บทความนี้ไม่มีจาก |
ทฤษฏีข้อมูล (อังกฤษ: Data Theory) เป็นทฤษฏีที่ว่าด้วยของแง่มุมต่าง ๆ ของข้อมูล ซึ่งใช้แบ่งแยกสถานะการณ์ต่าง ๆ ของข้อมูลที่เป็นไปได้ออกด้วยแนวคิดจำนวนน้อย
แง่มุมหลัก ๆ สองแง่มุมของทฤษฎีข้อมูลคือ
- ทฤษฏีการออกแบบเชิงประจักษ์ หรือ เชิงประสบการณ์ (Empirical Design Theory)
- ทฤษฏีการวัดผล (Measurement Theory)
ทฤษฎีการออกแบบเชิงการทดลอง
เป็นแง่มุมของทฤษฎีที่ว่าด้วยหัวข้อต่าง ๆ เช่น
- เงื่อนไขการทดลอง คือแง่มุมต่าง ๆของสถานการณ์ในการทดลอง
- วิถี หมายถึงการออกแบบการทดลองปกติ ได้แก่จำนวนเงื่อนไขใดบ้างในการทดลองที่ต้องคำนึงถึง การออกแบบการทดลองยังรวมถึงเงื่อนไขหลาย ๆ อย่างที่ต้องคำนึงถึงพร้อม ๆ กัน
- ระดับการทดลอง คือจำนวนค่าที่ต่างกันของวิถึการออกแบบ
- การซ้ำการทดลอง คือวิธีพิเศษในการออกแบบที่ใช้โดยการทำซ้ำเดิมวิถีทางโดยการผสมการออกแบบการทดลองต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- ภาวะการทดลอง คือจำนวนวิถึของการออกแบบที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งพิจารณาด้วยข้อมูลที่เกี่ยวข้องคือ
- รูปร่าง เช่น ข้อมูลอาจจะเป็นสี่เหลี่ยมด้านเท่า (สองทาง,หนึ่งภาวะ)หรือเป็นสี่เหลี่ยมด้านขนาน (สองทาง, สองภาวะ)
- สมมาตรหรือไม่สมมาตร ข้อมูลที่เป็นสี่เหลี่ยมอาจจะสมมาตรหรืไม่ก็ได้ โดยข้อมูลที่ไม่สมมาตรจะเรียกว่าข้อมูลสามเหลี่ยม
- ข้อมูลแจกแจงหลายตัวแปร ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นสี่เหลี่ยมด้านขนาน ส่วนใหญ่มีหนึ่งภาวะ และข้อมูลมักจะอยู่เรียงตัวเป็นสดมภ์
- ความสมบูรณ์ หากไม่มีข้อมูลหาข้อมูลจะเรียกว่าข้อมูลที่สมบูรณ์
- หมวดหมู่ในการสำรวจ
- การสำรวจจะต้องจัดหมวดหมู่
- สามารถใช้ตัวแปรเสริมของข้อมูล
- หมวดหมู่ต้องชัดเจนและมีจำนวนน้อย
ทฤษฎีในการวัดผล
เป็นแง่มุมเกี่ยวกับการกำหนดค่าตัวเลขให้กับลักษณะเฉพาะของสิ่งที่สำรวจหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยกำหนดกฎเกณฑ์ที่ใช้ให้เข้าใจง่าย ใช้งานง่ายและได้ค่าตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับชุดของการวัดผลอื่น ๆ เท่าที่เป็นไปได้
ตัวอย่างเกี่ยวกับการใช้ทฤษฎีข้อมูล
ตัวอย่างเช่นการวิเคราะห์ความแตกต่างภายในหรือระหว่างกลุ่ม หรือ ความแปรปรวนตามหัวข้อของข้อมูลที่มีการแจกแจงหลายตัวแปร (multivariate data) วิธีการเชิงสถิติดั้งเดิมในการวิเคราะห์แบบมีการแจกแจงหลายตัวแปรนั้นจะสมมติว่าหน่วยในการวิเคราะห์นั้นที่แยกเฉพาะกลุ่ม (เช่น บุคคล, เด็ก, ผู้ใหญ่ ฯลฯ)นั้นจัดอยู่ในกลุ่มประชากรแบบเอกพันธุ์ (homogeneous population)และสามารถจัดเป็นกลุ่มตัวอย่างสุ่มจากประชากรกลุ่มนี้
อย่างไรก็ตามในทางการศึกษาด้านพฤติกรรม การสำรวจมักไม่เป็นไปอย่างไม่อิสระ และกลุ่มประชากรก็ไม่เอกพันธุ์คือ มีความหลากหลาย ซึ่งบ่อยครั้งไม่สามารถระบุได้ ซึ่งในสถานะการณ์แบบนี้จำเป็นต้องใช้วิธีการเชิงทฤษฏีข้อมูลในการพัฒนาวิธีที่ไม่ขึ้นกับการปรับค่าปรกติที่มีการแจกแจงหลายตัวและตัวอย่างแบบเอกพันธุ์ และเนื่องจากว่าการสำรวจแบ่งแยกเป็นกลุ่มย่อย ความแตกต่างภายในกลุ่มและนอกกลุ่มก็จะมีค่าตรงกลางซึ่งเรียกว่าการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม
การศึกษาทฤษฏีข้อมูลมุ่งเน้นไปใช้งานเกี่ยวกับความสัมพันธ์การศึกษาเชิงพฤติกรรมเช่นเรื่อง ศึกษาศาสตร์ และจิตวิทยา หรือเน้นในการค้นพบช่วงทั้งหมดของข้อมูลการสำรวจ และทดลองทางการแพทย์ ชีววิทยา และวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir thvstikhxmul xngkvs Data Theory epnthvstithiwadwykhxngaengmumtang khxngkhxmul sungichaebngaeyksthanakarntang khxngkhxmulthiepnipidxxkdwyaenwkhidcanwnnxy aengmumhlk sxngaengmumkhxngthvsdikhxmulkhux thvstikarxxkaebbechingpracks hrux echingprasbkarn Empirical Design Theory thvstikarwdphl Measurement Theory thvsdikarxxkaebbechingkarthdlxngepnaengmumkhxngthvsdithiwadwyhwkhxtang echn enguxnikhkarthdlxng khuxaengmumtang khxngsthankarninkarthdlxng withi hmaythungkarxxkaebbkarthdlxngpkti idaekcanwnenguxnikhidbanginkarthdlxngthitxngkhanungthung karxxkaebbkarthdlxngyngrwmthungenguxnikhhlay xyangthitxngkhanungthungphrxm kn radbkarthdlxng khuxcanwnkhathitangknkhxngwithukarxxkaebb karsakarthdlxng khuxwithiphiessinkarxxkaebbthiichodykarthasaedimwithithangodykarphsmkarxxkaebbkarthdlxngtang ekhadwykn phawakarthdlxng khuxcanwnwithukhxngkarxxkaebbthimiexklksn sungphicarnadwykhxmulthiekiywkhxngkhux ruprang echn khxmulxaccaepnsiehliymdanetha sxngthang hnungphawa hruxepnsiehliymdankhnan sxngthang sxngphawa smmatrhruximsmmatr khxmulthiepnsiehliymxaccasmmatrhruimkid odykhxmulthiimsmmatrcaeriykwakhxmulsamehliym khxmulaeckaecnghlaytwaepr khxmulehlanicaepnsiehliymdankhnan swnihymihnungphawa aelakhxmulmkcaxyueriyngtwepnsdmph khwamsmburn hakimmikhxmulhakhxmulcaeriykwakhxmulthismburn hmwdhmuinkarsarwc karsarwccatxngcdhmwdhmu samarthichtwaepresrimkhxngkhxmul hmwdhmutxngchdecnaelamicanwnnxythvsdiinkarwdphlepnaengmumekiywkbkarkahndkhatwelkhihkblksnaechphaakhxngsingthisarwchruxehtukarntang odykahndkdeknththiichihekhaicngay ichnganngayaelaidkhatwelkhthiekiywkhxngkbchudkhxngkarwdphlxun ethathiepnipidtwxyangekiywkbkarichthvsdikhxmultwxyangechnkarwiekhraahkhwamaetktangphayinhruxrahwangklum hrux khwamaeprprwntamhwkhxkhxngkhxmulthimikaraeckaecnghlaytwaepr multivariate data withikarechingsthitidngediminkarwiekhraahaebbmikaraeckaecnghlaytwaeprnncasmmtiwahnwyinkarwiekhraahnnthiaeykechphaaklum echn bukhkhl edk phuihy l nncdxyuinklumprachakraebbexkphnthu homogeneous population aelasamarthcdepnklumtwxyangsumcakprachakrklumni xyangirktaminthangkarsuksadanphvtikrrm karsarwcmkimepnipxyangimxisra aelaklumprachakrkimexkphnthukhux mikhwamhlakhlay sungbxykhrngimsamarthrabuid sunginsthanakarnaebbnicaepntxngichwithikarechingthvstikhxmulinkarphthnawithithiimkhunkbkarprbkhaprktithimikaraeckaecnghlaytwaelatwxyangaebbexkphnthu aelaenuxngcakwakarsarwcaebngaeykepnklumyxy khwamaetktangphayinklumaelanxkklumkcamikhatrngklangsungeriykwakarsuksaptismphnthrahwangklum karsuksathvstikhxmulmungennipichnganekiywkbkhwamsmphnthkarsuksaechingphvtikrrmechneruxng suksasastr aelacitwithya hruxenninkarkhnphbchwngthnghmdkhxngkhxmulkarsarwc aelathdlxngthangkaraephthy chiwwithya aelawithyasastrsingmichiwitduephimthvsdisarsnethsbthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk