บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
ดาวระเบิดรังสีเอกซ์ (อังกฤษ: X-ray bursters) คือชนิดหนึ่งที่แสดงตัวเป็นคาบและมีกำลังส่องสว่างเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยมีค่าสูงสุดที่เขตรังสีเอกซ์ของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า ระบบทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์เหล่านี้เป็นส่วนประกอบของวัตถุอัดแน่นสะสมมวล เช่นพวกดาวนิวตรอน หรือบางครั้งก็เช่นหลุมดำ กับดาวคู่ของมันซึ่งเป็น "ผู้บริจาค" (donor) มวลของดาวที่เป็นผู้บริจาคจะใช้ในการจัดประเภทของระบบว่าเป็นระบบดาวคู่รังสีเอกซ์แบบมวลมาก (มากกว่า 10 เท่าของมวลดวงอาทิตย์) หรือแบบมวลน้อย (น้อยกว่า 1 เท่าของมวลดวงอาทิตย์) ใช้ตัวย่อว่า HMXB และ LMXB ตามลำดับ ผลสังเกตการณ์ดาวระเบิดรังสีเอกซ์จะแตกต่างไปจากแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์แบบเฉียบพลันอื่นๆ (เช่น และ ) พลังงานจากการระเบิดกำหนดจากค่าฟลักซ์สะสม 1039-40เออร์ก เปรียบเทียบกับค่ากำลังส่องสว่างคงที่ซึ่งมีค่าอันดับ 1037 เออร์ก สำหรับการสะสมมวลไปในดาวนิวตรอน
สามารถใช้ตัวย่อ XRB สำหรับวัตถุชนิดนี้ (ดาวระเบิดรังสีเอกซ์) หรือการสังเกตการณ์แผ่รังสีของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง (X-ray burst)
อ้างอิง
- Lewin, Walter H. G. (1993). "X-Ray Bursts". . 62 (3–4): 223–389. Bibcode:1993SSRv...62..223L.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help))CS1 maint: extra punctuation () - Ayasli, S. (1982). "Thermonuclear processes on accreting neutron stars - A systematic study". . 256: 637–665. Bibcode:1982ApJ...256..637A. doi:10.1086/159940.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchayineruxngnn oprdephimpharamietxr reason hrux talk lnginaemaebbniephuxxthibaypyhakhxngbthkhwamemuxwangaethkni ihphicarnaechuxmoyngkhakhxnikbokhrngkarwiki dawraebidrngsiexks xngkvs X ray bursters khuxchnidhnungthiaesdngtwepnkhabaelamikalngsxngswangephimkhunxyangrwderw odymikhasungsudthiekhtrngsiexkskhxngsepktrmaemehlkiffa rabbthangfisiksdarasastrehlaniepnswnprakxbkhxngwtthuxdaennsasmmwl echnphwkdawniwtrxn hruxbangkhrngkechnhlumda kbdawkhukhxngmnsungepn phubricakh donor mwlkhxngdawthiepnphubricakhcaichinkarcdpraephthkhxngrabbwaepnrabbdawkhurngsiexksaebbmwlmak makkwa 10 ethakhxngmwldwngxathity hruxaebbmwlnxy nxykwa 1 ethakhxngmwldwngxathity ichtwyxwa HMXB aela LMXB tamladb phlsngektkarndawraebidrngsiexkscaaetktangipcakaehlngkaenidrngsiexksaebbechiybphlnxun echn aela phlngngancakkarraebidkahndcakkhaflkssasm 1039 40exxrk epriybethiybkbkhakalngsxngswangkhngthisungmikhaxndb 1037 exxrk sahrbkarsasmmwlipindawniwtrxn samarthichtwyx XRB sahrbwtthuchnidni dawraebidrngsiexks hruxkarsngektkarnaephrngsikhxngwtthuthangdarasastrthiekiywkhxng X ray burst xangxingLewin Walter H G 1993 X Ray Bursts 62 3 4 223 389 Bibcode 1993SSRv 62 223L a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help CS1 maint extra punctuation Ayasli S 1982 Thermonuclear processes on accreting neutron stars A systematic study 256 637 665 Bibcode 1982ApJ 256 637A doi 10 1086 159940 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk