ดาวเคราะห์น้อยประเภท S เป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประกอบซิลิกา (Silica) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ มีอยู่เป็นจำนวนประมาณ 17% ของดาวเคราะห์น้อยทั้งหมด ซึ่งเป็นจำนวนมากรองจาก หรือจำพวกคาร์บอน
คุณสมบัติ
ดาวเคราะห์น้อยประเภท S จะมีความสว่างปานกลาง มีค่า (albedo) ระหว่าง 0.10 ถึง 0.22 และมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น ไอร์อ้อนซิลิเกต หรือ แมกนีเซียมซิลิเกต มักอยู่ในบริเวณรอบในของแถบดาวเคราะห์น้อย มีวงโคจรต่ำกว่า 2.2 หน่วยดาราศาสตร์ ดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ที่สุดในประเภทนี้คือ (กว้างประมาณ 330 กิโลเมตร) รองลงไปได้แก่ และ ดาวเคราะห์น้อยประเภท S ขนาดใหญ่เหล่านี้สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องสองตากำลัง 10x50 เมื่อมันเข้ามาในตำแหน่งใกล้ดวงอาทิตย์ ดวงที่สว่างที่สุดคือ 7 ไอริส ซึ่งเคยมีค่าความสว่างสูงสุดถึง +7.0 ที่ถือว่าสว่างมากนอกเหนือจากดาวเคราะห์น้อยที่สะท้อนแสงได้ดีเช่น 4 เวสต้า
กลุ่มดาวเคราะห์น้อยประเภท S
ตามการจัดประเภทดาวเคราะห์น้อยของ SMASS สามารถแบ่งดาวเคราะห์น้อยที่มีส่วนประกอบ "หิน" ออกได้เป็นกลุ่มย่อยในประเภท S ดังนี้
- ดาวเคราะห์น้อยประเภท S ที่มีค่าสเปกตรัมทั่วไปตามแบบประเภท S
- ดาวเคราะห์น้อยประเภท Sa, Sk, Sl, Sq, และ Sr ซึ่งมีองค์ประกอบร่วมระหว่างแบบ S ทั่วไป กับแบบ A, K, L, Q, และ R ตามลำดับ
โดยที่สเปกตรัมของดาวเคราะห์น้อยประเภท S นี้มีความแตกต่างอย่างชัดเจนจาก ซึ่งมีคาร์บอนมาก และ ที่มีโลหะมาก
อ้างอิง
- S. J. Bus and R. P. Binzel Phase II of the Small Main-belt Asteroid Spectroscopy Survey: A feature-based taxonomy, Icarus, Vol. 158, pp. 146 (2002).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dawekhraahnxypraephth S epndawekhraahnxythimixngkhprakxbswnihyepnsarprakxbsilika Silica sungepnthimakhxngchux mixyuepncanwnpraman 17 khxngdawekhraahnxythnghmd sungepncanwnmakrxngcak hruxcaphwkkharbxnxirxs twxyangdawekhraahnxypraephth Skhunsmbtidawekhraahnxypraephth S camikhwamswangpanklang mikha albedo rahwang 0 10 thung 0 22 aelamixngkhprakxbswnihyepn ixrxxnsiliekt hrux aemkniesiymsiliekt mkxyuinbriewnrxbinkhxngaethbdawekhraahnxy miwngokhcrtakwa 2 2 hnwydarasastr dawekhraahnxykhnadihythisudinpraephthnikhux kwangpraman 330 kiolemtr rxnglngipidaek aela dawekhraahnxypraephth S khnadihyehlanisamarthmxngehniddwyklxngsxngtakalng 10x50 emuxmnekhamaintaaehnngikldwngxathity dwngthiswangthisudkhux 7 ixris sungekhymikhakhwamswangsungsudthung 7 0 thithuxwaswangmaknxkehnuxcakdawekhraahnxythisathxnaesngiddiechn 4 ewstaklumdawekhraahnxypraephth Stamkarcdpraephthdawekhraahnxykhxng SMASS samarthaebngdawekhraahnxythimiswnprakxb hin xxkidepnklumyxyinpraephth S dngni dawekhraahnxypraephth S thimikhasepktrmthwiptamaebbpraephth S dawekhraahnxypraephth Sa Sk Sl Sq aela Sr sungmixngkhprakxbrwmrahwangaebb S thwip kbaebb A K L Q aela R tamladb odythisepktrmkhxngdawekhraahnxypraephth S nimikhwamaetktangxyangchdecncak sungmikharbxnmak aela thimiolhamakxangxingS J Bus and R P Binzel Phase II of the Small Main belt Asteroid Spectroscopy Survey A feature based taxonomy Icarus Vol 158 pp 146 2002 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk