นกยางควาย | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Aves |
อันดับ: | Ciconiiformes |
วงศ์: | Ardeidae |
สกุล: | Bubulcus , 1855 |
สปีชีส์: | B. ibis |
ชื่อทวินาม | |
Bubulcus ibis (Linnaeus, ) | |
ชนิดย่อย | |
| |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ เหลือง: สถานที่แพร่พันธุ์ สีเขียว: สถานที่พบได้ทั้งปี สีน้ำเงิน: สถานที่ไม่ใช่ที่แพร่พันธุ์ | |
ชื่อพ้อง | |
|
นกยางควาย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bubulcus ibis; อังกฤษ: Cattle egret) เป็นนกยางสีขาว ในวงศ์ Ardeidae พบในเขตร้อนและอบอุ่น นกกระยางควายมีจุดกำเนิดในทวีปเอเชีย แอฟริกาและยุโรป แต่นกยางมีการขยายพันธุ์และกระจายตัวไปทั่วโลก และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จัดเป็นนกเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Bubulcus
ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์
เป็นนกยางสีขาว ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน ขนทั่วตัวสีขาว ขากรรไกรค่อนข้างใหญ่และขาสั้น มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางเพียง 51 เซนติเมตรเท่านั้น แต่ในฤดูผสมพันธุ์จะมีขนประดับเป็นเส้นยาว ๆ ที่หัว คอ และหลังเป็นสีเหลืองส้ม พ้นฤดูผสมพันธุ์ขนประดับดังกล่าวจะผลัดออกหมด นัยน์ตาและปากเป็นสีเหลือง แต่รอบตาสีออกเขียวอ่อน เท้าสีดำ ในช่วงนี้เมื่อจับคู่แล้วนกทั้งสองเพศจะช่วยกันทำรังโดยตัวผู้หาวัสดุซึ่งก็คือกิ่งไม้แห้งที่อาจจะหามาเองหรือขโมยเอาจากรังใกล้ๆ ตัวเมียสร้างรัง เมื่อวางไข่แล้วจะช่วยกันกกไข่ และหาอาหารมาป้อนลูก
อนุกรมวิธาน
นกกระยางควายแบ่งตามลักษณะทางภูมิศาตร์ได้ 2 ชนิดย่อย คือ ทางตะวันตก, B. ibis และ ทางตะวันออก, B. coromandus ทั้งสองแบบถูกแบ่งโดย แมคอัลเลนและบรู๊ค แต่ได้รับการพิจารณาแล้วว่าเป็นชนิดเดียวกัน
การอพยพและการเคลื่อนที่
ประชากรบางส่วนของนกยางควาย ที่อพยพและค่อนข้างที่จะแยกความแตกต่างกันได้ยาก นกยางควายจะอพยพจากพื้นที่ขั้วโลกเหนือไปสู่บริเวณที่อบอุ่น แต่นกยางในออสเตรเลีย จะอพยพไปที่ที่มีอากาศเย็นในแทสมาเนียและนิวซีแลนด์ในช่วงฤดูหนาวและอพยพกลับในฤดูใบไม้ผลิ การอพยพในแอฟริกาตะวันตกขึ้นอยู่กับการตอบสนองของปริมาณน้ำฝน
การสืบพันธุ์
ในฤดูผสมพันธุ์นกชนิดนี้จะดูสวยและจำแนกได้ง่าย เพราะหัว คอ หน้าอก และหลังจะมีขนสีเหลืองทองสดใสปกคลุมไปทั่ว ขาที่เคยเป็นสีดำสนิทก็จะมีสีเหลืองหรือสีแดงมาแทนที่ ในช่วงนี้เมื่อจับคู่แล้วนกทั้งสองเพศจะช่วยกันทำรังโดยตัวผู้หาวัสดุซึ่งก็คือกิ่งไม้แห้งที่อาจจะหามาเองหรือขโมยเอาจากรังใกล้ๆ ตัวเมียสร้างรัง เมื่อวางไข่ ไข่เป็นสีฟ้า-ขาวซีด เป็นรูปวงรีขนาด 45 มิลลิเมตร x 53 มิลลิเมตร แล้วจะช่วยกันกกไข่และหาอาหารมาป้อนลูก
การกินอาหาร
นกยางควาย อาศัยตามแหล่งน้ำเหมือนอย่างนกยางอื่น ๆ แต่นกยางควายไม่ได้กินปลาเป็นอาหารหลัก แต่มักกินพวกตั๊กแตน และแมลงต่าง ๆ ในทุ่งหญ้า ที่อยู่บริเวณแหล่งน้ำ หรือแม้กระทั่งพวก กบ เขียด นอกจากนี้ นกยางควายอาจจับกินแมลงที่อยู่บน ควาย หรือ วัว ด้วย
อ้างอิง
- (2008). Bubulcus ibis. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 05 November 2008. Database entry includes justification for why this species is of least concern
- นกยางควาย 2012-06-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. สัตว์ป่าของไทย นกยางควาย
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Bubulcus ibis ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nkyangkhwaysthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Avesxndb Ciconiiformeswngs Ardeidaeskul Bubulcus 1855spichis B ibischuxthwinamBubulcus ibis Linnaeus chnidyxyB i ibis Linnaeus 1758 B i coromandus Boddaert 1783 B i seychellarum Salomonsen 1934 aephnthiaesdngkarkracayphnthu ehluxng sthanthiaephrphnthu siekhiyw sthanthiphbidthngpi sinaengin sthanthiimichthiaephrphnthuchuxphxngArdea ibis Linnaeus 1758 Ardeola ibis Linnaeus 1758 Bubulcus bubulcus Buphus coromandus Boddaert 1783 Cancroma coromanda Boddaert 1783 Egretta ibis Linnaeus 1758 Lepterodatis ibis Linnaeus 1758 nkyangkhway chuxwithyasastr Bubulcus ibis xngkvs Cattle egret epnnkyangsikhaw inwngs Ardeidae phbinekhtrxnaelaxbxun nkkrayangkhwaymicudkaenidinthwipexechiy aexfrikaaelayuorp aetnkyangmikarkhyayphnthuaelakracaytwipthwolk aelaepnstwpakhumkhrxng tamphrarachbyytisngwnaelakhumkhrxngstwpa phuththskrach 2535 cdepnnkephiyngchnidediywethanninskul Bubulcuslksnathangkaywiphakhsastrepnnkyangsikhaw twphuaelatwemiymilksnaehmuxnkn khnthwtwsikhaw khakrrikrkhxnkhangihyaelakhasn mikhwamyawcakplaypakcrdplayhangephiyng 51 esntiemtrethann aetinvduphsmphnthucamikhnpradbepnesnyaw thihw khx aelahlngepnsiehluxngsm phnvduphsmphnthukhnpradbdngklawcaphldxxkhmd nyntaaelapakepnsiehluxng aetrxbtasixxkekhiywxxn ethasida inchwngniemuxcbkhuaelwnkthngsxngephscachwykntharngodytwphuhawsdusungkkhuxkingimaehngthixaccahamaexnghruxkhomyexacakrngikl twemiysrangrng emuxwangikhaelwcachwyknkkikh aelahaxaharmapxnlukxnukrmwithannkkrayangkhwayaebngtamlksnathangphumisatrid 2 chnidyxy khux thangtawntk B ibis aela thangtawnxxk B coromandus thngsxngaebbthukaebngody aemkhxlelnaelabrukh aetidrbkarphicarnaaelwwaepnchnidediywknkarxphyphaelakarekhluxnthiprachakrbangswnkhxngnkyangkhway thixphyphaelakhxnkhangthicaaeykkhwamaetktangknidyak nkyangkhwaycaxphyphcakphunthikhwolkehnuxipsubriewnthixbxun aetnkyanginxxsetreliy caxphyphipthithimixakaseyninaethsmaeniyaelaniwsiaelndinchwngvduhnawaelaxphyphklbinvduibimphli karxphyphinaexfrikatawntkkhunxyukbkartxbsnxngkhxngprimannafnkarsubphnthuikh invduphsmphnthunkchnidnicaduswyaelacaaenkidngay ephraahw khx hnaxk aelahlngcamikhnsiehluxngthxngsdispkkhlumipthw khathiekhyepnsidasnithkcamisiehluxnghruxsiaedngmaaethnthi inchwngniemuxcbkhuaelwnkthngsxngephscachwykntharngodytwphuhawsdusungkkhuxkingimaehngthixaccahamaexnghruxkhomyexacakrngikl twemiysrangrng emuxwangikh ikhepnsifa khawsid epnrupwngrikhnad 45 milliemtr x 53 milliemtr aelwcachwyknkkikhaelahaxaharmapxnlukkarkinxaharnkyangkhway xasytamaehlngnaehmuxnxyangnkyangxun aetnkyangkhwayimidkinplaepnxaharhlk aetmkkinphwktkaetn aelaaemlngtang inthunghya thixyubriewnaehlngna hruxaemkrathngphwk kb ekhiyd nxkcakni nkyangkhwayxaccbkinaemlngthixyubn khway hrux ww dwy nkyangkhwaykalngkinkbthipraethsaekmebiyxangxing 2008 Bubulcus ibis In IUCN 2008 IUCN Red List of Threatened Species Downloaded on 05 November 2008 Database entry includes justification for why this species is of least concern nkyangkhway 2012 06 18 thi ewyaebkaemchchin stwpakhxngithy nkyangkhway wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb nkyangkhwayaehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb Bubulcus ibis thiwikispichis