บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ปฏิบัติการช่างตัดไม้ (อังกฤษ: Operation Lumberjack) เป็นปฏิบัติการทางทหารซึ่งดำเนินการในขั้นสุดท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ดำเนินการโดยกองทัพสหรัฐที่หนึ่งในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1945 เพื่อยึดเมืองสำคัญทางยุทธศาสตร์ในเยอรมนี อย่างเช่น โคโลญ และเพื่อให้ฝ่ายสัมพันธมิตรมีที่มั่นที่มั่นคงตามแม่น้ำไรน์
ปฏิบัติการช่างตัดไม้ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
กองพลยานเกราะที่ 9 ข้ามสะพานรางรถไฟลูเดนดอฟฟ์ | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สหรัฐอเมริกา เบลเยียม | เยอรมนี | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
กำลัง | |||||||
300,000นาย | 45,000นาย | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
11,215นาย | 33,000นาย |
เมื่อกลุ่มกองทัพที่ 21 ตั้งฐานที่มั่นตามแม่น้ำไรน์อย่างแน่นหนาแล้ว กลุ่มกองทัพที่ 12 ของพลเอกแบรดเลย์เตรียมการที่จะลงมือในปฏิบัติการช่างตัดไม้ แผนการดังกล่าวสอดรับกับการที่กองทัพที่ 1 จะโจมตีไปทางตะวันออกเฉียงใต้มุ่งหน้าไปยังจุดบรรจบของและแม่น้ำไรน์ จากนั้นจะเบนลงไปทางใต้เพื่อบรรจบกับพลเอก ซึ่งกองทัพที่สามจะรุกอย่างต่อเนื่องไปทางตะวันออกเฉียงเหนือผ่านไอเฟล หากสำเร็จ ปฏิบัติการช่างตัดไม้จะทำให้สหรัฐสามารถยึดเมืองโคโลญ เขต และนำกลุ่มกองทัพที่ 12 ไปยังแม่น้ำไรน์ทางเหนือของแม่น้ำโมแซลล์ กลุ่มกองทัพที่ 12 ยังได้หวังที่จะล้อมทหารเยอรมันจำนวนมากอีกด้วย
พลเอกแบรดเลย์เริ่มต้นปฏิบัติการดังกล่าวเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ทางตอนเหนือ กองทัพที่ 1 ใช้ประโยชน์จากหัวสะพานข้ามแม่น้ำแอร์ฟต์อย่างรวดเร็ว และรุกเข้าสู่ออยสเคียร์เชนในวันที่ 4 มีนาคม และโคโลญในวันที่ 5 มีนาคม เป็นเวลาเดียวกับที่กองทัพที่ 3 กวาดผ่านไอเฟลไปยังแม่น้ำไรน์
ในพื้นที่รับผิดชอบของกองทัพที่ 1 กองกำลังเฉพาะกิจซึ่งประกอบด้วยกองพลยานเพราะที่ 9 ภายใต้การบังคับบัญชาของพันโท เลโอนาร์ด เอนเกมัน รุกมุ่งหน้าไปยังเรมาเกน โดยเป็นส่วนหนึ่งของการรุก "ช่างตัดไม้" เมื่อกองกำลังยานเกราะเฉพาะกิจมาถึงชานเมือง ก็ได้ค้นพบว่าสะพานรางรถไฟลูเดนดอฟฟ์ยังคงไม่ถูกทำลายอย่างน่าประหลาดใจ ถึงแม้ว่าทหารเยอรมันฝ่ายป้องกันจะพยายามทำลายสะพานดังกล่าว แต่กองพลยานเกราะที่ 9 ก็สามารถยึดครองสะพานได้เมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1945
แม้ว่าสะพานลูเดนดอฟฟ์จะถูกทำลายลงเมื่อวันที่ 17 มีนาคม แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรได้สร้างสะพานทุ่นข้ามแม่น้ำไรน์ขึ้นเป็นจำนวนมากแล้วจนถึงขณะนั้น และสามารถสร้างหัวสะพานทางด้านตะวันออกของแม่น้ำ
ปฏิบัติการครั้งนี้ ได้ถูกนำไปแต่งเป็นนวนิยายในชื่อ The Bridge at Remagen โดย และได้ถูกสร้างเป็น ในปี ค.ศ. 1969 (ชื่อภาษาไทย: สะพานเผด็จศึก )
อ้างอิง
- Thomas, text by Nigel (1991). Foreign volunteers of the allied forces : 1939-45. London: Osprey. p. 16. ISBN .
- "The Bridge at Remagen อีกยุทธการยึดสะพานที่คำสั่งเป็นพิษ". iseehistory.com. สืบค้นเมื่อ 5 June 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
- แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ ปฏิบัติการช่างตัดไม้
- ภาพถ่ายดาวเทียมจากวิกิแมเปีย หรือกูเกิลแมปส์
- แผนที่จากลองดูแมป หรือเฮียวีโก
- ภาพถ่ายทางอากาศจากเทอร์ราเซิร์ฟเวอร์
50°34′45″N 7°14′39″E / 50.579167°N 7.244167°E{{#coordinates:}}: ไม่สามารถมีป้ายกำกับหลักมากกว่าหนึ่งป้ายต่อหน้าได้
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul ptibtikarchangtdim khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ptibtikarchangtdim xngkvs Operation Lumberjack epnptibtikarthangthharsungdaeninkarinkhnsudthaykhxngsngkhramolkkhrngthisxnginthwipyuorp daeninkarodykxngthphshrththihnungineduxnminakhm kh s 1945 ephuxyudemuxngsakhythangyuththsastrineyxrmni xyangechn okholy aelaephuxihfaysmphnthmitrmithimnthimnkhngtamaemnairnptibtikarchangtdimswnhnungkhxng aenwrbdantawntkkhxngsngkhramolkkhrngthisxngkxngphlyanekraathi 9 khamsaphanrangrthifluedndxffwnthi1 7 minakhm kh s 1945sthanthi praethseyxrmni50 34 45 N 7 14 39 E 50 57917 N 7 24417 E 50 57917 7 24417phlfaysmphnthmitrchnakhusngkhramshrthxemrika ebleyiymeyxrmniphubngkhbbychaaelaphunakalng300 000nay45 000naykhwamsuyesiy11 215nay33 000nay emuxklumkxngthphthi 21 tngthanthimntamaemnairnxyangaennhnaaelw klumkxngthphthi 12 khxngphlexkaebrdelyetriymkarthicalngmuxinptibtikarchangtdim aephnkardngklawsxdrbkbkarthikxngthphthi 1 caocmtiipthangtawnxxkechiyngitmunghnaipyngcudbrrcbkhxngaelaaemnairn caknncaebnlngipthangitephuxbrrcbkbphlexk sungkxngthphthisamcarukxyangtxenuxngipthangtawnxxkechiyngehnuxphanixefl haksaerc ptibtikarchangtdimcathaihshrthsamarthyudemuxngokholy ekht aelanaklumkxngthphthi 12 ipyngaemnairnthangehnuxkhxngaemnaomaesll klumkxngthphthi 12 yngidhwngthicalxmthhareyxrmncanwnmakxikdwy phlexkaebrdelyerimtnptibtikardngklawemuxwnthi 1 minakhm thangtxnehnux kxngthphthi 1 ichpraoychncakhwsaphankhamaemnaaexrftxyangrwderw aelarukekhasuxxysekhiyrechninwnthi 4 minakhm aelaokholyinwnthi 5 minakhm epnewlaediywkbthikxngthphthi 3 kwadphanixeflipyngaemnairn inphunthirbphidchxbkhxngkxngthphthi 1 kxngkalngechphaakicsungprakxbdwykxngphlyanephraathi 9 phayitkarbngkhbbychakhxngphnoth eloxnard exnekmn rukmunghnaipyngermaekn odyepnswnhnungkhxngkarruk changtdim emuxkxngkalngyanekraaechphaakicmathungchanemuxng kidkhnphbwasaphanrangrthifluedndxffyngkhngimthukthalayxyangnaprahladic thungaemwathhareyxrmnfaypxngkncaphyayamthalaysaphandngklaw aetkxngphlyanekraathi 9 ksamarthyudkhrxngsaphanidemuxwnthi 7 minakhm kh s 1945 aemwasaphanluedndxffcathukthalaylngemuxwnthi 17 minakhm aetfaysmphnthmitridsrangsaphanthunkhamaemnairnkhunepncanwnmakaelwcnthungkhnann aelasamarthsranghwsaphanthangdantawnxxkkhxngaemna ptibtikarkhrngni idthuknaipaetngepnnwniyayinchux The Bridge at Remagen ody aelaidthuksrangepn inpi kh s 1969 chuxphasaithy saphanephdcsuk xangxingThomas text by Nigel 1991 Foreign volunteers of the allied forces 1939 45 London Osprey p 16 ISBN 9781855321366 The Bridge at Remagen xikyuththkaryudsaphanthikhasngepnphis iseehistory com subkhnemux 5 June 2016 aehlngkhxmulxunaephnthiaelaphaphthaythangxakaskhxng ptibtikarchangtdim phaphthaydawethiymcakwikiaemepiy hruxkuekilaemps aephnthicaklxngduaemp hruxehiywiok phaphthaythangxakascakethxrraesirfewxr 50 34 45 N 7 14 39 E 50 579167 N 7 244167 E 50 579167 7 244167 coordinates imsamarthmipaykakbhlkmakkwahnungpaytxhnaid bthkhwamthhar hruxkarthharniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk