บอมบ์สูท (อังกฤษ: Bomb suit) หรือชุดกันระเบิด เป็นชุดเกราะหนักที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อทนต่อแรงอัดจากระเบิด และอาจรวมถึงระเบิดกระสุนยิง ซึ่งมักจะได้รับการสวมใส่โดยบุคลากรหน่วยทำลายล้างวัตถุระเบิดที่ผ่านการฝึกอบรม เปรียบเทียบกับ ซึ่งมักจะมุ่งเน้นการป้องกันลำตัวและศีรษะ ในขณะที่ชุดกันระเบิดจะต้องป้องกันทุกส่วนของร่างกาย ตั้งแต่อันตรายที่เกิดจากของวัตถุระเบิดที่มีผลต่อร่างกายทุกส่วน การออกแบบปัจจุบันที่ได้ผลจะมีน้ำหนักมาก, ขนาดใหญ่ และยากในการจัดทำ ข้อบกพร่องเหล่านี้ทำให้มันไม่เหมาะสมสำหรับการใช้งานปกติในสถานการณ์การสู้รบ
มีหลายชิ้นส่วนของชุดกันระเบิดที่ทับซ้อนกันเพื่อการป้องกันสูงสุด โดยเป็นชุดป้องกันในรูปแบบต่างกันที่หลากหลาย มันสามารถยับยั้งหรือหักเหแรงกระแทกที่มาจากวัตถุระเบิด นอกจากนี้ยังสามารถหยุดหรือลดแรงอัดจากคลื่นระเบิดที่ส่งผ่านไปยังบุคคลที่อยู่ภายในชุด ชุดกันระเบิดส่วนใหญ่ ดังเช่น แอดวานซ์บอมบ์สูท ได้มีการใช้ชั้นของเคฟลาร์, โฟม และพลาสติก ทำขึ้นแบบสำเร็จ
ชุดกันระเบิดอาจจะไม่มีถุงมือ เพื่อเพิ่มความแน่นอนในการปฏิบัติ โดยจะช่วยให้ผู้สวมใส่เกิดการเคลื่อนไหวของมือได้อย่างสูงสุด แต่นั่นก็เป็นการปล่อยให้มือและแขนไม่ได้รับการป้องกันอย่างสมบูรณ์
เจ้าหน้าที่อีโอดีจะทำการสวมใส่ชุดกันระเบิดในระหว่างการสำรวจ 'เรนเดอร์เซฟ' หรือขั้นตอนการหยุดชะงักในการคุกคามของระเบิดที่มีประสิทธิภาพหรือได้รับการยืนยัน ชุดดังกล่าวจะต้องสามารถป้องกันการกระจายตัว, แรงดันระเบิด, ความร้อน และผลกระทบระดับตติยภูมิของภัยคุกคามจากการระเบิด ในขณะเดียวกัน ชุดอาจขัดขวางการเคลื่อนไหวหรือของพวกเขาจนเป็นที่น่าสังเกต
ประวัติ
ยุคอีโอดดีสมัยใหม่เริ่มต้นขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อกองทัพของเยอรมัน ได้เพิ่มจำนวนระเบิดใส่ลงสู่แผ่นดินอังกฤษเป็นอย่างมาก จำนวนพลเรือนที่บาดเจ็บล้มตายเพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากการถ่วงเวลาของระเบิด ซึ่งมักจะทะลุลงไปในพื้นดินหลายฟุตหลังจากที่ถูกทิ้งลงมาจากเครื่องบิน เหล่าชายที่ได้รับการฝึกอบรมเพื่อปลดชนวนระเบิดต่างได้ทุ่มเทให้กับงานที่ต้องใช้ความพยายามอย่างหนัก ในช่วงที่การออกแบบสายชนวนมีการเปลี่ยนแปลง, วัตถุตกค้างที่ยังไม่ระเบิด (ยูเอ็กซ์ดี) จำนวนมาก รวมถึงทหารได้เสียชีวิตหลายราย กระทั่งมีการกำจัดได้มากขึ้นโดยการออกแบบที่ได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่
ในขณะที่สหรัฐฯ น่าจะมีส่วนร่วมในสงครามโลกครั้งที่สอง พวกเขาได้รับการร้องขอความช่วยเหลือจากอังฤษในการฝึกอบรมเหล่าพลเรือนอีโอดีในการทำลายล้างระเบิดตกค้างในเขตเมือง ผู้คนต่างยอมจ่ายเพื่อเรียนรู้ถึงชนวนแบบต่าง ๆ และการกำจัดจากการศึกษาดังกล่าว หลังจากเป็นที่ชัดเจนว่างานอีโอดีที่ดีที่สุดมาจากการจัดการของทหาร สหรัฐอเมริกาได้พยายามหลายวิธีในการจัดระเบียบบุคลากรอีโอดีที่จะช่วยตอบสนองความต้องการทั้งสำหรับการฝึกอบรมแบบเฉพาะเจาะจงและการใช้งานที่หลากหลาย
ในภาพถ่ายของภารกิจแรกในการปลดชนวนระเบิดที่ตกค้าง จะพบว่าผู้ปฏิบัติการไม่ได้สวมอุปกรณ์ป้องกันใด ๆ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว พวกเขามักจะสวมเสื้อที่สามารถรับมือกับความร้อนที่เกิดจากการใช้แรงกายจากการขุดโดยรอบวัตถุระเบิดก่อนที่พวกเขาจะทำการปลดชนวน โดยพื้นฐานแล้ว บุคคลผู้ทำการปลดชนวนระเบิดอาจประสบความสำเร็จ หรือประสบผลล้มเหลวที่มีอันตรายถึงแก่ชีวิต
ชุดกันระเบิดของหน่วยอีโอดียุคแรกประกอบด้วยวัสดุประเภทเคฟลาร์ และ/หรือแผ่นเกราะที่ทำจากโลหะหรือพลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใย โดยมีวัตถุประสงค์คือปกป้องผู้สวมใส่ไม่ให้ได้รับบาดเจ็บ จากการผ่านทะลุของส่วนที่แตกออกมาจากวัตถุระเบิด ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 ได้มีการวิจัยที่แสดงให้เห็นว่าวัสดุเหล่านี้เพียงอย่างเดียว ไม่ได้มีประสิทธิภาพต่อคลื่นกระแทกในตัวของมันเอง ซึ่งอาจทำให้ปอดฉีกขาด รวมถึงอาจได้รับบาดเจ็บภายในอย่างสาหัสในส่วนอื่น ๆ ส่วนชุดสูทของหน่วยอีโอดีสมัยใหม่ มีชั้นของเคฟลาร์, การใส่แผ่นเหล็ก และโฟม เพื่อให้เกิดการป้องกันจากทั้งสะเก็ดที่แตกออกมา กับคลื่นกระแทกที่มีต่อชุดสูท
ภัยคุกคามที่เกิดจากระเบิดแสวงเครื่อง หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าเป็นระเบิดไออีดี และอาจรวมถึงตัวกระทำทาง สิ่งเหล่านี้ได้นำมาสู่ความก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญตั้งแต่ปี ค.ศ. 1999 ในการออกแบบที่เหมาะสมต่อชุดสูททำลายล้างวัตถุระเบิดรวมถึงหมวกนิรภัย ตัวอย่างเช่น บอมบ์สูทสมัยใหม่อาจป้องกันภัยระเบิดคุกคามธรรมดา ตลอดจนตัวกระทำทางสารเคมี/ชีวภาพ โดยได้รวมชั้นป้องกันสารเคมีเข้าไว้ด้วยกัน และหมวกนิรภัยที่เข้ากันได้กับ
ในระยะหลัง สหรัฐอเมริกา ได้รับการสนับสนุนโครงการในการพัฒนามาตรฐานการทดสอบแห่งชาติสำหรับชุดกันระเบิดของหน่วยอีโอดีเพื่อให้เกิดการป้องกันที่เหมาะสม โดยชุดที่ได้รับ สามารถกล่าวได้ว่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยมีเป้าหมายที่จะมีวิธีในการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของการออกแบบที่แตกต่างกันกับภัยคุกคามที่คาดคิดและภัยคุกคามอื่นแต่ละรูปแบบ คล้ายกันกับที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในการทดสอบและเปรียบเทียบเกราะหรือวัสดุที่ใช้เพื่อหยุดภัยคุกคามจากวิถีกระสุน
นักพัฒนาจะต้องพิจารณามากขึ้นกว่าเพียงแค่การป้องกัน ตั้งแต่บุคคลที่ต้องปฏิบัติงานอย่างเคร่งเครียด ซึ่งต้องใช้ทักษะด้านกลไกที่มีความละเอียดบอบบางในขณะที่สวมใส่ชุดกันระเบิด และปัจจัยอื่นที่จะต้องพิจารณา ประกอบด้วย
- การกันกระแทกกระดูกสันหลังและศีรษะ ในกรณีที่ผู้สวมใส่ได้ล้มลงเนื่องด้วยแรงระเบิด
- การป้องกันความร้อน
- การเคลื่อนไหวในการทำงานให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การจำกัดน้ำหนัก
- การถอดอย่างรวดเร็ว เช่นในกรณีที่มีการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน
- การขจัดไอน้ำออกให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันไม่ให้เกราะหน้ากระบังหมวกนิรภัยเกิดการขุ่นมัว
การป้องกัน
ชิ้นส่วนของบอมบ์สูททับซ้อนกับชิ้นวัสดุอื่น ๆ เพื่อการป้องกันสูงสุดสำหรับผู้สวมใส่ไม่ว่าจะหันหน้าไปทางวัตถุระเบิดหรืออยู่ห่างจากวัตถุระเบิด ชุดบอมบ์สูทสามารถป้องกันได้หลายสถาน มันสามารถหักเหหรือหยุดแรงกระแทกที่อาจมาจากวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง ประการที่สอง มันสามารถป้องกันโดยการหยุดคลื่นกระแทกจากการกระจายและการทำร้ายผู้สวมใส่ ซึ่งโดยปกติแล้ว เคฟลาร์, โฟม และพลาสติก ต่างมีลักษณะเป็นชั้นและปกคลุมด้วยวัสดุสารหน่วงไฟเพื่อให้สัมฤทธิ์ผลต่อการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
จนกระทั่งกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 ชุดกันระเบิดของหน่วยอีโอดีได้ประกอบไปด้วยเคฟลาร์ และ/หรือแผ่นเกราะสำหรับหยุดยั้งแรงกระแทก อย่างไรก็ตาม ชุดกันระเบิดไม่ได้มีการป้องกันเมื่อเผชิญกับคลื่นกระแทกมากนัก ความเสียหายจากคลื่นกระแทกที่รู้จักกันมากที่สุดคือ “ปอดช้ำ” โดยปอด (และอวัยวะภายในอื่น ๆ) มักได้รับบาดเจ็บจากคลื่นกระแทกและมีเลือดออก แม้ว่าจะไม่ได้รับบาดเจ็บจากการทิ่มแทง แต่การบาดเจ็บภายในดังกล่าวก็สามารถเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ และในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 การวิจัยดำเนินการในสหราชอาณาจักรได้แสดงให้เห็นว่าสิ่งทอและแผ่นเกราะแข็งของชุดไม่ได้ป้องกันการบาดเจ็บที่ปอดจากการระเบิด มันได้รับการค้นพบว่าสูงด้วยการหนุนของส่วนที่นิ่ม กับชั้นความต้านทานเชิงซ้อนของเสียงต่ำ (เช่น โฟมที่มีความหนาแน่นต่ำ) จะปกป้องการบาดเจ็บจากระเบิดได้ อย่างไรก็ดี มันได้แสดงให้เห็นว่าการทำความเข้าใจด้านค่าความถี่คลื่นกระแทกที่ใช้ในการทดลอง และทดสอบทางวัสดุซึ่งใส่เข้าไว้ด้วยกันนั้นมีความสำคัญ เพื่อให้เกิดความแน่ใจว่าสิ่งเหล่านี้มีประสิทธิภาพ
ปัญหาทางการยศาสตร์
ประสิทธิภาพในการหยุดคลื่นกระแทก, ชั้นหนาของเคฟลาร์, โฟม และพลาสติก ต่างมีความจำเป็นเพื่อป้องกันไม่ให้เป็นอันตรายต่อร่างกายอย่างสาหัส ตั้งแต่ความจำเป็นในการป้องกันทั้งร่างกาย ส่งผลให้ชุดกันระเบิดมีความหนัก (ตั้งแต่ 37 กก. หรือมากกว่า), ร้อนไปจนถึงระดับที่ก่อให้เกิดความเครียดต่อความร้อน และยากต่อการสวมใส่ ด้วยเหตุนี้ จึงมักมีหนึ่งคนที่สวมใส่ชุดเพื่อเข้าใกล้วัตถุระเบิดสำหรับการปลดชนวนหลังจากที่ได้รับการพิสูจน์เอกลักษณ์แล้ว น้ำหนักของชุดกันระเบิดมักแลกมาซึ่งความสามารถในการป้องกัน จึงมีการจัดระเบียบของชุดกันระเบิดที่สามารถนำมาใช้ได้ เพื่อที่ว่าหน่วยงานสามารถเลือกสำหรับการป้องกันโดยไม่ต้องมีน้ำหนักมากเกินจำเป็นหากเป็นไปได้ ซึ่งชุดกันระเบิดที่มีส่วนประกอบอย่างน้อยที่สุดจะประกอบด้วย แจ็คเก็ต, ที่กำบัง และหมวกนิรภัยที่มีน้ำหนักอย่างน้อยที่สุดอยู่ที่ 5 กิโลกรัม โดยสิ่งเหล่านี้จะเป็นรายการที่เหมาะสมต่อ ซึ่งไม่ใช่การทำลายล้างวัตถุระเบิด
วัสดุที่จำเป็นในการทำชุดกันระเบิด จะไม่ปล่อยให้ร่างกายเกิดความร้อนขึ้นโดยผู้สวมใส่ โดยผลที่ได้อาจก่อให้เกิดความเครียดต่อความร้อน ซึ่งสามารถนำมาสู่อาการป่วยและความสับสน ตลอดจนลดความสามารถของผู้สวมใส่ในขณะปฏิบัติหน้าที่ ชุดกันระเบิดรุ่นล่าสุดประกอบด้วยระบบแบตเตอรี่ระบายความร้อนเพื่อป้องกันไม่เกิดอาการเครียดจากความร้อน ผลงานวิจัยของผู้ผลิตรายหนึ่งอ้างว่าระบบระบายความร้อนภายในชุดกันระเบิดที่มีน้ำหนัก 18 กิโลกรัม และ 37 กิโลกรัม ได้ช่วยให้ผู้สวมใส่อยู่ในอุณหภูมิที่สามารถทำงานได้ถึงหนึ่งชั่วโมง แม้จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ร้อนก็ตาม
อ้างอิง
- A short history of Royal Engineer Bomb Disposal 2003-10-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน posted by the The Royal Engineers Bomb Disposal Officers Club (U.K.), accessed 26 July 2011.
- A short history of the beginnings of the U.S. EOD 2012-04-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน posted by the National EOD Association, accessed 26 July 2011.
- A short history of American EOD 2011-10-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน recounted by The Origins of U.S. Army Explosive Ordnance Disposal by CSM James H. Clifford (Ret.), accessed 26 July 2011.
- see, for example, A WWII bomb disposal case history, accessed 30 July 2011
- Cooper G. Protection of the lung from blast overpressure by thoracic stress wave decouplers. J Trauma 40(3):S105-S110, 1996.
- Waclawik, S. Explosive Ordnance Disposal Personal Protective Equipment (EOD PPE) Standard. Presentation by the Ballistic Technology Team, Natick Soldier Center, Natick, Massachusetts, USA. read online
- Cooper G. Protection of the lung from blast overpressure by thoracic stress wave decouplers. J Trauma 40(3):S105-S110, 1996.
- Stewart, Ian B.; Rojek, Amanda M.; Hunt, Andrew P. Heat Strain During Explosive Ordnance Disposal. Military Medicine, Volume 176, Number 8, August 2011 , pp. 959-963.
- Thake, C.D., et al., A thermal physiological comparison between two Explosives Ordnance Disposal (EOD) suits during work related activities in moderate and hot conditions. read online
แหล่งข้อมูลอื่น
- Development of a Bomb Suit Standard 2009-08-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, U.S. Army Natick Soldier RD&E Center
- EOD/IEDD Personal Protective Equipment
- 360° view of a wearing a bombsuit at DefenceJobs.gov.au
- บทความนี้รวมเอาจากUnited States Army
- Catalog photos of bomb suits sold by UK company NP Aerospace 2012-08-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Bass et al., 2006, Comparative testing of effectiveness of different helmet/shield designs at reducing head acceleration due to blast. 2012-10-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Bass et al., 2005, A methodology for assessing blast protection in explosive ordnance disposal bomb suits.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bxmbsuth xngkvs Bomb suit hruxchudknraebid epnchudekraahnkthiidrbkarxxkaebbmaephuxthntxaerngxdcakraebid aelaxacrwmthungraebidkrasunying sungmkcaidrbkarswmisodybukhlakrhnwythalaylangwtthuraebidthiphankarfukxbrm epriybethiybkb sungmkcamungennkarpxngknlatwaelasirsa inkhnathichudknraebidcatxngpxngknthukswnkhxngrangkay tngaetxntraythiekidcakkhxngwtthuraebidthimiphltxrangkaythukswn karxxkaebbpccubnthiidphlcaminahnkmak khnadihy aelayakinkarcdtha khxbkphrxngehlanithaihmnimehmaasmsahrbkarichnganpktiinsthankarnkarsurbbxmbsuth mihlaychinswnkhxngchudknraebidthithbsxnknephuxkarpxngknsungsud odyepnchudpxngkninrupaebbtangknthihlakhlay mnsamarthybynghruxhkehaerngkraaethkthimacakwtthuraebid nxkcakniyngsamarthhyudhruxldaerngxdcakkhlunraebidthisngphanipyngbukhkhlthixyuphayinchud chudknraebidswnihy dngechn aexdwansbxmbsuth idmikarichchnkhxngekhflar ofm aelaphlastik thakhunaebbsaerc chudknraebidxaccaimmithungmux ephuxephimkhwamaennxninkarptibti odycachwyihphuswmisekidkarekhluxnihwkhxngmuxidxyangsungsud aetnnkepnkarplxyihmuxaelaaekhnimidrbkarpxngknxyangsmburn ecahnathixioxdicathakarswmischudknraebidinrahwangkarsarwc ernedxresf hruxkhntxnkarhyudchangkinkarkhukkhamkhxngraebidthimiprasiththiphaphhruxidrbkaryunyn chuddngklawcatxngsamarthpxngknkarkracaytw aerngdnraebid khwamrxn aelaphlkrathbradbttiyphumikhxngphykhukkhamcakkarraebid inkhnaediywkn chudxackhdkhwangkarekhluxnihwhruxkhxngphwkekhacnepnthinasngektprawtiyukhxioxddismyihmerimtnkhuninchwngsngkhramolkkhrngthisxng emuxkxngthphkhxngeyxrmn idephimcanwnraebidislngsuaephndinxngkvsepnxyangmak canwnphleruxnthibadecblmtayephimkhunxnenuxngmacakkarthwngewlakhxngraebid sungmkcathalulngipinphundinhlayfuthlngcakthithukthinglngmacakekhruxngbin ehlachaythiidrbkarfukxbrmephuxpldchnwnraebidtangidthumethihkbnganthitxngichkhwamphyayamxyanghnk inchwngthikarxxkaebbsaychnwnmikarepliynaeplng wtthutkkhangthiyngimraebid yuexksdi canwnmak rwmthungthharidesiychiwithlayray krathngmikarkacdidmakkhunodykarxxkaebbthiidrbkarphthnakhunihm inkhnathishrth nacamiswnrwminsngkhramolkkhrngthisxng phwkekhaidrbkarrxngkhxkhwamchwyehluxcakxngvsinkarfukxbrmehlaphleruxnxioxdiinkarthalaylangraebidtkkhanginekhtemuxng phukhntangyxmcayephuxeriynruthungchnwnaebbtang aelakarkacdcakkarsuksadngklaw hlngcakepnthichdecnwanganxioxdithidithisudmacakkarcdkarkhxngthhar shrthxemrikaidphyayamhlaywithiinkarcdraebiybbukhlakrxioxdithicachwytxbsnxngkhwamtxngkarthngsahrbkarfukxbrmaebbechphaaecaacngaelakarichnganthihlakhlay inphaphthaykhxngpharkicaerkinkarpldchnwnraebidthitkkhang caphbwaphuptibtikarimidswmxupkrnpxngknid sunginkhwamepncringaelw phwkekhamkcaswmesuxthisamarthrbmuxkbkhwamrxnthiekidcakkarichaerngkaycakkarkhudodyrxbwtthuraebidkxnthiphwkekhacathakarpldchnwn odyphunthanaelw bukhkhlphuthakarpldchnwnraebidxacprasbkhwamsaerc hruxprasbphllmehlwthimixntraythungaekchiwit chudknraebidkhxnghnwyxioxdiyukhaerkprakxbdwywsdupraephthekhflar aela hruxaephnekraathithacakolhahruxphlastikesrimaerngdwyesniy odymiwtthuprasngkhkhuxpkpxngphuswmisimihidrbbadecb cakkarphanthalukhxngswnthiaetkxxkmacakwtthuraebid inchwngklangkhristthswrrs 1990 idmikarwicythiaesdngihehnwawsduehlaniephiyngxyangediyw imidmiprasiththiphaphtxkhlunkraaethkintwkhxngmnexng sungxacthaihpxdchikkhad rwmthungxacidrbbadecbphayinxyangsahsinswnxun swnchudsuthkhxnghnwyxioxdismyihm michnkhxngekhflar karisaephnehlk aelaofm ephuxihekidkarpxngkncakthngsaekdthiaetkxxkma kbkhlunkraaethkthimitxchudsuth ecahnathixioxdikhnathakartrwcsxbwtthuraebid phykhukkhamthiekidcakraebidaeswngekhruxng hruxthiruckknodythwipwaepnraebidixxidi aelaxacrwmthungtwkrathathang singehlaniidnamasukhwamkawhnaxyangminysakhytngaetpi kh s 1999 inkarxxkaebbthiehmaasmtxchudsuththalaylangwtthuraebidrwmthunghmwknirphy twxyangechn bxmbsuthsmyihmxacpxngknphyraebidkhukkhamthrrmda tlxdcntwkrathathangsarekhmi chiwphaph odyidrwmchnpxngknsarekhmiekhaiwdwykn aelahmwknirphythiekhaknidkb inrayahlng shrthxemrika idrbkarsnbsnunokhrngkarinkarphthnamatrthankarthdsxbaehngchatisahrbchudknraebidkhxnghnwyxioxdiephuxihekidkarpxngknthiehmaasm odychudthiidrb samarthklawidwaxyuineknthmatrthan odymiepahmaythicamiwithiinkarepriybethiybphlkardaeninngankhxngkarxxkaebbthiaetktangknkbphykhukkhamthikhadkhidaelaphykhukkhamxunaetlarupaebb khlayknkbthimikarichknxyangaephrhlayinkarthdsxbaelaepriybethiybekraahruxwsduthiichephuxhyudphykhukkhamcakwithikrasun nkphthnacatxngphicarnamakkhunkwaephiyngaekhkarpxngkn tngaetbukhkhlthitxngptibtinganxyangekhrngekhriyd sungtxngichthksadanklikthimikhwamlaexiydbxbbanginkhnathiswmischudknraebid aelapccyxunthicatxngphicarna prakxbdwy karknkraaethkkraduksnhlngaelasirsa inkrnithiphuswmisidlmlngenuxngdwyaerngraebid karpxngknkhwamrxn karekhluxnihwinkarthanganihidxyangmiprasiththiphaph karcakdnahnk karthxdxyangrwderw echninkrnithimikarrksaphyabalchukechin karkhcdixnaxxkihidxyangmiprasiththiphaph ephuxpxngknimihekraahnakrabnghmwknirphyekidkarkhunmwkarpxngknchinswnkhxngbxmbsuththbsxnkbchinwsduxun ephuxkarpxngknsungsudsahrbphuswmisimwacahnhnaipthangwtthuraebidhruxxyuhangcakwtthuraebid chudbxmbsuthsamarthpxngknidhlaysthan mnsamarthhkehhruxhyudaerngkraaethkthixacmacakwtthuraebidaeswngekhruxng prakarthisxng mnsamarthpxngknodykarhyudkhlunkraaethkcakkarkracayaelakartharayphuswmis sungodypktiaelw ekhflar ofm aelaphlastik tangmilksnaepnchnaelapkkhlumdwywsdusarhnwngifephuxihsmvththiphltxkarptibtihnathidngklaw cnkrathngklangkhristthswrrs 1990 chudknraebidkhxnghnwyxioxdiidprakxbipdwyekhflar aela hruxaephnekraasahrbhyudyngaerngkraaethk xyangirktam chudknraebidimidmikarpxngknemuxephchiykbkhlunkraaethkmaknk khwamesiyhaycakkhlunkraaethkthiruckknmakthisudkhux pxdcha odypxd aelaxwywaphayinxun mkidrbbadecbcakkhlunkraaethkaelamieluxdxxk aemwacaimidrbbadecbcakkarthimaethng aetkarbadecbphayindngklawksamarthepnxntraythungchiwitid aelainchwngklangkhristthswrrs 1990 karwicydaeninkarinshrachxanackridaesdngihehnwasingthxaelaaephnekraaaekhngkhxngchudimidpxngknkarbadecbthipxdcakkarraebid mnidrbkarkhnphbwasungdwykarhnunkhxngswnthinim kbchnkhwamtanthanechingsxnkhxngesiyngta echn ofmthimikhwamhnaaennta capkpxngkarbadecbcakraebidid xyangirkdi mnidaesdngihehnwakarthakhwamekhaicdankhakhwamthikhlunkraaethkthiichinkarthdlxng aelathdsxbthangwsdusungisekhaiwdwyknnnmikhwamsakhy ephuxihekidkhwamaenicwasingehlanimiprasiththiphaphpyhathangkarysastrprasiththiphaphinkarhyudkhlunkraaethk chnhnakhxngekhflar ofm aelaphlastik tangmikhwamcaepnephuxpxngknimihepnxntraytxrangkayxyangsahs tngaetkhwamcaepninkarpxngknthngrangkay sngphlihchudknraebidmikhwamhnk tngaet 37 kk hruxmakkwa rxnipcnthungradbthikxihekidkhwamekhriydtxkhwamrxn aelayaktxkarswmis dwyehtuni cungmkmihnungkhnthiswmischudephuxekhaiklwtthuraebidsahrbkarpldchnwnhlngcakthiidrbkarphisucnexklksnaelw nahnkkhxngchudknraebidmkaelkmasungkhwamsamarthinkarpxngkn