวิหาร กลางวิหาร หรือในปัจจุบันนิยมแขวนประดับตกแต่งตามอาคารบ้านเรือน มีหลากหลายรูปทรง เช่น โคมรังมดส้ม โคมไห โคมกระจัง โคมดาว โคมกระบอก โคมเงี้ยว(โคมเพชร) โคมหูกระต่าย โคมผัด โคมแอว โคมญี่ปุ่น ฯลฯ อีกมากมาย
โดยสีของโคมแขวน จะมี 5 สี คือ สีน้ำเงิน สีแดง สีเหลือง สีขาว สีส้ม ตามสีของฉัพพรรณรังสี ตามตำนานเชื่อว่าการแขวนโคม 5 สีแบบนี้ จะสามารถหลอกภูตผีปีศาจ ว่าพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่นี่ ภูตผีปีศาจต่างๆก็จะกลัวรีบหนีไป ดังนั้น สีโคมแขวนแต่โบราณจึงมีเพียง 5 สีเท่านั้น แม้ภายหลังสีของโคมจะเปลี่ยนไปมีมากมายหลายสีมากขึ้น โดยถือว่าเป็นการประดับประดาเฉลิมฉลองเพื่อบูชาพระพุทธเจ้าแทน
โคมผัด เป็นโคมไฟทรงกระบอกที่ถ้าจุดไฟจะทำให้โคมไฟหมุน ตามแบบภูมิปัญญาโบราณ โดยปกติจะใช้รูปสัตว์ทั้ง12นักษัตร
ประเพณียี่เป็ง หรือประเพณีเดือนยี่ เป็นประเพณีเก่าแก่ของล้านนาที่ถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๔ โดยคำว่า “ยี่” แปลว่า สอง ส่วน เป็ง แปลว่า เพ็ญ หรือ คืนพระจันทร์เต็มดวง ซึ่งหมายถึงประเพณีในวันเพ็ญเดือนสองของชาวล้านนา ๐ ตำนานที่กล่าวถึงที่มาของประเพณียี่เป็งมีอยู่หลายตำนาน เช่น หนังสือตำนานโยนกและจามเทวีวงศ์ กล่าวว่า ประเพณีลอยโขมด หรือลอยไฟ เป็นประเพณีดั้งเดิมที่สืบเนื่องกันมาตั้งแต่โบราณกาลแล้ว การลอยโขมด เกิดขึ้นที่อาณาจักรหริภุญไชย เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๔๙๐ มีกลุ่มคนมอญหรือเม็งที่อาศัยอยู่ในเมืองหริภุญไชยได้อพยพหนีอหิวาตกโรคที่เกิดขึ้นในเมืองไปอยู่ที่เมืองสะเทิม ต่อมาเมื่ออหิวาตกโรคในหริภุญชัยได้สงบลงแล้ว จึงเดินทางกลับหริภุญไชย เมื่อถึงวันครบรอบปีที่ได้จากพี่น้องที่เมืองสะเทิม จึงจัดดอกไม้ธูปเทียน เครื่องสักการะ พร้อมทั้งเครื่องอุปโภคบริโภค ใส่ลงใน สะเปา ลักษณะคล้ายเรือ หรือใส่ในสะตวงหรือกระทงลอยลงน้ำแม่ปิง น้ำแม่กวง แม่ทา เพื่อส่งความระลึกถึงญาติพี่น้องที่ยังอยู่เมืองหงสาวดี จึงเป็นมูลเหตุของการลอยสะเปาหรือลอยโขมด หรือลอยกระทงนับแต่นั้นมาถึงปัจจุบัน ๐ งานประเพณีจะมีทั้งหมด 3 วัน คือ - วันขึ้นสิบสามค่ำ หรือ ชาวพื้นถิ่นเรียกว่า ‘วันดา’ จะเป็นวันสำหรับการซื้อของตระเตรียมสิ่งต่างๆ ไปทำบุญที่วัด (ในปีนี้ตรงกับวันที่ ๒๙ ต.ค. ๒๕๖๓) - วันขึ้นสิบสี่ค่ำ จะไปทำบุญกันที่วัด พร้อมทำกระทงใหญ่ไว้ที่วัดและนำของกินมาใส่กระทงเพื่อทำทานให้แก่คนยากจน (ในปีนี้ตรงกับวันที่ ๓๐ ต.ค. ๒๕๖๓) - วันขึ้นสิบห้าค่ำ จะนำกระทงใหญ่ที่วัดและกระทงเล็กส่วนตัวไปลอยในลำน้ำ (ในปีนี้ตรงกับวันที่ ๓๑ ต.ค. ๒๕๖๓) ๐ กิจกรรมที่ชาวล้านนานิยมกระทำในประเพณียี่เป็ง คือ การจุดผางประทีปและโคมไฟบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ การปล่อยว่าว จุดบอกไฟชนิดต่างๆ วัด การไปทำบุญที่วัดในวันยี่เป็ง การฟังเทศน์ใหญ่ ที่เรียกว่า เทศมหาชาติ และการทำซุ้มประตูป่า ๐ โดยชาวล้านนาจะเตรียมจัดตกแต่งประตูบ้านและประตูวัด ด้วยซุ้มประตูป่า โดยการนำต้นกล้วย ใบมะพร้าว ต้นอ้อย โคมหูกระต่าย โคมเงี้ยวหรือโคมชนิดอื่นๆ ดอกไม้ต่างๆ ฯลฯ ตกแต่งเป็นซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม เพื่อเป็นเครื่องสักการะถวายการต้อนรับพระเวสสันดรในวันยี่เป็ง ครั้งเสด็จออกจากป่าเข้าสู่เมือง ซึ่งปรากฏในเวสสันดรชาดก อันเป็นชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ก่อนจะประสูติเป็นพระพุทธเจ้า และเชื่อกันว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา
บอกไฟ
ในช่วงยี่เป็ง สล่าบอกไฟ (ดอกไม้ไฟ) จะมีการจัดเตรียมทำบอกไฟชนิดต่างๆ เพื่อใช้จุดเป็นพุทธบูชา บูชาพระเกศแก้วจุฬามณี จุดบูชาประกอบพิธีเทศน์มหาชาติหรือตั้งธรรมหลวง และเป็นเครื่องเล่นของเด็กๆ บอกไฟที่นิยมจุด ได้แก่ บอกไฟยิง บอกไฟข้าวต้ม บอกไฟดอก บอกไฟดาว บอกไฟบะขี้เบ้า(บอกไฟน้ำต้น) บอกไฟช้างร้อง บอกไฟเทียน เด็กๆก็มักจะเล่นบอกถบ หรือประทัด หรือจุดมะผาบ และสะโปก เพื่อให้เกิดเสียงดัง
ล่องสะเปา
ในอดีตชาวล้านนาไม่นิยมลอยกระทง แต่นิยมล่องสะเปา หรือไหลเรือสำเภา นิยมทำสะเปากันที่วัด โดยชาวบ้านช่วยกันทำสะเปาเป็นรูปเรือลำใหญ่ วางบนแพไม้ไผ่ และนำสะตวง พร้อมด้วยข้าวของต่างๆ ทั้งหม้อ ไห เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม เครื่องอุปโภค บริโภคต่างๆ ใส่ลงไปในสะเปา ในช่วงหัวค่ำของวันยี่เป็ง จึงพากันหามสะเปา พร้อมแห่ด้วยฆ้องกลองจากวัดไปลอยที่แม่น้ำ และทำพิธีเวนทานที่ท่าน้ำก่อนปล่อยสะเปาลอยลงไป ขณะที่สะเปาลอยไปได้ระยะหนึ่ง จะมีคนยากจนคอยดักรอสะเปากลางแม่น้ำ เพื่อนำเอาของอุปโภคต่างๆมาใช้อุปโภคและบริโภค จึงเป็นการบริจาคทานแบบหนึ่ง
ส่วนการลอยกระทง รับมาจากภาคกลางในช่วงหลัง โดยเจ้าดารารัศมี พระราชชายา เป็นผู้ที่ริเริ่มการลอยกระทงที่เชียงใหม่เป็นคนแรก ในช่วง พ.ศ.2460-2470 โดยจุดเทียนบนกาบมะพร้าวทำเป็นรูปเรือเล็ก หรือรูปหงส์ และใช้ท่อนไม้ปอทำเป็นรูปเรือ แต่ยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก ต่อมานายทิม โชตนา นายกเทศมนตรีเมืองเชียงใหม่ ในช่วง พ.ศ.2490 ได้สนับสนุนการท่องเที่ยวโดยจัดให้มีการลอยกระทงมากขึ้น และมีการจัดงานขึ้นที่ประตูท่าแพ และพุทธสถาน หลังจากนั้นการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้ส่งเสริมการลอยกระทงแบบกรุงเทพฯ ที่จังหวัดเชียงใหม่ขึ้นอย่างจริงจังและร่วมกับเทศบาลนครเชียงใหม่ โดยมีการประกวดขบวนกระทงเล็ก และขบวนกระทงใหญ่ ต่อมาสมาคมผู้ประกอบการย่านไนท์บาร์ซา ได้จัดประกวดขบวนโคมยี่เป็งขึ้นอีกวันหนึ่งปัจจุบันประเพณีล่องสะเปา จัดขึ้นที่ จังหวัดลำปาง เป็นประเพณีลอยกระทงของจังหวัด
การจัดตกแต่งซุ้มประตูป่า
ก่อนจะถึงวันยี่เป็ง ประมาณ ๑-๒ วัน ชาวล้านนาจะเตรียมจัดตกแต่งประตูบ้านแบะประตูวัด ด้วยซุ้มประตูป่า โดยนำต้นกล้วย ใบมะพร้าว ต้นอ้อย ต้นข่า โคมหูกระต่าย โคมเงี้ยวหรือโคมชนิดอื่นๆ ดอกตะล่อม(บานไม่รู้โรย) ดอกคำปู้จู้ (ดาวเรือง) ฯลฯ ตกแต่งเป็นซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม มีจุดมุ่งหมาย เพื่อเป็นเครื่องสักการะถวายการต้อนรับพระเวสสันดรในวันยี่เป็ง ครั้งเสด็จออกจากป่าเข้าสู่เมือง ซึ่งปรากฏในเวสสันดรชาดก อันเป็นชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ก่อนจะประสูติเป็นพระพุทธเจ้า พระครูอดุลสีลกิตติ์ (ฐานวุฑโฒ) (สัมภาษณ์, ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๑) ผู้รู้ด้านประเพณีล้านนากล่าวว่า ในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็ง ชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรมเรื่อง เวสสันดรชาดกและในกัณฑ์ที่ ๑๓ กัณฑ์สุดท้ายหรือนครกัณฑ์ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดรทรงลาผนวช และทรงเครื่องกษัตริย์เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพี ชาวบ้านชาวเมืองต่างดีใจจึงประดับตกแต่งเมืองด้วยซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม จากเรื่องราวที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกนี้คนล้านนาจึงจำลองฉากเวสสันดรชาดกมาไว้ยังบ้านของตนเอง ด้วยการตกแต่งประดับประดาจำลองเป็นป่าหิมมพานต์ และเชื่อว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา จะทำให้ได้อานิสงส์อย่างมาก
การสร้างซุ้มประตูป่า นอกจากมีคติความเชื่อ ในเรื่องการต้อนรับการเสด็จกลับจากป่าของพระเวสสันดรแล้ว ยังเป็นซุ้มที่ใช้จุดผางประทีส เพื่อบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ โดยจุดไว้ในโคมหูกระต่ายหรือโคมชนิดอื่นๆ ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง
อ้างอิง
- https://www.finearts.go.th/chiangmaimuseum/view/21724-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%87
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-08. สืบค้นเมื่อ 2018-11-02.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-21. สืบค้นเมื่อ 2018-11-02.
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-11-28. สืบค้นเมื่อ 2018-11-02.
- [:
- //library.cmu.ac.th/ntic/lannatradition/yeepeng-chomyeepeng.php "สำเนาที่เก็บถาวร"]. คลังข้อมูลเก่าเก็บจาก%5bhttps://web.archive.org/web/20181104152115/http://library.cmu.ac.th/ntic/lannatradition/yeepeng-chomyeepeng.php เก็บถาวร%5d 2018-11-04 ที่ %5b%5bเวย์แบ็กแมชชีน%5d%5d%5b%5bCategory:Webarchive template wayback links%5d%5d แหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-04. สืบค้นเมื่อ 2018-11-02.
{{}}
: line feed character ใน|archive-url=
ที่ตำแหน่ง 64 ((help)); ตรวจสอบค่า|archive-url=
((help)); ตรวจสอบค่า|url=
((help)) - https://www.finearts.go.th/chiangmaimuseum/view/21724-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%87
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-07. สืบค้นเมื่อ 2018-11-02.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-20. สืบค้นเมื่อ 2018-11-02.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-16. สืบค้นเมื่อ 2018-11-02.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-21. สืบค้นเมื่อ 2018-11-20.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mikhxsngsywabthkhwamnixaclaemidlikhsiththi aetrabuimidchdecnephraakhadaehlngthima hruxxangthungsingphimphthiyngtrwcsxbimid hakaesdngidwabthkhwamnilaemidlikhsiththi ihaethnpaynidwy laemidlikhsiththi hakkhunmnicwabthkhwamniimidlaemidlikhsiththi ihaesdnghlkthaninhnaxphipray oprdxyanapaynixxkkxnmikhxsrup praephniyiepng hruxpraephnieduxnyi epnpraephniekaaekkhxnglannathithuxptibtiknmatngaetphuththstwrrsthi 14 odykhawa yi aeplwa sxng swn epng aeplwa ephy hrux khunphracnthretmdwng sunghmaythungpraephniinwnephyeduxnsxngkhxngchawlanna tananthiklawthungthimakhxngpraephniyiepngmixyuhlaytanan echn hnngsuxtananoynkaelacamethwiwngs klawwa praephnilxyokhmd hruxlxyif epnpraephnidngedimthisubenuxngknmatngaetobrankalaelw karlxyokhmd ekidkhunthixanackrhriphuyichy emuxpraman ph s 1490 miklumkhnmxyhruxemngthixasyxyuinemuxnghriphuyichyidxphyphhnixhiwatkorkhthiekidkhuninemuxngipxyuthiemuxngsaethim txmaemuxxhiwatkorkhinhriphuychyidsngblngaelw cungedinthangklbhriphuyichy emuxthungwnkhrbrxbpithiidcakphinxngthiemuxngsaethim cungcddxkimthupethiyn ekhruxngskkara phrxmthngekhruxngxupophkhbriophkh islngin saepa lksnakhlayerux hruxisinsatwnghruxkrathnglxylngnaaemping naaemkwng aemtha ephuxsngkhwamralukthungyatiphinxngthiyngxyuemuxnghngsawdi cungepnmulehtukhxngkarlxysaepahruxlxyokhmd hruxlxykrathngnbaetnnmathungpccubn 0 nganpraephnicamithnghmd 3 wn khux wnkhunsibsamkha hrux chawphunthineriykwa wnda caepnwnsahrbkarsuxkhxngtraetriymsingtang ipthabuythiwd inpinitrngkbwnthi 29 t kh 2563 wnkhunsibsikha caipthabuyknthiwd phrxmthakrathngihyiwthiwdaelanakhxngkinmaiskrathngephuxthathanihaekkhnyakcn inpinitrngkbwnthi 30 t kh 2563 wnkhunsibhakha canakrathngihythiwdaelakrathngelkswntwiplxyinlana inpinitrngkbwnthi 31 t kh 2563 0 kickrrmthichawlannaniymkrathainpraephniyiepng khux karcudphangprathipaelaokhmifbuchaphraecahaphraxngkh karplxywaw cudbxkifchnidtang wd karipthabuythiwdinwnyiepng karfngethsnihy thieriykwa ethsmhachati aelakarthasumpratupa 0 odychawlannacaetriymcdtkaetngpratubanaelapratuwd dwysumpratupa odykarnatnklwy ibmaphraw tnxxy okhmhukratay okhmengiywhruxokhmchnidxun dxkimtang l tkaetngepnsumpratupaxyangngdngam ephuxepnekhruxngskkarathwaykartxnrbphraewssndrinwnyiepng khrngesdcxxkcakpaekhasuemuxng sungpraktinewssndrchadk xnepnchatisudthaykhxngphraophthistwkxncaprasutiepnphraphuththeca aelaechuxknwathaikhrtkaetngsumpratupaidngdngam xacthaihphraewssndresdchlngekhamainsumpratupathicalxngepnpahimphantphayinbankhxngkhxngeratngthrrmhlwngkartngthrrmhlwng hruxethsnmhachati inxditepnhwichlkkhxngnganyiepng odyaebngkarethsnepn wnaerkethsnthrrmwtr wnthisxngethsnkhathaphn kxnthicaethsnmhachatikcaethsneruxngxuniperuxy phxthungwnsudthaykcaethsndwykhmphirchux malytn malyplay aelaxanisngsmhachati rungkhunewlaechamudkcaerimethsnmhachatitngaetknththsphreruxyip cnkhrbthng 13 knth sungmkcaipesrcexainewlathumess aelwcamikarethsnthrrmphuththaphieskpthmsmophthi swdmntecdtananyx thmmckkppwtnsutr aelaswdphuththaphiesk pccubnniymethsncbphayinwnediyw kxnkarcdphithitngthrrmhlwng phraenraelachawbantxngchwyknetriymnganepnkarihy lwnghnaxyangnxyepneduxn ephraatxngetriymkarinhlayswn echn kar tkthrrm khuxkaripnimntphraesiyngdimaethsn kartkaetngsthanthi kartharwrachwtr pratupa pradbokhrngsumdwythangmaphraw pradbdwychtr thng chxchang tnklwy tnxxy tnkha tnkuk mapkiwihduehmuxnkbpratuekhapa karthicdthapratupani khadwakhngcalxngmacakeruxnginewssndrchadk khuxtxnthiphraewssndrthukkhbihxxkcakemuxng phrxmthngphramehsiaelaoxrsthida cungphaknekhaipxyuinpaephuxbwchepnvasibaephybarmi emuxipthungpratupathimiphranectbutrepnphuefa idchithangipekhawngktihaelaxacmikarcalxngekhawngktiwphayinwdihidedineln odytrngklangekhawngktcamiaethnbuchaphraphuththrupxyu hakhlngkwnewiynxbyucnkwacaekhaipskkaraphraphuththrupid cungepnthisnuksnankhxngphuthimarwmthabuy sthanthiichinkar tngthrrmhlwng caniymichwihar phayincatxngtkaetngipdwyekhruxngbuchaewssndrchadk idaek dxkbw dxkphan bwsay chxsamehliym tidkradastxng kradaschlu rupchang ma ww khway thashying thaschay aekw aehwn engin thxng xyangla 100 rup pradbokhmphdthielaeruxngewssndrchadk mikarthakhangokhmaekhwnbucha miechuxksahrbdungkhunlngid cungeriykwa okhmlx lx hmaythungrxkthiichsahrbchkechuxkkhunlngephuxcudprathipbucha swnthrrmmasnsahrbepnthinngethsnkhxngphrasngkhkcapradbtkaetngdwyman aelahxydxkphn thixyuin hbdxk thisanodyaetaimiphprakbkn dxkimphndxk hrux shss pup phani epnekhruxngbuchaphrathrrm buchaphrakhathacanwn 1 000 phrakhatha thieriykwa shs skhatha dxkimthiniymidaekdxkkasalxng dxkcihub mntha dxksarphi epntn dxkimehlaniepndxkimhxmchwyihbrryakasehmuxnxyuinpahimphantthiphraewssndrbaephybarmixyuthinn swndankhangkcamikarcalxngepnpahimphant pccubnmikartkaetngdwysumtnimdxkimiskrathangippradbtkaetngihngdngam dankhangphraprathaninwiharkcamixangnamnt odyichnamnnga hruxnamnmaphraw islngip oyngsaysiycncakphraprathan ipyngthrrmmasn oyngmaphnthixangnamntsamrxb aelwoyngklbipyngthrrmmasnihphrathuxiwkhnaethsnknthtang echuxwaxanuphaphkhxngkarethsntngthrrmhlwngcathaihnamntniskdisiththi ichthaaephl aekpwdekhldkhdyxk aekphunkhn aelaechuxwacathaihxyuyngkhngkraphnkarplxywawwaw inphasalanna hmaythung ekhruxngelnchnidhnungthadwykradas sahrbplxyihlxyiptamlm khlaykbbxllun tamwthnthrrmkhxnglanna inchwngyiepngcamikarplxywaw 2 aebb khux wawhm wawlm hrux wawkhwn nakradashlaysi mathaepnthungrbkhwamrxncakkhwnif ichkhwnifthimikhwamrxnxdekhaipintwwaw eriykwa hmkhwn ephuxihphyungihlxykhunipinxakasid mi2chnidkhux wawsiaecng khuxwawthrngsiehliym aela wawmn khuxwawthrngmn mkcaphuksayprathdtidthihangwawaelacudemuxplxy niymplxykninchwngklangwn wawif ichhlkkarediywknkbkarthawawhm aetichkradasnxykwa aelaxasykhwamrxncaklukifthiphuktidkbaeknklang thaihwawlxykhunsuxakas lukifthiphuktidaeknklanginxditnn ichkhihyahlxepnaethng pccubnniymichkradascharachubkhiphungethiyn niymcudintxnklangkhun pccubnniymeriykhruxeriykephraaimrutamaebbphakhklangodyeriyk wawkhwnhruxwawhm wa okhmlxy aelaeriykwawifwa okhmif thng thiokhmaeplwaekhruxngichthiihaesngswang snnithanwakarplxywawnaacaepnkarthatamaebbkhxngphwkfrnghruxmichchnnari inemuxngechiyngihmokhmyiepnginchwngkxncathungwnyiepng camikarpradisthokhmruplksnatang phasalannaxxkesiyng okhm wa okm ephuxetriymichinkarcudphangprathipbucha odykaraekhwniskhangokhmbuchatamphrathatuecdiy aekhwniwhnawihar klangwihar hruxinpccubnniymaekhwnpradbtkaetngtamxakharbaneruxn mihlakhlayrupthrng echn okhmrngmdsm okhmih okhmkracng okhmdaw okhmkrabxk okhmengiyw okhmephchr okhmhukratay okhmphd okhmaexw okhmyipun l xikmakmay odysikhxngokhmaekhwn cami 5 si khux sinaengin siaedng siehluxng sikhaw sism tamsikhxngchphphrrnrngsi tamtananechuxwakaraekhwnokhm 5 siaebbni casamarthhlxkphutphipisac waphraphuththecaprathbxyuthini phutphipisactangkcaklwribhniip dngnn siokhmaekhwnaetobrancungmiephiyng 5 siethann aemphayhlngsikhxngokhmcaepliynipmimakmayhlaysimakkhun odythuxwaepnkarpradbpradaechlimchlxngephuxbuchaphraphuththecaaethn okhmphd epnokhmifthrngkrabxkthithacudifcathaihokhmifhmun tamaebbphumipyyaobran odypkticaichrupstwthng12nkstr praephniyiepng hruxpraephnieduxnyi epnpraephniekaaekkhxnglannathithuxptibtiknmatngaetphuththstwrrsthi 14 odykhawa yi aeplwa sxng swn epng aeplwa ephy hrux khunphracnthretmdwng sunghmaythungpraephniinwnephyeduxnsxngkhxngchawlanna 0 tananthiklawthungthimakhxngpraephniyiepngmixyuhlaytanan echn hnngsuxtananoynkaelacamethwiwngs klawwa praephnilxyokhmd hruxlxyif epnpraephnidngedimthisubenuxngknmatngaetobrankalaelw karlxyokhmd ekidkhunthixanackrhriphuyichy emuxpraman ph s 1490 miklumkhnmxyhruxemngthixasyxyuinemuxnghriphuyichyidxphyphhnixhiwatkorkhthiekidkhuninemuxngipxyuthiemuxngsaethim txmaemuxxhiwatkorkhinhriphuychyidsngblngaelw cungedinthangklbhriphuyichy emuxthungwnkhrbrxbpithiidcakphinxngthiemuxngsaethim cungcddxkimthupethiyn ekhruxngskkara phrxmthngekhruxngxupophkhbriophkh islngin saepa lksnakhlayerux hruxisinsatwnghruxkrathnglxylngnaaemping naaemkwng aemtha ephuxsngkhwamralukthungyatiphinxngthiyngxyuemuxnghngsawdi cungepnmulehtukhxngkarlxysaepahruxlxyokhmd hruxlxykrathngnbaetnnmathungpccubn 0 nganpraephnicamithnghmd 3 wn khux wnkhunsibsamkha hrux chawphunthineriykwa wnda caepnwnsahrbkarsuxkhxngtraetriymsingtang ipthabuythiwd inpinitrngkbwnthi 29 t kh 2563 wnkhunsibsikha caipthabuyknthiwd phrxmthakrathngihyiwthiwdaelanakhxngkinmaiskrathngephuxthathanihaekkhnyakcn inpinitrngkbwnthi 30 t kh 2563 wnkhunsibhakha canakrathngihythiwdaelakrathngelkswntwiplxyinlana inpinitrngkbwnthi 31 t kh 2563 0 kickrrmthichawlannaniymkrathainpraephniyiepng khux karcudphangprathipaelaokhmifbuchaphraecahaphraxngkh karplxywaw cudbxkifchnidtang wd karipthabuythiwdinwnyiepng karfngethsnihy thieriykwa ethsmhachati aelakarthasumpratupa 0 odychawlannacaetriymcdtkaetngpratubanaelapratuwd dwysumpratupa odykarnatnklwy ibmaphraw tnxxy okhmhukratay okhmengiywhruxokhmchnidxun dxkimtang l tkaetngepnsumpratupaxyangngdngam ephuxepnekhruxngskkarathwaykartxnrbphraewssndrinwnyiepng khrngesdcxxkcakpaekhasuemuxng sungpraktinewssndrchadk xnepnchatisudthaykhxngphraophthistwkxncaprasutiepnphraphuththeca aelaechuxknwathaikhrtkaetngsumpratupaidngdngam xacthaihphraewssndresdchlngekhamainsumpratupathicalxngepnpahimphantphayinbankhxngkhxngerabxkifinchwngyiepng slabxkif dxkimif camikarcdetriymthabxkifchnidtang ephuxichcudepnphuththbucha buchaphraeksaekwculamni cudbuchaprakxbphithiethsnmhachatihruxtngthrrmhlwng aelaepnekhruxngelnkhxngedk bxkifthiniymcud idaek bxkifying bxkifkhawtm bxkifdxk bxkifdaw bxkifbakhieba bxkifnatn bxkifchangrxng bxkifethiyn edkkmkcaelnbxkthb hruxprathd hruxcudmaphab aelasaopk ephuxihekidesiyngdnglxngsaepainxditchawlannaimniymlxykrathng aetniymlxngsaepa hruxihleruxsaepha niymthasaepaknthiwd odychawbanchwyknthasaepaepnruperuxlaihy wangbnaephimiph aelanasatwng phrxmdwykhawkhxngtang thnghmx ih esuxpha ekhruxngnunghm ekhruxngxupophkh briophkhtang islngipinsaepa inchwnghwkhakhxngwnyiepng cungphaknhamsaepa phrxmaehdwykhxngklxngcakwdiplxythiaemna aelathaphithiewnthanthithanakxnplxysaepalxylngip khnathisaepalxyipidrayahnung camikhnyakcnkhxydkrxsaepaklangaemna ephuxnaexakhxngxupophkhtangmaichxupophkhaelabriophkh cungepnkarbricakhthanaebbhnung swnkarlxykrathng rbmacakphakhklanginchwnghlng odyecadararsmi phrarachchaya epnphuthirierimkarlxykrathngthiechiyngihmepnkhnaerk inchwng ph s 2460 2470 odycudethiynbnkabmaphrawthaepnruperuxelk hruxruphngs aelaichthxnimpxthaepnruperux aetyngimepnthiniymmaknk txmanaythim ochtna naykethsmntriemuxngechiyngihm inchwng ph s 2490 idsnbsnunkarthxngethiywodycdihmikarlxykrathngmakkhun aelamikarcdngankhunthipratuthaaeph aelaphuththsthan hlngcaknnkarthxngethiywaehngpraethsithy idsngesrimkarlxykrathngaebbkrungethph thicnghwdechiyngihmkhunxyangcringcngaelarwmkbethsbalnkhrechiyngihm odymikarprakwdkhbwnkrathngelk aelakhbwnkrathngihy txmasmakhmphuprakxbkaryaninthbarsa idcdprakwdkhbwnokhmyiepngkhunxikwnhnungpccubnpraephnilxngsaepa cdkhunthi cnghwdlapang epnpraephnilxykrathngkhxngcnghwdkarcdtkaetngsumpratupakxncathungwnyiepng praman 1 2 wn chawlannacaetriymcdtkaetngpratubanaebapratuwd dwysumpratupa odynatnklwy ibmaphraw tnxxy tnkha okhmhukratay okhmengiywhruxokhmchnidxun dxktalxm banimruory dxkkhapucu daweruxng l tkaetngepnsumpratupaxyangngdngam micudmunghmay ephuxepnekhruxngskkarathwaykartxnrbphraewssndrinwnyiepng khrngesdcxxkcakpaekhasuemuxng sungpraktinewssndrchadk xnepnchatisudthaykhxngphraophthistwkxncaprasutiepnphraphuththeca phrakhruxdulsilkitti thanwuthoth smphasn 4 phvscikayn 2551 phurudanpraephnilannaklawwa inchwngpraephnieduxnyiepng chawlannaniymthicdethsnathrrmeruxng ewssndrchadkaelainknththi 13 knthsudthayhruxnkhrknth epnkarphrrnnaekiywkbehtukarnhlngcakphraewssndrthrnglaphnwch aelathrngekhruxngkstriyesdcklbcakpahimphantephuxekhakhrxngnkhrsiphi chawbanchawemuxngtangdiiccungpradbtkaetngemuxngdwysumpratupaxyangngdngam cakeruxngrawthipraktinewssndrchadknikhnlannacungcalxngchakewssndrchadkmaiwyngbankhxngtnexng dwykartkaetngpradbpradacalxngepnpahimmphant aelaechuxwathaikhrtkaetngsumpratupaidngdngam xacthaihphraewssndresdchlngekhamainsumpratupathicalxngepnpahimphantphayinbankhxngkhxngera cathaihidxanisngsxyangmak karsrangsumpratupa nxkcakmikhtikhwamechux ineruxngkartxnrbkaresdcklbcakpakhxngphraewssndraelw yngepnsumthiichcudphangprathis ephuxbuchaphraecahaphraxngkh odycudiwinokhmhukratayhruxokhmchnidxun thiichinkarpradbtkaetngxangxinghttps www finearts go th chiangmaimuseum view 21724 E0 B8 9B E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 B9 80 E0 B8 9E E0 B8 93 E0 B8 B5 E0 B8 A2 E0 B8 B5 E0 B9 88 E0 B9 80 E0 B8 9B E0 B9 87 E0 B8 87 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 11 08 subkhnemux 2018 11 02 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 10 21 subkhnemux 2018 11 02 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2021 11 28 subkhnemux 2018 11 02 library cmu ac th ntic lannatradition yeepeng chomyeepeng php saenathiekbthawr khlngkhxmulekaekbcak 5bhttps web archive org web 20181104152115 http library cmu ac th ntic lannatradition yeepeng chomyeepeng php ekbthawr 5d 2018 11 04 thi 5b 5bewyaebkaemchchin 5d 5d 5b 5bCategory Webarchive template wayback links 5d 5d aehlngedimemux 2018 11 04 subkhnemux 2018 11 02 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a line feed character in archive url thitaaehnng 64 help trwcsxbkha archive url help trwcsxbkha url help https www finearts go th chiangmaimuseum view 21724 E0 B8 9B E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 B9 80 E0 B8 9E E0 B8 93 E0 B8 B5 E0 B8 A2 E0 B8 B5 E0 B9 88 E0 B9 80 E0 B8 9B E0 B9 87 E0 B8 87 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 11 07 subkhnemux 2018 11 02 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 10 20 subkhnemux 2018 11 02 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 11 16 subkhnemux 2018 11 02 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 11 21 subkhnemux 2018 11 20 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk