บะซอลต์ (อังกฤษ: basalt) เป็นหินอัคนีพุที่พบได้โดยทั่วไป มักพบมีสีเทาถึงสีดำ มีเนื้อละเอียดเนื่องจากเกิดจากการเย็นตัวของลาวาอย่างรวดเร็วบนพื้นผิวโลก อาจพบมีเนื้อสองขนาดที่มีผลึกขนาดโตกว่าอยู่ในพื้นเนื้อละเอียด หรือมีเนื้อเป็นโพรงข่าย หรือมีเนื้อเป็นตะกรันภูเขาไฟ (สคอเรีย) เนื้อหินบะซอลต์สดๆจะมีสีดำหรือสีเทา
ปรกติหินบะซอลต์จะถูกนำไปใช้เป็นวัสดุก่อสร้างถนน เทพื้นรองหมอนและรางรถไฟ และทำเป็นแผ่นปูพื้นหรือผนัง และยังใช้เป็นส่วนผสมที่สำคัญในการผลิตแอสฟัลต์
ในโลกของเรานี้หินหนืด (แมกมา) เป็นวัตถุต้นกำเนิดของหินบะซอลต์ เกิดจากการพองตัวของวัตถุหลอมในชั้นเนื้อโลก หินบะซอลต์ก็เกิดได้บนดวงจันทร์ของโลกเรา รวมถึงบนดาวอังคาร ดาวศุกร์ และแม้แต่ดาวเคราะห์น้อย 4 เวสตา หินต้นกำเนิดเพื่อการกึ่งหลอมละลายอาจจะเป็นทั้งเพริโดไทต์และไพรอกซีไนต์ (เช่น Sobolev et al., 2007) เปลือกโลกส่วนของมหาสมุทรโดยส่วนใหญ่แล้วจะประกอบไปด้วยหินบะซอลต์ที่เกิดจากการปะทุขึ้นมาจากชั้นเนื้อโลกที่อยู่ด้านล่างตรงบริเวณเทือกเขากลางสมุทร
คำว่าบะซอลต์บางครั้งก็ถูกใช้เรียกในระดับตื้นๆที่มีองค์ประกอบเป็นแบบหินบะซอลต์ แต่หินที่มีองค์ประกอบดังกล่าวที่มีโดยทั่วไปจะเรียกว่า (อาจเรียกเป็นหรือ)
ประเภท
- เป็นหินบะซอลต์ที่มีและโซเดียมต่ำ หินบะซอลต์ที่จัดอยู่ในประเภทนี้เป็นหินบะซอลต์ทั้งหมดในพื้นมหาสมุทร เกาะขนาดใหญ่ในมหาสมุทรทั้งหมด และหินบะซอลต์ที่ไหลท่วมบนพื้นทวีปอย่างเช่นกลุ่มหินบะซอลต์แม่น้ำโคลัมเบีย.
- MORB () เป็นหินบะซอลต์ที่มีองค์ประกอบของธาตุอินคอมแพตทิเบิลในปริมาณต่ำ หินบะซอลต์ที่เทือกเขากลางสมุทรนี้โดยทั่วไปจะปะทุขึ้นมาที่เทือกเขากลางมหาสมุทรเท่านั้น หินบะซอลต์ที่เทือกเขากลางสมุทรนี้จำแนกแบ่งย่อยได้อีกหลากหลายกลุ่มเช่น NMORB และ EMORB (มีธาตุอินคอมแพตทิเบิลค่อนข้างมากกว่า)
- หินบะซอลต์ที่มีอะลูมินาสูง อาจอยู่ในสภาพที่สูงกว่าหรือต่ำกว่าสภาพการอิ่มตัวของซิลิก้า ค่าปริมาณอะลูมินาจะสูงกว่าร้อยละ 17 (Al2O3) และมีองค์ประกอบอยู่ระหว่างหินบะซอลต์โธลีไอต์และหินบะซอลต์อัลคาไล การมีองค์ประกอบของอะลูมินาสูงนี้เนื่องด้วยหินนี้ไม่มีผลึกของแร่แพลจิโอเคลส
- หินบะซอลต์อัลคาไล เป็นหินที่มีองค์ประกอบของซิลิก้าต่ำแต่มีโซเดียมสูง เป็นหินที่เกิดขึ้นในสภาพที่ต่ำกว่าสภาพอิ่มตัวด้วยซิลิก้าที่อาจประกอบด้วยแร่เฟลด์สปาร์ อัลคาไลเฟลด์สปาร์ และโฟลโกไพต์
- เป็นหินบะซอลต์หรือแอนดีไซต์ที่มีองค์ประกอบของแมกนีเซียมสูงที่โดยทั่วไปแล้วจะปะทุขึ้นมาบริเวณแอ่งหลังหมู่เกาะรูปโค้ง มีลักษณะที่เด่นชัดด้วยมีองค์ประกอบของไททาเนียมต่ำและมีองค์ประกอบของธาตุส่วนน้อย (trace elements)
ศิลาวิทยา
องค์ประกอบทางแร่ของหินบะซอลต์โดดเด่นไปด้วยแร่เฟลด์สปาร์พวกแคลซิก และอาจมีแร่โอลิวีนเป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย มีแร่อื่นๆในปริมาณรองลงมาได้แก่เหล็กออกไซด์และเหล็ก-ไททาเนียมออกไซด์อย่างเช่น และ การมีองค์ประกอบของแร่ออกไซด์ดังกล่าวทำให้หินบะซอลต์สามารถมีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็กได้เมื่อเย็นตัวลง และทำให้มีการศึกษาสนามแม่เหล็กโลกโบราณกันอย่างกว้างขวางจากหินบะซอลต์
ในหินบะซอลต์โธลีไอต์จะพบผลึกของแร่ไพรอกซีน ออไจต์ และออร์โธไพรอกซีนหรือพิจิโอไนต์และแพลจิโอเคลสแคลเซียมสูงได้ อาจพบผลึกของแร่โอลิวีนได้ด้วยซึ่งถ้ามีจะเกิดแร่พิจิโอไนต์บริเวณขอบโดยรอบของผลึกด้วย พื้นเนื้อของหินมีแร่ควอตซ์หรือทริดีไมต์หรือคริสโตบาไลต์แทรกอยู่ในเนื้อของหิน หินโธลีไอต์โอลิวีนมีแร่ออไจต์และออร์โธไพรอกซีนหรือพิจิโอไนต์กับโอลิวีนในปริมาณมากแต่ที่ขอบของแร่โอลิวีนอาจมีแร่ไพรอกซีนและดูเหมือนจะไม่ปรากฏในส่วนของพื้นเนื้อของหิน
โดยทั่วไปหินบะซอลต์อัลคาไลจะมีองค์ประกอบของแร่ที่ไม่มีแร่ออร์โธไพรอกซีนแต่จะมีแร่โอลิวีน ผลึกแร่เฟลด์สปาร์จะมีองค์ประกอบเป็นพวกแลบราโดไลต์จนถึงแอนดีซีน แร่อย่างอัลคาไลเฟลด์สปาร์ ลิวไซต์ เนฟีลีน โซดาไลต์ ไมก้าโฟโกไพต์ และอะพาไทต์อาจพบได้ในส่วนของพื้นเนื้อหิน
บะซอลต์มีจุดลิควิดัสและจุดโซลิดัสที่อุณหภูมิสูง โดยค่าอุณหภูมิที่พื้นผิวโลกอาจสูงเกือบ 1200 องศาเซลเซียสหรือสูงกว่า สำหรับจุดลิควิดัส และสูงเกือบถึง 1000 องศาเซลเซียสสำหรับจุดโซลิดัส ค่าอุณหภูมิเหล่านี้ถือว่าสูงกว่าของหินอัคนีอื่นๆทั่วไป
ส่วนใหญ่แล้วหินโธลีไอต์จะเกิดขึ้นที่ความลึกประมาณ 50-100 กิโลเมตรอยู่ในชั้นเนื้อโลก หินบะซอลต์อัลคาไลจำนวนมากอาจเกิดขึ้นที่ความลึกมากกว่านี้คือระหว่าง 150-200 กิโลเมตรทีเดียว ขณะที่แหล่งกำเนิดของหินบะซอลต์อะลูมินาสูงยังมีการถกเถียงกันอยู่ มีการวิเคราะห์ตีความกันว่ามันอาจเกิดจากการหลอมปฐมภูมิมาจากหินบะซอลต์ชนิดอื่น (เช่น Ozerov, 2000)
ธรณีเคมี
หินบะซอลต์ประกอบด้วยแร่แมกนีเชียมออกไซด์ (MgO) และแคลเซียมออกไซด์ (CaO) สูง โดยที่มีแร่ซิลิก้าไดออกไซด์ (SiO2) และโซเดียมออกไซด์ (Na2O) ต่ำ รวมถึงโปแตสเซียมออกไซด์ (K2O) ด้วยเมื่อเทียบกับหินอัคนีอื่นๆทั่วไปซึ่งสอดคล้องกับการจำแนกหินแบบ TAS
โดยทั่วไปหินบะซอลต์จะมีองค์ประกอบของซิลิก้าออกไซด์ (SiO2) ร้อยละ 45 - 55 อัลคาไลทั้งหมดร้อยละ 2 - 6 ไททาเนียมออกไซด์ (TiO2) ร้อยละ 0.5 - 2.0 เหล็กออกไซด์ (FeO) ร้อยละ 5 - 14 และอะลูมินา (Al2O3) ร้อยละ 14 หรือมากกว่า โดยปรกติแล้วจะมีแคลเซียมออกไซด์ (CaO) เกือบร้อยละ 10 และโดยทั่วไปจะมีแมกนีเซียมออกไซด์ (MgO) อยู่ระหว่างร้อยละ 5 - 12 โดยน้ำหนัก
หินบะซอลต์อะลูมินาสูงจะมีอะลูมิเนียมอยู่ถึงร้อยละ 17 - 19 โดยน้ำหนัก (Al2O3) โบนิไนต์มีแมกนีเซียมออกไซด์สูงถึงร้อยละ 15 หินสีเข้มซึ่งมีเฟลด์สปาร์สูงตั้งแต่เอคินถึงหินบะซอลต์อัลคาไลอาจมี Na2O รวมกับ K2O ได้ถึงร้อยละ 12 หรือมากกว่า
หินบะซอลต์ MORB และหินอัคนีแทรกซอนที่มีองค์ประกอบใกล้เคียงกันอย่างหินแกบโบรเป็นลักษณะของหินอัคนีที่เกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทร หินบะซอลต์ MORB นี้เป็นโธลีไอต์ที่มีอัลคาไลและธาตุส่วนน้อยอินคอมแพตทิเบิลในปริมาณต่ำ และมีรูปแบบของธาตุหายากเฉลี่ยแล้วมีค่าเหมือนกันกับหินในชั้นเนื้อโลกหรือคอนไดรต์ ในทางตรงกันข้าม หินบะซอลต์อัลคาไลจะมีธาตุหายากและธาตุอินคอมแพตทิเบิลอื่นๆในปริมาณที่สูงกว่า เพราะว่าหินบะซอลต์ MORB ถือเป็นกุญแจดอกสำคัญในการเข้าใจเกี่ยวกับขบวนการแปรสัณฐาน จึงมีการศึกษาองค์ประกอบของหินชนิดนี้กันอย่างกว้างขวาง แม้ว่าองค์ประกอบของ MORB จะมีความแตกต่างชัดเจนกับค่าเฉลี่ยของหินบะซอลต์ที่ปะทุในสภาพแวดล้อมอื่นๆแต่มันก็มีองค์ประกอบที่ไม่คงที่สม่ำเสมอ ตัวอย่างเช่นมีองค์ประกอบที่เปลี่ยนแปลงไปตามตำแหน่งของเทือกเขากลางสมุทรในมหาสมุทรแอตแลนติกและการมีองค์ประกอบในช่วงที่แตกต่างกันในแอ่งมหาสมุทรที่แตกต่างกัน (Hofmann, 2003)
สัดส่วนไอโซโทปของธาตุทางเคมีอย่างเช่นสตรอนเตียม นีโอดายเนียม ตะกั่ว ฮาฟเนียม และออสเมี่ยมในหินบะซอลต์มีการศึกษากันมากเกี่ยวกับการเรียนรู้เข้าใจในวิวัฒนาการของชั้นเนื้อโลก สัดส่วนไอโซโทปของแก๊สมีสกุลอย่างเช่น 3He/4He ก็ถือว่ามีคุณค่ายิ่ง เช่น สัดส่วนในหินบะซอลต์จาก 6 ถึง 10 ของโธลีไอต์ที่เทือกเขากลางสมุทร (เป็นค่าเฉลี่ยของชั้นบรรยากาศ) แต่ค่าจาก 15 ถึง 24 หรือมากกว่าของหินบะซอลต์ที่เทือกเขากลางสมุทรถูกเข้าใจว่าอาจมาจากชั้นเนื้อโลก
ลักษณะสัณฐานและเนื้อหิน
รูปร่าง โครงสร้าง และเนื้อหินของหินบะซอลต์ทำให้เราทราบได้ว่ามันปะทุขึ้นมาอย่างไรและที่ไหน รู้ได้ว่ามันเกิดขึ้นในทะเล ปะทุขึ้นมาเป็นเถ้าภูเขาไฟ หรือไหลบ่าแบบพาโฮโฮซึ่งเป็นภาพลักษณ์ของการเกิดหินบะซอลต์ในฮาวาย
การปะทุขึ้นไปในอากาศ
หินบะซอลต์ที่ปะทุขึ้นไปในอากาศทำให้เกิดการสะสมตัว 3 แบบ คือ ตะกรันภูเขาไฟ เถ้าภูเขาไฟ และการไหลของลาวา
ปรกติแล้วด้านบนของลาวาบะซอลต์และกรวยเถ้าภูเขาไฟจะมีโพรงข่ายอยู่มากซึ่งทำให้หินมีเนื้อเป็นฟองและมีน้ำหนักเบา เถ้าภูเขาไฟมักมีสีแดงซึ่งเป็นสีของเหล็กออกไซด์ที่เกิดจากการผุพังของแร่ไพรอกซีนที่มีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบอยู่สูง ลักษณะที่เป็นก้อนของที่เป็นเถ้าภูเขาไฟ การไหลของกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ และการไหลของลาวาบะซอลต์เนื้อแน่นพบได้ทั่วไปในฮาวาย มีความหนืดสูงเป็นลาวาบะซอลต์ที่ร้อนซึ่งมีแนวโน้มที่จะมีรูกลวงคล้ายท่อเกิดเป็นชั้นบางๆ รูกลวงในลาวาเหล่านี้เป็นลักษณะทั่วไปของการปะทุแบบ
หินเถ้าภูเขาไฟมีการพบน้อยแต่ก็ใช่ว่าจะไม่เป็นที่รู้จัก ปรกติแล้วลาวาบะซอลต์ที่ร้อนมากๆและหนืดเกินไปที่มีแรงดันไม่เพียงพอที่จะก่อให้เกิดการปะทุออกมา แต่บ่อยครั้งจะถูกกักอยู่ในปล่องภูเขาไฟและปล่อยแก๊สออกมา ภูเขาไฟในฮาวายได้ปะทุขึ้นมาในลักษณะดังกล่าวนี้ในศตวรรษที่ 19 และก็เกิดขึ้นที่ของนิวซีแลนด์ในการปะทุอย่างรุนแรงในปี ค.ศ. 1886
โครงสร้างอะมิกดาลอยด์เป็นโครงสร้างที่เป็นโพรงข่ายในหินบะซอลต์มักพบผลึกที่สวยงามของแร่ซีโอไลต์ ควอตซ์ หรือแคลไซต์อยู่ข้างในด้วย
หินบะซอลต์ที่มีแนวแตกเสาเหลี่ยม
ระหว่างที่มวลลาวาหนาๆเกิดการเย็นตัวลงอยู่นั้นจะเกิดการหดตัวเกิดเป็นรอยแตก ถ้าการเย็นตัวเกิดขึ้นค่อนข้างเร็วก็จะทำให้เกิดแรงหดตัวขึ้น เมื่อลาวาหดตัวในแนวดิ่งจะไม่ส่งผลให้เกิดรอยแตก มันจะไม่มีการแตกออกถ้าไม่มีการหดตัวในแนวด้านข้าง การเกิดรอยแตกจะแผ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางยังผลให้เกิดเป็นแนวแตกเสาเหลี่ยมในแนวดิ่ง การแตกเป็นเสาเหลี่ยมในแนวดิ่งจะแผ่กระจายเชื่อมโยงออกไปในแนวด้านข้างมีลักษณะเป็นรูปแบบคล้ายกับเครือข่ายเซลลูลาร์ โครงสร้างเหล่านี้ถูกเข้าใจผิดๆว่าโดดเด่นไปด้วยแท่งเสาหลายเหลี่ยม แต่ที่แท้จริงแล้วจำนวนด้านเฉลี่ยของแท่งเสาเหลี่ยมจะมีหกด้าน แต่แท่งเสาหลายเหลี่ยมตั้งแต่ 3 ถึง 12 ด้านหรือมากกว่านี้ก็สังเกตเห็นได้ ทั้งนี้สังเกตได้ว่าขนาดของแท่งเสาเหลี่ยมจะขึ้นอยู่กับอัตราการเย็นตัวลงของลาวากล่าวคือถ้าลาวาเย็นตัวลงเร็วมากก็จะทำให้เกิดเสาเหลี่ยมมีขนาดเล็กมากด้วย (น้อยกว่า 1 ซม.) ขณะที่ลาวาเย็นตัวลงอย่างช้าๆจะทำให้เกิดเสาเหลี่ยมขนาดใหญ่กว่า
บางทีการไหลของลาวาบะซอลต์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของโลกอาจเป็นที่ชายฝั่งตอนเหนือของไอร์แลนด์ ที่การแตกในแนวดิ่งเกิดเป็นรอยแตกเสาเหลี่ยมและทำให้เกิดความรู้สึกว่าอาจถูกสร้างขึ้นโดยฝีมือมนุษย์
ศาสนสถานโบราณศตวรรษที่ 13 ที่เรียกกันว่าถูกสร้างขึ้นบนเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกใช้แท่งหินบะซอลต์จากหลายแห่งบนเกาะ ที่มีการผุพังเสียหายเป็นอย่างมากจนถึงปัจจุบัน
- หินบะซอลต์ที่มีรอยแตกเสาเหลี่ยมที่โดดเด่นสะดุดตาของโลก
- ไอซ์แลนด์
- เกาะกูริล รัสเซีย
- แคลิฟอร์เนีย
- ไวโอมิง
- ไอร์แลนด์เหนือ
- หินบะซอลต์นารูมา ออสเตรเลีย
- สก๊อตแลนด์
- สก๊อตแลนด์
- , สหพันธรัฐไมโครนีเซีย
- พื้นที่เกาะบะซอลต์ ฮ่องกง รวมถึงอ่างเก็บน้ำเกาะไฮห์ เขตปกครองพิเศษฮ่องกง ประเทศจีน
- ไอซ์แลนด์
- โรมาเนีย
- สาธารณรัฐเชค
- ยอร์จ ชิชิลี อิตาลี
- ตำบลประณีต อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ประเทศไทย
การระเบิดของภูเขาไฟใต้ทะเล
หินบะซอลต์รูปหมอน
เมื่อลาวาปะทุขึ้นมาจากใต้น้ำหรือไหลเอ่อนองลงไปในทะเลไปสัมผัสกับน้ำทะเลทำให้ผิวลาวาเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วเกิดเป็นรูปทรงคล้ายหมอนหลายๆลูกซ้อนๆกัน องค์ประกอบของหินบะซอลต์รูปหมอนนี้มีลักษณะเฉพาะของความเป็นลาวาที่ไหลอยู่ใต้น้ำและวินิจฉัยได้ว่าเป็นการปะทุในสภาพแวดล้อมแบบใต้น้ำเมื่อพบเป็นหินบะซอลต์รูปหมอนโบราณ หินบะซอลต์รูปหมอนมีเนื้อในตรงกลางละเอียดโดยส่วนบริเวณผิวรอบนอกจะมีเนื้อแก้วและมีการแตกตามแนวรัศมีของก้อนหมอน ขนาดของหมอนลูกหนึ่งๆมีความแปรผันจาก 10 ซม. ไปจนถึงหลายเมตร
เมื่อลาวาไหลลงไปในทะเลโดยปรกติแล้วจะเกิดเป็นหินบะซอลต์รูปหมอน อย่างไรก็ตามเมื่อไหลลงไปในทะเลกลับเกิดการสะสมตัวของเศษตะกอนเนื้อเถ้าภูเขาไฟ (tuffaceous debris) เป็นรูปกรวย (littoral cone) กรวยขนาดเล็กเกิดขึ้นเมื่อธารร้อนไหลลงไปในน้ำและเกิดการระเบิดเป็นไอร้อนพวยพุ่งขึ้นไปอย่างรุนแรง ( หรือ )
เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นภูเขาไฟลาวาบะซอลต์ที่ไหลชะลงไปบนพื้นมหาสมุทรในปี ค.ศ. 1963 การระเบิดของภูเขาไฟนี้ในช่วงแรกๆจะมีความรุนแรงมากโดยขณะที่หินหนืดเปียกน้ำจะทำให้หินถูกทำให้โป่งพองออกโดยไอร้อนที่พวยพุ่งออกมาเกิดเป็นกรวยของเถ้าภูเขาไฟ ลักษณะนี้ต่อมาได้กลายเป็นลักษณะเฉพาะของลาวา
อาจพบโดยเฉพาะผิวด้านนอกอันเกิดจากผิวของลาวาที่เย็นตัวลงอย่างรวดเร็วและมักจะพบกับภูเขาไฟที่มีการปะทุใต้น้ำ
สิ่งมีชีวิตบนหินบะซอลต์
ลักษณะของการถูกกัดกร่อนทั่วๆไปของหินบะซอลต์ใต้ทะเลชี้ให้เห็นว่ากิจกรรมของสิ่งมีชีวิตขนาดจุลภาคอาจมีบทบาทที่สำคัญในการแลกเปลี่ยนทางเคมีระหว่างหินบะซอลต์กับน้ำทะเล ปริมาณของเหล็ก Fe(II) และแมงกานีส Mn(II) ไร้ออกซิเจนที่ปรากฏอยู่ในหินบะซอลต์เป็นแหล่งพลังงานสำหรับแบคทีเรีย ผลการวิจัยเร็วๆนี้ระบุได้ว่าแบคทีเรียที่ทำให้เกิดเหล็กออกไซด์ที่เจริญเติบโตอยู่บนพื้นผิวเหล็ก-ซัลไฟด์ก็สามารถเจริญเติบโตได้บนหินบะซอลต์ซึ่งเป็นแหล่งของเหล็ก Fe(II) มีงานวิจัยเร็วๆนี้ที่ภูเขาใต้ทะเลพบว่าแบคทีเรียที่ทำให้เกิดเหล็กและแมงกานีสออกไซด์สามารถเพาะเลี้ยงได้ด้วยหินบะซอลต์ผุๆ ผลกระทบต่อแบคทีเรียอันเนื่องมาจากมีการเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบทางเคมีของแก้วบะซอลต์และน้ำทะเลชี้ให้เห็นว่าปฏิสัมพันธ์เหล่านี้อาจนำไปสู่การประยุกต์เกี่ยวกับรอยแยกของเปลือกโลกใต้มหาสมุทรลึกที่เป็นถิ่นน้ำร้อน (ปล่องไฮโดรเทอร์มอล) ที่อาจจะอธิบายเกี่ยวกับการกำเนิดของสิ่งมีชีวิตได้
เศรษฐธรณีวิทยา
ตามที่มีเว็บไซต์หนึ่งชื่อว่า new study เผยแพร่ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 รายงานว่าหินบะซอลต์อาจมีค่าทางเศรษฐกิจด้วยต้นทุนต่ำ ปลอดภัย และเป็นวิธีการที่ถาวรในการจับและเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซึ่งเป็นแก๊สหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาปรากฏการณ์โลกร้อน
การกระจายตัว
การไหลของลาวาของในอินเดีย กลุ่มหินของบริติชโคลัมเบียในแคนาดา ในบราซิล ในรัสเซีย ของวอชิงตันและ หลายส่วนของกลุ่มเทือกเขาเลียบชายฝั่งของแคลิฟอร์เนียในสหรัฐอเมริกา รวมถึงหินบะซอลต์ยุคไทรแอสซิกทางตะวันออกของอเมริกาเหนือล้วนแล้วเป็นหินบะซอลต์ แหล่งหินบะซอลต์ที่มีชื่อเสียงอื่นๆได้แก่ไอซ์แลนด์ ในแอฟริกาใต้ และแนวเกาะภูเขาไฟฮาวายที่ตั้งอยู่บนแมนเทิลพลูม หินบะซอลต์ถือเป็นหินอัคนีที่พบได้กว้างขวาง
ปรกติแล้วหินบะซอลต์อายุพรีแคมเบรียนจะพบอยู่ในแนวชั้นหินคดโค้งและแนวรอยเลื่อนย้อนและมักจะพบถูกแปรสภาพอย่างรุนแรงที่รู้จักกันในนามของแนวเนื่องจากมีการถูกแปรสภาพขั้นต่ำของหินบะซอลต์ที่ทำให้เกิดกลุ่มของแร่ และแร่สีเขียวอื่นๆ
หินบะซอลต์จากดวงจันทร์และดาวอังคาร
พื้นที่สีเข้มที่เห็นได้บนพื้นผิวดวงจันทร์ของโลกเรานี้เป็นที่ราบที่เกิดจากการไหลนองของลาวาบะซอลต์ ตัวอย่างหินเหล่านี้ถูกเก็บโดยโครงการอะพอลโลของสหรัฐอเมริกา โครงการสำรวจดวงจันทร์ด้วยหุ่นยนต์ของรัสเซีย และจากอุกกาบาตดวงจันทร์ทั้งหลาย
หินบะซอลต์จากดวงจันทร์แตกต่างไปจากหินบะซอลต์บนโลกคือมีองค์ประกอบของเหล็กสูงกว่าโดยมีค่าระหว่างประมาณร้อยละ 17 ถึง 22 โดยน้ำหนัก และยังมีค่าความเข้มข้นของไททาเนียม (TiO2) ที่เด่นชัด (พบในอิลเมไนต์) มีช่วงระหว่างน้อยกว่าร้อยละ 1 ถึงประมาณร้อยละ 13 โดยน้ำหนัก โดยทั่วไปแล้วหินบะซอลต์จากดวงจันทร์จะถูกจำแนกตามค่าของไททาเนียมโดยจำแนกเป็น และ กระนั้นก็ตาม จากการสำรวจทางธรณีเคมีของไททาเนียมในโครงการคลีเมนไทน์แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ราบสีเข้มบนพื้นผิวดวงจันทร์มีการลำดับต่อเนื่องของค่าความเข้มข้นของไททาเนียม
หินบะซอลต์จากดวงจันทร์แสดงลักษณะเนื้อหินและวิทยาแร่ที่ผิดปรกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะของแปรสภาพจากการกระแทก การขาดลักษณะของรีดอกซ์และออกซิเดชั่นซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะที่พบได้ในหินบะซอลต์บนพื้นผิวโลก และการปราศจากโดยสิ้นเชิงของน้ำในแร่ ขณะที่หินบะซอลต์บนดวงจันทร์ทั้งหลายปะทุขึ้นมาระหว่าง 3 และ 3.5 พันล้านปีมาแล้ว ชิ้นตัวอย่างที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดเก่าแก่ถึง 4.2 พันล้านปี และที่มีอายุอ่อนที่สุดจากการวัดค่าด้วยวิธีประมาณได้ว่าปะทุขึ้นมาเมื่อ 1.2 พันล้านปีมาแล้ว
หินบะซอลต์ก็พบได้ทั่วไปบนพื้นผิวดาวอังคาร ทั้งนี้ได้จากข้อมูลส่งกลับมาจากพื้นผิวดาวอังคารโดย
การแปรสภาพ
หินบะซอลต์เป็นหินที่สำคัญในแนวแปรสภาพด้วยเป็นหินที่ให้ข้อมูลที่สำคัญที่บ่งชี้ถึงสภาพของการแปรสภาพภายในแนวแปรสภาพนั้น มีชุดลักษณ์ของการแปรสภาพที่หลากหลายที่ถูกตั้งชื่อขึ้นตามชื่อกลุ่มของแร่และชนิดของหินที่เกิดขึ้นโดยหินบะซอลต์ตามอุณหภูมิและแรงกดดันของเหตุการณ์แปรสภาพนั้นๆ เช่น
- ชุดลักษณ์
- ชุดลักษณ์
- ชุดลักษณ์
- ชุดลักษณ์
- ชุดลักษณ์
หินบะซอลต์ที่ถูกแปรสภาพเป็นหินที่สำคัญที่เป็นแหล่งแร่แบบน้ำร้อนที่หลากหลายอย่างเช่น ทองคำ ทองแดง แหล่งแร่ซัลไฟด์ และอื่นๆ
หินบะซอลต์ในประเทศไทย
- บริเวณภาคเหนือ
- หินบะซอลต์บ้านช่างเคียน อายุ 1.69 ± 1.25 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981) และหินบะซอลต์เชียงของ อายุ 1.74 ± 0.18 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981)
- หินบะซอลต์แม่ทะ 0.69 ± 0.95 และ 0.8 ± 0.3 ล้านปี (Barr et al., 1976; Sasada et al., 1987) และหินบะซอลต์สบปราบ
- จังหวัดแพร่ อายุ 5.64 ± 0.28 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981)
- บริเวณภาคตะวันตก
- จังหวัดกาญจนบุรี อายุ 3.14 ± 0.17 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981)
- บริเวณภาคกลาง
- จังหวัดลพบุรี อายุ 11.29 ± 0.64 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981)
- บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- หินบะซอลต์เขากระโดง อายุ 0.92 ± 0.03 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981)
- หินบะซอลต์ภูฝ้าย อายุ 3.28 ± 0.48 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981)
- บริเวณภาคตะวันออก
- หินบะซอลต์เขาพลอยแหวน จังหวัดจันทบุรี อายุ 0.44 ± 0.11 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981) และหินบะซอลต์ทางด้านตะวันออกของจันทบุรี อายุ 2.57 ± 0.20 ล้านปี (Carbonnel, 1972)
- อายุ 1.13 ± 0.17 ล้านปี (Barr and Macdonald, 1981)
- อายุ 8.5 ± 1.0 ล้านปี (Bignell et al., 1977)
อ้างอิง
- See the PETDB database 2008-08-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.Hyndman, Donald W. (1985). Petrology of igneous and metamorphic rocks (2nd ed.). McGraw-Hill. ISBN .
- Blatt, Harvey and Robert Tracy (1996). Petrology (2nd ed.). Freeman. ISBN .
- D. Weaire and N. Rivier. Contemporary Physics 25 1 (1984), pp. 55–99
- http://www.pohnpeiheaven.com/pwisehn_malek.htm 2012-02-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Alex Zuccarelli, 2003, Pohnpei-Between Time & Tide . Pwisehn Malek
- http://www.luzicke-hory.cz/mista/index.php?pg=zmpansc Website in Czech language with some nice pictures and excellent example of columnar basalt in Northern Bohemia near
- Katrina J. Edwards, Wolfgang Bach and Daniel R. Rogers, Geomicrobiology of the Ocean Crust: A Role for Chemoautotrophic Fe-Bacteria, Biol. Bull. 204: 180–185. (April 2003) http://www.biolbull.org/cgi/content/full/204/2/180
- Templeton, A.S., Staudigel, H., Tebo, B.M. (2005). Diverse Mn(II)-oxidizing bacteria isolated from submarine basalts at Loihi Seamount, Geomicrobiology Journal, v. 22, 129–137. http://www.ebs.ogi.edu/tebob/pdfs/Templeton%20GeomicroJ.pdf 2009-03-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- A. Y. Ozerov, The evolution of high-alumina basalts of the Klyuchevskoy volcano, Kamchatka, Russia, based on microprobe analyses of mineral inclusions. Journal of Volcanology and Geothermal Research, v. 95, pp. 65–79 (2000).
- A. W. Hofmann, Sampling mantle heterogeneity through oceanic basalts: isotopes and trace elements. Treatise on Geochemistry Volume 2, pages 61–101 Elsevier Ltd. (2003). In March, 2007, the article was available on the web at http://www1.mpch-mainz.mpg.de/~geo/hofmann/Hofmann.mantle_heterogen1.pdf 2007-06-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- A. V. Sobolev and others, The amount of recycled crust in sources of mantle-derived melts. Science, v. 316, pp. 412–417 (2007). http://www.sciencemag.org/cgi/content/abstract/316/5823/412
ดูเพิ่ม
- ธรณีวิทยาประเทศไทย กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2550) 598 หน้า
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
basxlt xngkvs basalt epnhinxkhniphuthiphbidodythwip mkphbmisiethathungsida mienuxlaexiydenuxngcakekidcakkareyntwkhxnglawaxyangrwderwbnphunphiwolk xacphbmienuxsxngkhnadthimiphlukkhnadotkwaxyuinphunenuxlaexiyd hruxmienuxepnophrngkhay hruxmienuxepntakrnphuekhaif skhxeriy enuxhinbasxltsdcamisidahruxsiethahinbasxlt prktihinbasxltcathuknaipichepnwsdukxsrangthnn ethphunrxnghmxnaelarangrthif aelathaepnaephnpuphunhruxphnng aelayngichepnswnphsmthisakhyinkarphlitaexsflt inolkkhxngeranihinhnud aemkma epnwtthutnkaenidkhxnghinbasxlt ekidcakkarphxngtwkhxngwtthuhlxminchnenuxolk hinbasxltkekididbndwngcnthrkhxngolkera rwmthungbndawxngkhar dawsukr aelaaemaetdawekhraahnxy 4 ewsta hintnkaenidephuxkarkunghlxmlalayxaccaepnthngephriodithtaelaiphrxksiint echn Sobolev et al 2007 epluxkolkswnkhxngmhasmuthrodyswnihyaelwcaprakxbipdwyhinbasxltthiekidcakkarpathukhunmacakchnenuxolkthixyudanlangtrngbriewnethuxkekhaklangsmuthr khawabasxltbangkhrngkthukicheriykinradbtunthimixngkhprakxbepnaebbhinbasxlt aethinthimixngkhprakxbdngklawthimiodythwipcaeriykwa xaceriykepnhrux hinbasxltthimiaenwaetkesaehliymthiinhinbasxltmienuxepnophrngkhaythi shrthxemrika ichehriyy 25 esntethiybepnmatraswnpraephthmwllawakhnadihytxngeynlngxyangchathaihekidaenwaetkesaehliymepnhinbasxltthimiaelaosediymta hinbasxltthicdxyuinpraephthniepnhinbasxltthnghmdinphunmhasmuthr ekaakhnadihyinmhasmuthrthnghmd aelahinbasxltthiihlthwmbnphunthwipxyangechnklumhinbasxltaemnaokhlmebiy MORB epnhinbasxltthimixngkhprakxbkhxngthatuxinkhxmaephtthiebilinprimanta hinbasxltthiethuxkekhaklangsmuthrniodythwipcapathukhunmathiethuxkekhaklangmhasmuthrethann hinbasxltthiethuxkekhaklangsmuthrnicaaenkaebngyxyidxikhlakhlayklumechn NMORB aela EMORB mithatuxinkhxmaephtthiebilkhxnkhangmakkwa hinbasxltthimixaluminasung xacxyuinsphaphthisungkwahruxtakwasphaphkarximtwkhxngsilika khaprimanxaluminacasungkwarxyla 17 Al2O3 aelamixngkhprakxbxyurahwanghinbasxltothliixtaelahinbasxltxlkhail karmixngkhprakxbkhxngxaluminasungnienuxngdwyhinniimmiphlukkhxngaeraephlcioxekhls hinbasxltxlkhail epnhinthimixngkhprakxbkhxngsilikataaetmiosediymsung epnhinthiekidkhuninsphaphthitakwasphaphximtwdwysilikathixacprakxbdwyaerefldspar xlkhailefldspar aelaoflokipht epnhinbasxlthruxaexndiistthimixngkhprakxbkhxngaemkniesiymsungthiodythwipaelwcapathukhunmabriewnaexnghlnghmuekaarupokhng milksnathiednchddwymixngkhprakxbkhxngiththaeniymtaaelamixngkhprakxbkhxngthatuswnnxy trace elements silawithyaxngkhprakxbthangaerkhxnghinbasxltoddednipdwyaerefldsparphwkaekhlsik aelaxacmiaeroxliwinepnxngkhprakxbxyudwy miaerxuninprimanrxnglngmaidaekehlkxxkisdaelaehlk iththaeniymxxkisdxyangechn aela karmixngkhprakxbkhxngaerxxkisddngklawthaihhinbasxltsamarthmikhunsmbtiepnaemehlkidemuxeyntwlng aelathaihmikarsuksasnamaemehlkolkobranknxyangkwangkhwangcakhinbasxlt inhinbasxltothliixtcaphbphlukkhxngaeriphrxksin xxict aelaxxrothiphrxksinhruxphicioxintaelaaephlcioxekhlsaekhlesiymsungid xacphbphlukkhxngaeroxliwiniddwysungthamicaekidaerphicioxintbriewnkhxbodyrxbkhxngphlukdwy phunenuxkhxnghinmiaerkhwxtshruxthridiimthruxkhrisotbailtaethrkxyuinenuxkhxnghin hinothliixtoxliwinmiaerxxictaelaxxrothiphrxksinhruxphicioxintkboxliwininprimanmakaetthikhxbkhxngaeroxliwinxacmiaeriphrxksinaeladuehmuxncaimpraktinswnkhxngphunenuxkhxnghin odythwiphinbasxltxlkhailcamixngkhprakxbkhxngaerthiimmiaerxxrothiphrxksinaetcamiaeroxliwin phlukaerefldsparcamixngkhprakxbepnphwkaelbraodiltcnthungaexndisin aerxyangxlkhailefldspar liwist enfilin osdailt imkaofokipht aelaxaphaithtxacphbidinswnkhxngphunenuxhin basxltmicudlikhwidsaelacudoslidsthixunhphumisung odykhaxunhphumithiphunphiwolkxacsungekuxb 1200 xngsaeslesiyshruxsungkwa sahrbcudlikhwids aelasungekuxbthung 1000 xngsaeslesiyssahrbcudoslids khaxunhphumiehlanithuxwasungkwakhxnghinxkhnixunthwip swnihyaelwhinothliixtcaekidkhunthikhwamlukpraman 50 100 kiolemtrxyuinchnenuxolk hinbasxltxlkhailcanwnmakxacekidkhunthikhwamlukmakkwanikhuxrahwang 150 200 kiolemtrthiediyw khnathiaehlngkaenidkhxnghinbasxltxaluminasungyngmikarthkethiyngknxyu mikarwiekhraahtikhwamknwamnxacekidcakkarhlxmpthmphumimacakhinbasxltchnidxun echn Ozerov 2000 thrniekhmihinbasxltthimiaenwaetkesaehliymkhxngklumhinbasxltaemnaokhlmebiyin hinbasxltprakxbdwyaeraemkniechiymxxkisd MgO aelaaekhlesiymxxkisd CaO sung odythimiaersilikaidxxkisd SiO2 aelaosediymxxkisd Na2O ta rwmthungopaetsesiymxxkisd K2O dwyemuxethiybkbhinxkhnixunthwipsungsxdkhlxngkbkarcaaenkhinaebb TAS odythwiphinbasxltcamixngkhprakxbkhxngsilikaxxkisd SiO2 rxyla 45 55 xlkhailthnghmdrxyla 2 6 iththaeniymxxkisd TiO2 rxyla 0 5 2 0 ehlkxxkisd FeO rxyla 5 14 aelaxalumina Al2O3 rxyla 14 hruxmakkwa odyprktiaelwcamiaekhlesiymxxkisd CaO ekuxbrxyla 10 aelaodythwipcamiaemkniesiymxxkisd MgO xyurahwangrxyla 5 12 odynahnk hinbasxltxaluminasungcamixalumieniymxyuthungrxyla 17 19 odynahnk Al2O3 obniintmiaemkniesiymxxkisdsungthungrxyla 15 hinsiekhmsungmiefldsparsungtngaetexkhinthunghinbasxltxlkhailxacmi Na2O rwmkb K2O idthungrxyla 12 hruxmakkwa hinbasxlt MORB aelahinxkhniaethrksxnthimixngkhprakxbiklekhiyngknxyanghinaekbobrepnlksnakhxnghinxkhnithiekidkhunthiethuxkekhaklangsmuthr hinbasxlt MORB niepnothliixtthimixlkhailaelathatuswnnxyxinkhxmaephtthiebilinprimanta aelamirupaebbkhxngthatuhayakechliyaelwmikhaehmuxnknkbhininchnenuxolkhruxkhxnidrt inthangtrngknkham hinbasxltxlkhailcamithatuhayakaelathatuxinkhxmaephtthiebilxuninprimanthisungkwa ephraawahinbasxlt MORB thuxepnkuyaecdxksakhyinkarekhaicekiywkbkhbwnkaraeprsnthan cungmikarsuksaxngkhprakxbkhxnghinchnidniknxyangkwangkhwang aemwaxngkhprakxbkhxng MORB camikhwamaetktangchdecnkbkhaechliykhxnghinbasxltthipathuinsphaphaewdlxmxunaetmnkmixngkhprakxbthiimkhngthismaesmx twxyangechnmixngkhprakxbthiepliynaeplngiptamtaaehnngkhxngethuxkekhaklangsmuthrinmhasmuthraextaelntikaelakarmixngkhprakxbinchwngthiaetktangkninaexngmhasmuthrthiaetktangkn Hofmann 2003 sdswnixosothpkhxngthatuthangekhmixyangechnstrxnetiym nioxdayeniym takw hafeniym aelaxxsemiyminhinbasxltmikarsuksaknmakekiywkbkareriynruekhaicinwiwthnakarkhxngchnenuxolk sdswnixosothpkhxngaeksmiskulxyangechn 3He 4He kthuxwamikhunkhaying echn sdswninhinbasxltcak 6 thung 10 khxngothliixtthiethuxkekhaklangsmuthr epnkhaechliykhxngchnbrryakas aetkhacak 15 thung 24 hruxmakkwakhxnghinbasxltthiethuxkekhaklangsmuthrthukekhaicwaxacmacakchnenuxolklksnasnthanaelaenuxhinkarihlkhxnglawabasxlt ruprang okhrngsrang aelaenuxhinkhxnghinbasxltthaiherathrabidwamnpathukhunmaxyangiraelathiihn ruidwamnekidkhuninthael pathukhunmaepnethaphuekhaif hruxihlbaaebbphaohohsungepnphaphlksnkhxngkarekidhinbasxltinhaway karpathukhunipinxakas hinbasxltthipathukhunipinxakasthaihekidkarsasmtw 3 aebb khux takrnphuekhaif ethaphuekhaif aelakarihlkhxnglawa prktiaelwdanbnkhxnglawabasxltaelakrwyethaphuekhaifcamiophrngkhayxyumaksungthaihhinmienuxepnfxngaelaminahnkeba ethaphuekhaifmkmisiaedngsungepnsikhxngehlkxxkisdthiekidcakkarphuphngkhxngaeriphrxksinthimithatuehlkepnxngkhprakxbxyusung lksnathiepnkxnkhxngthiepnethaphuekhaif karihlkhxngkrwdehliymphuekhaif aelakarihlkhxnglawabasxltenuxaennphbidthwipinhaway mikhwamhnudsungepnlawabasxltthirxnsungmiaenwonmthicamiruklwngkhlaythxekidepnchnbang ruklwnginlawaehlaniepnlksnathwipkhxngkarpathuaebb hinethaphuekhaifmikarphbnxyaetkichwacaimepnthiruck prktiaelwlawabasxltthirxnmakaelahnudekinipthimiaerngdnimephiyngphxthicakxihekidkarpathuxxkma aetbxykhrngcathukkkxyuinplxngphuekhaifaelaplxyaeksxxkma phuekhaifinhawayidpathukhunmainlksnadngklawniinstwrrsthi 19 aelakekidkhunthikhxngniwsiaelndinkarpathuxyangrunaernginpi kh s 1886 okhrngsrangxamikdalxydepnokhrngsrangthiepnophrngkhayinhinbasxltmkphbphlukthiswyngamkhxngaersioxilt khwxts hruxaekhlistxyukhangindwy hinbasxltthimiaenwaetkesaehliym hinbasxltthimiaenwaetkesaehliyminturki rahwangthimwllawahnaekidkareyntwlngxyunncaekidkarhdtwekidepnrxyaetk thakareyntwekidkhunkhxnkhangerwkcathaihekidaernghdtwkhun emuxlawahdtwinaenwdingcaimsngphlihekidrxyaetk mncaimmikaraetkxxkthaimmikarhdtwinaenwdankhang karekidrxyaetkcaaephkhyayxxkipxyangkwangkhwangyngphlihekidepnaenwaetkesaehliyminaenwding karaetkepnesaehliyminaenwdingcaaephkracayechuxmoyngxxkipinaenwdankhangmilksnaepnrupaebbkhlaykbekhruxkhayesllular okhrngsrangehlanithukekhaicphidwaoddednipdwyaethngesahlayehliym aetthiaethcringaelwcanwndanechliykhxngaethngesaehliymcamihkdan aetaethngesahlayehliymtngaet 3 thung 12 danhruxmakkwaniksngektehnid thngnisngektidwakhnadkhxngaethngesaehliymcakhunxyukbxtrakareyntwlngkhxnglawaklawkhuxthalawaeyntwlngerwmakkcathaihekidesaehliymmikhnadelkmakdwy nxykwa 1 sm khnathilawaeyntwlngxyangchacathaihekidesaehliymkhnadihykwa bangthikarihlkhxnglawabasxltthimichuxesiyngthisudkhxngolkxacepnthichayfngtxnehnuxkhxngixraelnd thikaraetkinaenwdingekidepnrxyaetkesaehliymaelathaihekidkhwamrusukwaxacthuksrangkhunodyfimuxmnusy sasnsthanobranstwrrsthi 13 thieriykknwathuksrangkhunbnekaainmhasmuthraepsifikichaethnghinbasxltcakhlayaehngbnekaa thimikarphuphngesiyhayepnxyangmakcnthungpccubn hinbasxltthimirxyaetkesaehliyminhxngkngiklekaabasxltaelaaethbxangekbnaekaaihhhinbasxltthimirxyaetkesaehliymthioddednsadudtakhxngolk ixsaelnd ekaakuril rsesiy aekhlifxreniy iwoxming ixraelndehnux hinbasxltnaruma xxsetreliy skxtaelnd skxtaelnd shphnthrthimokhrniesiy phunthiekaabasxlt hxngkng rwmthungxangekbnaekaaihh ekhtpkkhrxngphiesshxngkng praethscin ixsaelnd ormaeniy satharnrthechkh yxrc chichili xitali tablpranit xaephxekhasming cnghwdtrad praethsithykarraebidkhxngphuekhaifitthael hinbasxltruphmxnbnphunthaelthangtxnitkhxngmhasmuthraepsifikhinbasxltruphmxn emuxlawapathukhunmacakitnahruxihlexxnxnglngipinthaelipsmphskbnathaelthaihphiwlawaeyntwlngxyangrwderwekidepnrupthrngkhlayhmxnhlayluksxnkn xngkhprakxbkhxnghinbasxltruphmxnnimilksnaechphaakhxngkhwamepnlawathiihlxyuitnaaelawinicchyidwaepnkarpathuinsphaphaewdlxmaebbitnaemuxphbepnhinbasxltruphmxnobran hinbasxltruphmxnmienuxintrngklanglaexiydodyswnbriewnphiwrxbnxkcamienuxaekwaelamikaraetktamaenwrsmikhxngkxnhmxn khnadkhxnghmxnlukhnungmikhwamaeprphncak 10 sm ipcnthunghlayemtr emuxlawaihllngipinthaelodyprktiaelwcaekidepnhinbasxltruphmxn xyangirktamemuxihllngipinthaelklbekidkarsasmtwkhxngesstakxnenuxethaphuekhaif tuffaceous debris epnrupkrwy littoral cone krwykhnadelkekidkhunemuxtharrxnihllngipinnaaelaekidkarraebidepnixrxnphwyphungkhunipxyangrunaerng hrux ekaainmhasmuthraextaelntikepnphuekhaiflawabasxltthiihlchalngipbnphunmhasmuthrinpi kh s 1963 karraebidkhxngphuekhaifniinchwngaerkcamikhwamrunaerngmakodykhnathihinhnudepiyknacathaihhinthukthaihopngphxngxxkodyixrxnthiphwyphungxxkmaekidepnkrwykhxngethaphuekhaif lksnanitxmaidklayepnlksnaechphaakhxnglawa xacphbodyechphaaphiwdannxkxnekidcakphiwkhxnglawathieyntwlngxyangrwderwaelamkcaphbkbphuekhaifthimikarpathuitna singmichiwitbnhinbasxlt lksnakhxngkarthukkdkrxnthwipkhxnghinbasxltitthaelchiihehnwakickrrmkhxngsingmichiwitkhnadculphakhxacmibthbaththisakhyinkaraelkepliynthangekhmirahwanghinbasxltkbnathael primankhxngehlk Fe II aelaaemngkanis Mn II irxxksiecnthipraktxyuinhinbasxltepnaehlngphlngngansahrbaebkhthieriy phlkarwicyerwnirabuidwaaebkhthieriythithaihekidehlkxxkisdthiecriyetibotxyubnphunphiwehlk slifdksamarthecriyetibotidbnhinbasxltsungepnaehlngkhxngehlk Fe II minganwicyerwnithiphuekhaitthaelphbwaaebkhthieriythithaihekidehlkaelaaemngkanisxxkisdsamarthephaaeliyngiddwyhinbasxltphu phlkrathbtxaebkhthieriyxnenuxngmacakmikarepliynaeplnginxngkhprakxbthangekhmikhxngaekwbasxltaelanathaelchiihehnwaptismphnthehlanixacnaipsukarprayuktekiywkbrxyaeykkhxngepluxkolkitmhasmuthrlukthiepnthinnarxn plxngihodrethxrmxl thixaccaxthibayekiywkbkarkaenidkhxngsingmichiwitidesrsththrniwithyatamthimiewbisthnungchuxwa new study ephyaephrineduxnphvscikayn ph s 2551 raynganwahinbasxltxacmikhathangesrsthkicdwytnthunta plxdphy aelaepnwithikarthithawrinkarcbaelaekbkharbxnidxxkisd CO2 sungepnaekshnungthikxihekidpyhapraktkarnolkrxnkarkracaytwbrasil karihlkhxnglawakhxnginxinediy klumhinkhxngbritichokhlmebiyinaekhnada inbrasil inrsesiy khxngwxchingtnaela hlayswnkhxngklumethuxkekhaeliybchayfngkhxngaekhlifxreniyinshrthxemrika rwmthunghinbasxltyukhithraexssikthangtawnxxkkhxngxemrikaehnuxlwnaelwepnhinbasxlt aehlnghinbasxltthimichuxesiyngxunidaekixsaelnd inaexfrikait aelaaenwekaaphuekhaifhawaythitngxyubnaemnethilphlum hinbasxltthuxepnhinxkhnithiphbidkwangkhwang prktiaelwhinbasxltxayuphriaekhmebriyncaphbxyuinaenwchnhinkhdokhngaelaaenwrxyeluxnyxnaelamkcaphbthukaeprsphaphxyangrunaerngthiruckkninnamkhxngaenwenuxngcakmikarthukaeprsphaphkhntakhxnghinbasxltthithaihekidklumkhxngaer aelaaersiekhiywxunhinbasxltcakdwngcnthraeladawxngkharphunthisiekhmthiehnidbnphunphiwdwngcnthrkhxngolkeraniepnthirabthiekidcakkarihlnxngkhxnglawabasxlt twxyanghinehlanithukekbodyokhrngkarxaphxlolkhxngshrthxemrika okhrngkarsarwcdwngcnthrdwyhunyntkhxngrsesiy aelacakxukkabatdwngcnthrthnghlay hinbasxltcakdwngcnthraetktangipcakhinbasxltbnolkkhuxmixngkhprakxbkhxngehlksungkwaodymikharahwangpramanrxyla 17 thung 22 odynahnk aelayngmikhakhwamekhmkhnkhxngiththaeniym TiO2 thiednchd phbinxilemint michwngrahwangnxykwarxyla 1 thungpramanrxyla 13 odynahnk odythwipaelwhinbasxltcakdwngcnthrcathukcaaenktamkhakhxngiththaeniymodycaaenkepn aela krannktam cakkarsarwcthangthrniekhmikhxngiththaeniyminokhrngkarkhliemnithnaesdngihehnwaphunthirabsiekhmbnphunphiwdwngcnthrmikarladbtxenuxngkhxngkhakhwamekhmkhnkhxngiththaeniym hinbasxltcakdwngcnthraesdnglksnaenuxhinaelawithyaaerthiphidprkti odyechphaaxyangyinglksnakhxngaeprsphaphcakkarkraaethk karkhadlksnakhxngridxksaelaxxksiedchnsungepnlksnaechphaathiphbidinhinbasxltbnphunphiwolk aelakarprascakodysinechingkhxngnainaer khnathihinbasxltbndwngcnthrthnghlaypathukhunmarahwang 3 aela 3 5 phnlanpimaaelw chintwxyangthimixayuekaaekthisudekaaekthung 4 2 phnlanpi aelathimixayuxxnthisudcakkarwdkhadwywithipramanidwapathukhunmaemux 1 2 phnlanpimaaelw hinbasxltkphbidthwipbnphunphiwdawxngkhar thngniidcakkhxmulsngklbmacakphunphiwdawxngkharodykaraeprsphaphhinbasxltepnhinthisakhyinaenwaeprsphaphdwyepnhinthiihkhxmulthisakhythibngchithungsphaphkhxngkaraeprsphaphphayinaenwaeprsphaphnn michudlksnkhxngkaraeprsphaphthihlakhlaythithuktngchuxkhuntamchuxklumkhxngaeraelachnidkhxnghinthiekidkhunodyhinbasxlttamxunhphumiaelaaerngkddnkhxngehtukarnaeprsphaphnn echn chudlksn chudlksn chudlksn chudlksn chudlksn hinbasxltthithukaeprsphaphepnhinthisakhythiepnaehlngaeraebbnarxnthihlakhlayxyangechn thxngkha thxngaedng aehlngaerslifd aelaxunhinbasxltinpraethsithybriewnphakhehnux hinbasxltbanchangekhiyn xayu 1 69 1 25 lanpi Barr and Macdonald 1981 aelahinbasxltechiyngkhxng xayu 1 74 0 18 lanpi Barr and Macdonald 1981 hinbasxltaemtha 0 69 0 95 aela 0 8 0 3 lanpi Barr et al 1976 Sasada et al 1987 aelahinbasxltsbprab cnghwdaephr xayu 5 64 0 28 lanpi Barr and Macdonald 1981 briewnphakhtawntk cnghwdkaycnburi xayu 3 14 0 17 lanpi Barr and Macdonald 1981 briewnphakhklang cnghwdlphburi xayu 11 29 0 64 lanpi Barr and Macdonald 1981 briewnphakhtawnxxkechiyngehnux hinbasxltekhakraodng xayu 0 92 0 03 lanpi Barr and Macdonald 1981 hinbasxltphufay xayu 3 28 0 48 lanpi Barr and Macdonald 1981 briewnphakhtawnxxk hinbasxltekhaphlxyaehwn cnghwdcnthburi xayu 0 44 0 11 lanpi Barr and Macdonald 1981 aelahinbasxltthangdantawnxxkkhxngcnthburi xayu 2 57 0 20 lanpi Carbonnel 1972 xayu 1 13 0 17 lanpi Barr and Macdonald 1981 xayu 8 5 1 0 lanpi Bignell et al 1977 xangxingSee the PETDB database 2008 08 20 thi ewyaebkaemchchin Hyndman Donald W 1985 Petrology of igneous and metamorphic rocks 2nd ed McGraw Hill ISBN 0 07 031658 9 Blatt Harvey and Robert Tracy 1996 Petrology 2nd ed Freeman ISBN 0 7167 2438 3 D Weaire and N Rivier Contemporary Physics 25 1 1984 pp 55 99 http www pohnpeiheaven com pwisehn malek htm 2012 02 22 thi ewyaebkaemchchin Alex Zuccarelli 2003 Pohnpei Between Time amp Tide Pwisehn Malek http www luzicke hory cz mista index php pg zmpansc Website in Czech language with some nice pictures and excellent example of columnar basalt in Northern Bohemia near Katrina J Edwards Wolfgang Bach and Daniel R Rogers Geomicrobiology of the Ocean Crust A Role for Chemoautotrophic Fe Bacteria Biol Bull 204 180 185 April 2003 http www biolbull org cgi content full 204 2 180 Templeton A S Staudigel H Tebo B M 2005 Diverse Mn II oxidizing bacteria isolated from submarine basalts at Loihi Seamount Geomicrobiology Journal v 22 129 137 http www ebs ogi edu tebob pdfs Templeton 20GeomicroJ pdf 2009 03 26 thi ewyaebkaemchchin A Y Ozerov The evolution of high alumina basalts of the Klyuchevskoy volcano Kamchatka Russia based on microprobe analyses of mineral inclusions Journal of Volcanology and Geothermal Research v 95 pp 65 79 2000 A W Hofmann Sampling mantle heterogeneity through oceanic basalts isotopes and trace elements Treatise on Geochemistry Volume 2 pages 61 101 Elsevier Ltd 2003 ISBN 0 08 044337 0 In March 2007 the article was available on the web at http www1 mpch mainz mpg de geo hofmann Hofmann mantle heterogen1 pdf 2007 06 28 thi ewyaebkaemchchin A V Sobolev and others The amount of recycled crust in sources of mantle derived melts Science v 316 pp 412 417 2007 http www sciencemag org cgi content abstract 316 5823 412duephimthrniwithyapraethsithy krmthrphyakrthrni krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm 2550 598 hna