จระเข้น้ำจืด, จระเข้บึง, จระเข้สยาม หรือ จระเข้น้ำจืดสายพันธุ์ไทย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Crocodylus siamensis) มีถิ่นกำเนิดในบริเวณประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม กาลีมันตัน ชวา และสุมาตรา จัดเป็นจระเข้ขนาดปานกลางค่อนมาทางใหญ่ (3–4 เมตร) มีเกล็ดท้ายทอด มีช่วงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 10–12 ปี จระเข้ชนิดนี้วางไข่ครั้งละ 20–48 ฟอง โดยมีระยะเวลาฟักไข่นาน 68–85 วัน เริ่มวางไข่ในช่วงต้นฤดูฝนประมาณเดือนพฤษภาคม โดยขุดหลุมในหาดทรายริมแม่น้ำ ใช้เวลาเฉลี่ยราว 80 วัน ชอบอยู่และหากินเดี่ยว
จระเข้น้ำจืด ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: สมัยไพลสโตซีน–ปัจจุบัน, 2.6–0Ma | |
---|---|
จระเข้น้ำจืด ที่ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้สามพราน | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | สัตว์ |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง |
ชั้น: | สัตว์เลื้อยคลาน |
อันดับ: | อันดับจระเข้ |
วงศ์: | Crocodylidae |
สกุล: | จระเข้ , 1801 |
สปีชีส์: | Crocodylus siamensis |
ชื่อทวินาม | |
Crocodylus siamensis , 1801 | |
ชื่อพ้อง | |
|
โดยปกติจระเข้น้ำจืดจะกินปลาและสัตว์อื่นที่เล็กกว่าเป็นอาหาร จะไม่ทำร้ายมนุษย์หากไม่ถูกรบกวนหรือมีอาหารเพียงพอ ในอดีตในประเทศไทยเคยพบชุกชุมในแหล่งน้ำทั่วทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะในแถบที่ราบลุ่มภาคกลาง เช่น บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ได้ชื่อว่าเป็นสถานที่จระเข้ชุม เคยมีรายงานว่าพบจระเข้ถึง 200 ตัว หรือในวรรณกรรมพื้นบ้านเรื่องต่าง ๆ เช่น ไกรทอง ของจังหวัดพิจิตร เป็นต้น แต่ปัจจุบันได้สูญหายไปจนหมดแล้ว แต่ในต่างประเทศยังคงพบอยู่เช่นที่ทะเลสาบเขมร ประเทศกัมพูชา โดยเฉพาะทิวเขาพนมกระวาน ซึ่งช่วงแรกค้นพบเพียง 3 ตัว จนนำไปสู่การค้นพบจระเข้นับร้อยตัวที่อาศัยโดยไม่พึ่งพาอาศัยมนุษย์ แต่ที่นี่ก็ประสบปัญหาการจับจระเข้ไปขายฟาร์มจำนวนมาก สถานะในอนุสัญญาของไซเตสได้ขึ้นบัญชีจระเข้น้ำจืดไว้อยู่ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix 1)
ปัจจุบัน จระเข้สายพันธุ์นี้แท้ ๆ ก็ยังหายากในสถานที่เลี้ยง เนื่องจากถูกผสมสายพันธุ์กับจระเข้สายพันธุ์อื่นจนเสียสายพันธุ์แท้ไปด้วยจากเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจ
สถานะตามธรรมชาติในไทย
ปัจจุบันประเทศไทย เชื่อว่าจระเข้ที่ยังคงสถานะในธรรมชาติหลงเหลืออยู่ที่คลองระบม-สียัด เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน จังหวัดฉะเชิงเทรา ในอดีตมีนายพรานจากประเทศเวียดนามเข้ามาล่า ทำให้จระเข้หายไปจากป่าต้นน้ำคลองระบม-สียัด จนในปี พ.ศ. 2535 นายกิตติ กรีติยุตานนท์ ผู้ช่วยหัวหน้าสถานีวิจัยสัตว์ป่าฉะเชิงเทรา ได้พบจระเข้น้ำจืดในพื้นที่ดังกล่าว แต่คาดว่าเหลือไม่เกิน 5 ตัว ปัจจุบันพบเพียงตัวผู้เพียงตัวเดียว
ในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี มีอยู่ประมาณ 5 ตัว เชื่อกันว่าเป็นเพศเมียทั้งหมด แต่หลังจากในปี พ.ศ. 2552 ได้พบการวางไข่ของจระเข้กลุ่มดังกล่าว แต่ไข่กลับไม่ได้รับการผสม
- ในบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ มีจระเข้ไม่เกิน 50 ตัว (คาดการณ์) ปัจจุบันสามารถเห็นได้ชัด 1 ตัว บริเวณที่ทำการบึงบอระเพ็ดมักขึ้นมาแสดงตัวกับนักท่องเที่ยว พบแหล่งวางไข่บนเกาะวัดและเกาะ ดร.สมิท จำนวน 2 ตัว บริเวณคลองบึงบอระเพ็ดจำนวน 1–2 ตัว ฯลฯ และส่วนต่าง ๆ ในบริเวณบึงบอระเพ็ดที่ครอบคลุม 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอชุมแสง, อำเภอท่าตะโก สามารถพบเห็นจระเข้ได้ตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่พบจระเข้ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงบอระเพ็ด ในปี พ.ศ. 2564 ชาวบ้านหาปลาเคยพบลูกจระเข้ในบึงที่เกิดเองในธรรมชาติ แต่ยังไม่มีการสำรวจที่แน่ชัดว่ามีประชากรเท่าไร เนื่องจากบึงบอระเพ็ดมีขนาดที่ใหญ่โตมาก และจระเข้เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำที่ค่อนข้างเงียบ เมื่ออยู่บนบกจะซุ่มเงียบในโพรงหญ้า เมื่ออยู่ในน้ำจะขึ้นมาหายใจให้เห็นเฉพาะจมูกเท่านั้น จระเข้บึงกินปลาเป็นอาหาร ในการกินแต่ละครั้งสามารถอยู่ได้ 10–15 วัน โดยไม่ต้องกินอาหารอีก ทำให้ระหว่างนั้นจระเข้มักหาที่นอนและเคลื่อนไหวช้า ยากต่อการค้นหา นักวิจัยบางส่วนเชื่อว่าในปี พ.ศ. 2564 มีจระเข้เหลืออยู่ในบึงบอระเพ็ดประมาณ 15–30 ตัวเท่านั้น ทั้งนี้คนกับจระเข้ในพื้นที่ไม่มีปัญหากัน เนื่องจากชาวบ้านมีความเชื่อเรื่องเจ้าแม่หมอนทองที่เป็นจระเข้ มีศาลสักการะบูชาเจ้าแม่หมอนทองในพื้นที่บึงบอระเพ็ดมาอย่างยาวนาน
- ในอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง มีจระเข้อย่างน้อย 3 ตัว ที่บ้านคลองชมพู อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเป็นประชากรจระเข้กลุ่มเดียวในไทยที่ยังมีการผสมพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ และไม่มีประวัติการทำร้ายผู้คน
- ในอุทยานแห่งชาติปางสีดา จังหวัดสระแก้ว เดิมมีจระเข้อาศัยอยู่ก่อนแล้วในแหล่งน้ำธรรมชาติ จากคำสัมภาษณ์ของชาวบ้าน เคยดำน้ำหาปลาพบจระเข้หลายครั้ง และเคยเห็นคนเข้ามาจับจระเข้มัดเพื่อขนย้ายออกไป โดยชาวบ้านไม่มีปัญหากับจระเข้ และจระเข้ไม่เคยทำร้ายชาวบ้าน ถึงแม้ชาวบ้านจะเคยเจอกับจระเข้ในน้ำหลายครั้งระหว่างหาปลาก็ตาม ทำให้ชาวบ้านเห็นด้วยกับโครงการอนุรักษ์จระเข้สายพันธุ์ท้องถิ่น ในปี พ.ศ. 2548 อุทยานได้มีการทดลองปล่อยจระเข้น้ำจืดไทยครั้งแรกจำนวน 10 ตัว เป็นตัวผู้ 5 ตัว ตัวเมีย 5 ตัว และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2561 ได้มีการปล่อยจระเข้คืนสู่ธรรมชาติอีก 17 ตัว
