ซีเซียม-137 (อังกฤษ: Caesium-137) เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุซีเซียม มีลักษณะเป็นโลหะอ่อน สีทองเงิน แผ่อนุภาคบีตาและรังสีแกมมา เมื่อสัมผัสจะทำลายหรือสร้างความเสียหายแก่ดีเอ็นเอของเซลล์ ส่งผลทำให้เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาวหรือไทรอยด์ตามมา ในธรรมชาติอาจใช้เวลาสลายตัวของซีเซียม-137 มากกว่า 100 ปีครึ่งชีวิตของซีเซียมอยู่ที่ประมาณ 30 ปี เมื่อซีเซียมสลายตัว จะแผ่รังสีบีตาแล้วจะแปรสภาพกลายเป็นแบเรียม-137m (137mBa)
ซีเซียม-137 ที่ถูกปิดสนิท | |
ทั่วไป | |
---|---|
137Cs | |
ซีเซียม-137, 137Cs, Cs-137 | |
โปรตอน (Z) | 55 |
นิวตรอน (N) | 82 |
0 (ปริมาณน้อยมาก) | |
ครึ่งชีวิต (t1/2) | 30.05±0.08 ปี |
มวลไอโซโทป | 136.907 Da |
สปิน | 72+ |
(β−) | |
ผลผลิตจากการสลาย | |
การสลายตัว | |
รูปแบบการสลาย | พลังงานการสลายตัว (MeV) |
β- (การสลายให้อนุภาคบีตา) | 0.5120 |
γ () | 0.6617 |
ประโยชน์
การใช้งานของสารซีเซียม-137 มีไม่มากนัก ส่วนใหญ่ใช้เป็นสารต้นกำเนิดรังสีในการรักษามะเร็ง และใช้ในเครื่องมือวัดทางอุตสาหกรรม ถ้ามีปริมาณน้อยจะใช้สำหรับปรับเทียบเครื่องมือวัดรังสีหรือใช้เป็นต้นกำเนิดรังสีแกมมาที่นำมาใช้ในการวัดความหนาแน่นของเครื่องมือเจาะสำรวจน้ำมัน
อันตราย
ในระยะสั้นหากได้รับหรือสัมผัสจะไม่ส่งผลอันตรายให้เห็นผลชัดเจน แต่สามารถเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งได้ ถ้าได้รับเข้าไปในร่างกายผ่านทางผิวหนังที่มีบาดแผล ผ่านการหายใจ หรือรับประทานเข้าไป ซีเซียม-137 จะเข้าไปสะสมอยู่ในเนื้อเยื่ออ่อนของอวัยวะต่าง ๆ และจะแผ่รังสีผ่านสู่อวัยวะเหล่านั้น เป็นผลให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งมากขึ้น
หากได้รับปริมาณรังสีต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน จะทำให้ผิวหนังมีอาการแสบร้อนคล้ายโดนไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก และจะมีอาการคลื่นไส้ถ้าได้รับปริมาณรังสีสูงมากพอ
เหตุการณ์อุบัติเหตุในไทยเมื่อเดือนมีนาคม 2566
เกิดการสูญหายของ ซีเซียม-137 จากโรงงานไฟฟ้าที่จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งต่อมาพบว่าถูกหลอมพร้อมกับเหล็ก แต่เมื่อเทียบกับเหตุการณ์ภัยพิบัติเชียร์โนบีลแล้ว อุบัติเหตุครั้งนี้ถือว่าสร้างความเสียหายที่เล็กกว่ามาก แต่อย่างไรก็ตามบุคคลที่ใกล้ชิดหรือพักอาศัยใกล้กับพื้นที่ใกล้เคียงจุดเกิดเหตุก็ควรเฝ้าระวังเป็นอย่างมาก
เมื่ออ้างอิงข้อมูลจากทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency) ค่ารังสีส่วนเกินจากธรรมชาติที่คนทั่วไปควรได้รับไม่ควรจะเกิน 1 มิลลิซีเวิร์ต/ปี โดยในเหตุการณ์นี้ทำให้มีผู้ได้รับรังสีเกินกว่าที่คนทั่วไปควรได้รับ ซึ่งสามารถเปรียบเทียบใกล้เคียงการอยู่ในพื้นที่ที่มีรังสีต่อเนื่องเป็นเวลา 1 ปี
อ้างอิง
- Bé, M. M., Chisté, V., Dulieu, C., Browne, E., Baglin, C., Chechev, V., ... & Lee, K. B. (2006). Table of Radionuclides (vol. 3–A= 3 to 244). Monographie BIPM, 5.
- . WWW Table of Radioactive Isotopes. LBNL Isotopes Project - LUNDS Universitet. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2015. สืบค้นเมื่อ 14 March 2009.
- "ซีเซียม 137 คืออะไร สารกัมมันตรังสี อันตรายแค่ไหน". Hfocus.org. สืบค้นเมื่อ 20 March 2023.
- "สรุปปมพบ 'ซีเซียม 137' ที่สูญหาย". workpointTODAY. สืบค้นเมื่อ 20 March 2023.
- โชคเกิด, ปาริชาติ (20 March 2023). "รู้จักรังสีซีเซียม-137 พร้อมเช็คไทม์ไลน์การหายไปไร้ร่องรอย". สืบค้นเมื่อ 21 March 2023.
- https://workpointtoday.com/cesium/
- https://www.iaea.org/newscenter/focus/chernobyl/faqs?fbclid=IwAR0ntGC2eqwZzF04pOCvRaoE0YSlL2Cq81d9-vq9slEAUlpO_hgtp0d0YnI
- "Radiation in Everyday Life". www.iaea.org (ภาษาอังกฤษ). 21 November 2014. สืบค้นเมื่อ 21 March 2023.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
siesiym 137 xngkvs Caesium 137 epnixosothpkmmntrngsikhxngthatusiesiym milksnaepnolhaxxn sithxngengin aephxnuphakhbitaaelarngsiaekmma emuxsmphscathalayhruxsrangkhwamesiyhayaekdiexnexkhxngesll sngphlthaihekidmaerngemdeluxdkhawhruxithrxydtamma inthrrmchatixacichewlaslaytwkhxngsiesiym 137 makkwa 100 pikhrungchiwitkhxngsiesiymxyuthipraman 30 pi emuxsiesiymslaytw caaephrngsibitaaelwcaaeprsphaphklayepnaeberiym 137m 137mBa siesiym 137 137Cssiesiym 137 thithukpidsniththwip137Cssiesiym 137 137Cs Cs 137oprtxn Z 55niwtrxn N 820 primannxymak khrungchiwit t1 2 30 05 0 08 pimwlixosothp136 907 Daspin7 2 b phlphlitcakkarslaykarslaytwrupaebbkarslayphlngngankarslaytw MeV b karslayihxnuphakhbita 0 5120g 0 6617praoychnkarichngankhxngsarsiesiym 137 miimmaknk swnihyichepnsartnkaenidrngsiinkarrksamaerng aelaichinekhruxngmuxwdthangxutsahkrrm thamiprimannxycaichsahrbprbethiybekhruxngmuxwdrngsihruxichepntnkaenidrngsiaekmmathinamaichinkarwdkhwamhnaaennkhxngekhruxngmuxecaasarwcnamnxntrayinrayasnhakidrbhruxsmphscaimsngphlxntrayihehnphlchdecn aetsamarthephimkhwamesiynginkarekidorkhmaerngid thaidrbekhaipinrangkayphanthangphiwhnngthimibadaephl phankarhayic hruxrbprathanekhaip siesiym 137 caekhaipsasmxyuinenuxeyuxxxnkhxngxwywatang aelacaaephrngsiphansuxwywaehlann epnphlihekidkhwamesiynginkarekidorkhmaerngmakkhun hakidrbprimanrngsitxenuxngepnrayaewlanan cathaihphiwhnngmixakaraesbrxnkhlayodnifihmhruxnarxnlwk aelacamixakarkhlunisthaidrbprimanrngsisungmakphxehtukarnxubtiehtuinithyemuxeduxnminakhm 2566ekidkarsuyhaykhxng siesiym 137 cakorngnganiffathicnghwdpracinburi sungtxmaphbwathukhlxmphrxmkbehlk aetemuxethiybkbehtukarnphyphibtiechiyronbilaelw xubtiehtukhrngnithuxwasrangkhwamesiyhaythielkkwamak aetxyangirktambukhkhlthiiklchidhruxphkxasyiklkbphunthiiklekhiyngcudekidehtukkhwrefarawngepnxyangmak emuxxangxingkhxmulcakthbwngkarphlngnganprmanurahwangpraeths International Atomic Energy Agency kharngsiswnekincakthrrmchatithikhnthwipkhwridrbimkhwrcaekin 1 millisiewirt pi odyinehtukarnnithaihmiphuidrbrngsiekinkwathikhnthwipkhwridrb sungsamarthepriybethiybiklekhiyngkarxyuinphunthithimirngsitxenuxngepnewla 1 pixangxingBe M M Chiste V Dulieu C Browne E Baglin C Chechev V amp Lee K B 2006 Table of Radionuclides vol 3 A 3 to 244 Monographie BIPM 5 WWW Table of Radioactive Isotopes LBNL Isotopes Project LUNDS Universitet khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 22 May 2015 subkhnemux 14 March 2009 siesiym 137 khuxxair sarkmmntrngsi xntrayaekhihn Hfocus org subkhnemux 20 March 2023 sruppmphb siesiym 137 thisuyhay workpointTODAY subkhnemux 20 March 2023 ochkhekid parichati 20 March 2023 ruckrngsisiesiym 137 phrxmechkhithmilnkarhayipirrxngrxy subkhnemux 21 March 2023 https workpointtoday com cesium https www iaea org newscenter focus chernobyl faqs fbclid IwAR0ntGC2eqwZzF04pOCvRaoE0YSlL2Cq81d9 vq9slEAUlpO hgtp0d0YnI Radiation in Everyday Life www iaea org phasaxngkvs 21 November 2014 subkhnemux 21 March 2023