cungmikarcdraebiybkhxngchudknraebidthisamarthnamaichid ephuxthiwahnwyngansamartheluxksahrbkarpxngknodyimtxngminahnkmakekincaepnhakepnipid sungchudknraebidthimiswnprakxbxyangnxythisudcaprakxbdwy aeckhekt thikabng aelahmwknirphythiminahnkxyangnxythisudxyuthi 5 kiolkrm odysingehlanicaepnraykarthiehmaasmtx sungimichkarthalaylangwtthuraebid wsduthicaepninkarthachudknraebid caimplxyihrangkayekidkhwamrxnkhunodyphuswmis odyphlthiidxackxihekidkhwamekhriydtxkhwamrxn sungsamarthnamasuxakarpwyaelakhwamsbsn tlxdcnldkhwamsamarthkhxngphuswmisinkhnaptibtihnathi chudknraebidrunlasudprakxbdwyrabbaebtetxrirabaykhwamrxnephuxpxngknimekidxakarekhriydcakkhwamrxn phlnganwicykhxngphuphlitrayhnungxangwarabbrabaykhwamrxnphayinchudknraebidthiminahnk 18 kiolkrm aela 37 kiolkrm idchwyihphuswmisxyuinxunhphumithisamarththanganidthunghnungchwomng aemcaxyuinsphaphaewdlxmthirxnktamxangxingA short history of Royal Engineer Bomb Disposal 2003 10 02 thi ewyaebkaemchchin posted by the The Royal Engineers Bomb Disposal Officers Club U K accessed 26 July 2011 A short history of the beginnings of the U S EOD 2012 04 02 thi ewyaebkaemchchin posted by the National EOD Association accessed 26 July 2011 A short history of American EOD 2011 10 04 thi ewyaebkaemchchin recounted by The Origins of U S Army Explosive Ordnance Disposal by CSM James H Clifford Ret accessed 26 July 2011 see for example A WWII bomb disposal case history accessed 30 July 2011 Cooper G Protection of the lung from blast overpressure by thoracic stress wave decouplers J Trauma 40 3 S105 S110 1996 Waclawik S Explosive Ordnance Disposal Personal Protective Equipment EOD PPE Standard Presentation by the Ballistic Technology Team Natick Soldier Center Natick Massachusetts USA read online Cooper G Protection of the lung from blast overpressure by thoracic stress wave decouplers J Trauma 40 3 S105 S110 1996 Stewart Ian B Rojek Amanda M Hunt Andrew P Heat Strain During Explosive Ordnance Disposal Military Medicine Volume 176 Number 8 August 2011 pp 959 963 Thake C D et al A thermal physiological comparison between two Explosives Ordnance Disposal EOD suits during work related activities in moderate and hot conditions read onlineaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb bxmbsuth Development of a Bomb Suit Standard 2009 08 27 thi ewyaebkaemchchin U S Army Natick Soldier RD amp E Center EOD IEDD Personal Protective Equipment 360 view of a wearing a bombsuit at DefenceJobs gov au bthkhwamnirwmexacakUnited States Army Catalog photos of bomb suits sold by UK company NP Aerospace 2012 08 01 thi ewyaebkaemchchin Bass et al 2006 Comparative testing of effectiveness of different helmet shield designs at reducing head acceleration due to blast 2012 10 09 thi ewyaebkaemchchin Bass et al 2005 A methodology for assessing blast protection in explosive ordnance disposal bomb suits