- มีการรายงานว่าพบจระเข้ใน จังหวัดอุบลราชธานี
- มีการค้นพบร่องรอยจระเข้ในอุทยานแห่งชาติทับลาน ซึ่งเป็นผืนป่าที่เชื่อมต่อกับปางสีดาและป่าภูเขียว
- ในปี พ.ศ. 2556 มีการพบซากจระเข้น้ำจืดตัวหนึ่งและจระเข้ที่มีชีวิตอีกตัวหนึ่งในที่บ้านบางสมอ อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นจระเข้ตามธรรมชาติเนื่องจากกรงเล็บและเขี้ยวแหลมคม ในอดีตเมื่อ 50–60 ปีก่อนที่นี่เคยเป็นแหล่งอาศัยของจระเข้น้ำจืดที่ชุกชมมาก่อน แต่ต่อมาประชากรได้ลดจำนวนลง เวลาต่อมาได้มีการสั่งประกาศจับเป็นหรือจับตายจระเข้อีกหนึ่งตัวที่เหลืออยู่
จระเข้ในไทยในปัจจุบันคาดว่าในแต่ละแหล่งคงมีจระเข้หลงเหลือไม่เกิน 1–3 ตัว และไม่น่ามีการผสมพันธุ์กัน จระเข้ตามธรรมชาติของไทยจึงสุ่มเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ล่าสุดมีการพบที่ลานหินตาด ภายในอุทยานแห่งชาติปางสีดา จังหวัดสระแก้ว เมื่อปลายเดือนเมษายนและต้นเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 ด้วยหลักฐานภาพถ่ายและวีดิทัศน์ของนักท่องเที่ยวชาวสวิส คาดว่ามีความยาวประมาณ 1.3 เมตร โดยที่แห่งนี้เคยมีการค้นพบจระเข้น้ำจืดมาแล้วในอดีตเมื่อปี พ.ศ. 2537
ทางวัฒนธรรมและความเชื่อ
ในประเทศไทย บริเวณลุ่มน้ำคลองระบม-สียัด จังหวัดฉะเชิงเทรา มีความเชื่อเรื่อง "จระเข้เจ้า" ว่าเป็นพาหนะของเจ้าพ่อเขากา ที่ไม่ทำร้ายผู้คน แต่ถ้าหากใครไปทำร้ายก็จะประสบกับภัยพิบัติ บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แถบลำน้ำโดมใหญ่หรือบางแห่งในลุ่มน้ำมูล มีความเชื่อเรื่อง "จระเข้เจ้า" เช่นกัน แต่จะเป็นจระเข้เผือกที่ภาษาถิ่นเรียกว่า "แข้ด่อน" ส่วนคนในบ้านครัว ชุมชนมุสลิมริมคลองแสนแสบ กรุงเทพมหานคร มีตำนานปรัมปราว่า บรรพบุรุษของชาวบ้านครัวเป็นจระเข้ที่อยู่ในคลองแสนแสบ ทั้งนี้ในนิทานเรื่อง ไกรทอง ได้ให้ภาพพจน์ของจระเข้มีสถานะและความสัมพันธ์เทียบเท่ากับมนุษย์ และเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอนพลายชุมพลปราบจระเข้เถรขวาด ก็แสดงให้เห็นถึงความเชื่อและมุมมองของคนในสมัยก่อนที่มีต่อจระเข้
การเพาะพันธุ์
- 16 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ประเทศกัมพูชาได้ทำการฟักไข่จระเข้สยามสำเร็จเป็นครั้งแรก ได้ลูกจระเข้ 13 ตัว
- 7 กันยายน พ.ศ. 2554 ประเทศลาวได้ทำการฟักไข่จระเข้สยามสำเร็จเป็นครั้งแรก ได้ลูกจระเข้ 20 ตัว
- 6 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ประเทศไทยได้ทำการฟักไข่จระเข้สยามสำเร็จเป็นครั้งแรก ได้ลูกจระเข้ 7 ตัว
อ้างอิง
- Rio, J. P. & Mannion, P. D. (2021). "Phylogenetic analysis of a new morphological dataset elucidates the evolutionary history of Crocodylia and resolves the long-standing gharial problem". . 9: e12094. doi:10.7717/peerj.12094. PMC 8428266. PMID 34567843.
- Bezuijen, M.; Simpson, B.; Behler, N.; Daltry, J. & Tempsiripong, Y. (2012). "Crocodylus siamensis". IUCN Red List of Threatened Species. 2012: e.T5671A3048087. doi:10.2305/IUCN.UK.2012.RLTS.T5671A3048087.en. สืบค้นเมื่อ 22 January 2022.
- ธเนศ งามสม (พฤศจิกายน 2005). . อนุสาร อ.ส.ท. Vol. 46 no. 4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 ตุลาคม 2008. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2011.
- วิบูลย์ เข็มเฉลิม. วิถีคนป่าตะวันออกผืนสุดท้าย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2548. หน้า 119–120. ISBN .
- สนับบุญ (กรกฎาคม 2008). เสียงโหยหวนจากพงไพร "กระทิง-ช้าง"เขาอ่างฤๅไนจึงอยากพามาเที่ยวฝนนี้ 2009-09-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- . คม-ชัด-ลึก. 4 กันยายน 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 กันยายน 2009. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2009.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - . Wildlife Conservation Society Thailand Program. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 กันยายน 2009. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2011.
{{}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown () - . ไทยโพสต์. 16 สิงหาคม 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2010. สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2011.
- "นำร่องปล่อยจระเข้คืนป่า 'แก่งกระจาน-ปางสีดา-ตะรุเตา'". ไทยรัฐ. 28 กุมภาพันธ์ 2013. สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2013.
- siamensis.org. . Sarakadee Magazine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 ตุลาคม 2007. สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2011.
- รายงานการค้นพบจระเข้น้ำจืดสายพันธุ์ไทย ในเขตอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง จังหวัดพิษณุโลก
- . สัตว์ป่าเมืองไทย. Prince Royal's College. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 มิถุนายน 2011. สืบค้นเมื่อ 29 ธันวาคม 2010.
- "ชาวบ้านผวา! จระเข้น้ำจืดโผล่แม่น้ำชุมพร เร่งล่า". ไทยรัฐ. 21 พฤษภาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2013.
- "เร่งล่า 'จระเข้' ตัวเขื่อง ชาวบ้าน 2 ฝั่งแม่น้ำชุมพรผวาหนัก". ไทยรัฐ. 23 พฤษภาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2013.
- "นักอนุรักษ์สุดปลื้ม!! จระเข้น้ำจืดสายพันธุ์ไทย! ที่หายาก-ใกล้สูญพันธุ์ โผล่หน้ากล้องดักถ่าย อช.แก่งกระจาน". ผู้จัดการออนไลน์. 23 มกราคม 2021.
- "จระเข้สายพันธุ์ไทยโผล่ที่ปางสีดา". เดลินิวส์. No. 23,583. 8 พฤษภาคม 2014. pp. 14 ต่อข่าวหน้า 1.
- ศรีศักร วัลลิโภดม (มกราคม–มีนาคม 2003). . วารสารเมืองโบราณ. Vol. 29 no. 1. มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 ตุลาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2014.
- . ผู้จัดการออนไลน์. 16 มิถุนายน 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 สิงหาคม 2017.
- ลาวช่วยเพาะจระเข้พันธุ์สยามรอดพ้นจากการสูญพันธุ์ขึ้นได้อีก. ไทยรัฐ. 7 กันยายน 2011.
- "ฟักไข่จระเข้น้ำจืดสายพันธุ์ไทยแท้สำเร็จ". ครอบครัวข่าว 3. 24 มิถุนายน 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 มิถุนายน 2014.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Crocodylus siamensis – The Crocodile Specialist Group.
- Crocodylus siamensis – from the Biodiversity Heritage Library [1] 2016-10-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Action Plan for Crocodylus siamensis. IUCN/SSC Crocodile Specialist Group – Status Survey and Conservation Action Plan, 2nd edition.
- "Rare crocs back from extinction (video)". BBC. 5 February 2009.
- "New crocodile hope in Cambodia". BBC. 10 November 2009.
- . . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-23. สืบค้นเมื่อ 2009-11-11.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
craekhnacud craekhbung craekhsyam hrux craekhnacudsayphnthuithy chuxwithyasastr Crocodylus siamensis mithinkaenidinbriewnpraethsithy law kmphucha ewiydnam kalimntn chwa aelasumatra cdepncraekhkhnadpanklangkhxnmathangihy 3 4 emtr miekldthaythxd michwngwyecriyphnthuemuxxayu 10 12 pi craekhchnidniwangikhkhrngla 20 48 fxng odymirayaewlafkikhnan 68 85 wn erimwangikhinchwngtnvdufnpramaneduxnphvsphakhm odykhudhluminhadthrayrimaemna ichewlaechliyraw 80 wn chxbxyuaelahakinediywcraekhnacud chwngewlathimichiwitxyu smyiphlsotsin pccubn 2 6 0Ma PreꞒ Ꞓ O S D C P T J K Pg N craekhnacud thilanaesdngchangaelafarmcraekhsamphransthanakarxnurks IUCN 3 1 CITES Appendix I CITES karcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr stwiflm stwmiaeknsnhlngchn stweluxykhlanxndb xndbcraekhwngs Crocodylidaeskul craekh 1801spichis Crocodylus siamensischuxthwinamCrocodylus siamensis 1801chuxphxng Crocodylus ossifragus 1908 odypkticraekhnacudcakinplaaelastwxunthielkkwaepnxahar caimtharaymnusyhakimthukrbkwnhruxmixaharephiyngphx inxditinpraethsithyekhyphbchukchuminaehlngnathwthukphakhkhxngpraeths odyechphaainaethbthirablumphakhklang echn bungbxraephd cnghwdnkhrswrrkh idchuxwaepnsthanthicraekhchum ekhymiraynganwaphbcraekhthung 200 tw hruxinwrrnkrrmphunbaneruxngtang echn ikrthxng khxngcnghwdphicitr epntn aetpccubnidsuyhayipcnhmdaelw aetintangpraethsyngkhngphbxyuechnthithaelsabekhmr praethskmphucha odyechphaathiwekhaphnmkrawan sungchwngaerkkhnphbephiyng 3 tw cnnaipsukarkhnphbcraekhnbrxytwthixasyodyimphungphaxasymnusy aetthinikprasbpyhakarcbcraekhipkhayfarmcanwnmak sthanainxnusyyakhxngisetsidkhunbychicraekhnacudiwxyuinbychihmayelkh 1 Appendix 1 pccubn craekhsayphnthuniaeth kynghayakinsthanthieliyng enuxngcakthukphsmsayphnthukbcraekhsayphnthuxuncnesiysayphnthuaethipdwycakehtuphlthangdanesrsthkicsthanatamthrrmchatiinithypccubnpraethsithy echuxwacraekhthiyngkhngsthanainthrrmchatihlngehluxxyuthikhlxngrabm siyd ekhtrksaphnthustwpaekhaxangviin cnghwdchaechingethra inxditminayphrancakpraethsewiydnamekhamala thaihcraekhhayipcakpatnnakhlxngrabm siyd cninpi ph s 2535 naykitti kritiyutannth phuchwyhwhnasthaniwicystwpachaechingethra idphbcraekhnacudinphunthidngklaw aetkhadwaehluximekin 5 tw pccubnphbephiyngtwphuephiyngtwediyw inxuthyanaehngchatiaekngkracan cnghwdephchrburi mixyupraman 5 tw echuxknwaepnephsemiythnghmd aethlngcakinpi ph s 2552 idphbkarwangikhkhxngcraekhklumdngklaw aetikhklbimidrbkarphsm inbungbxraephd cnghwdnkhrswrrkh micraekhimekin 50 tw khadkarn pccubnsamarthehnidchd 1 tw briewnthithakarbungbxraephdmkkhunmaaesdngtwkbnkthxngethiyw phbaehlngwangikhbnekaawdaelaekaa dr smith canwn 2 tw briewnkhlxngbungbxraephdcanwn 1 2 tw l aelaswntang inbriewnbungbxraephdthikhrxbkhlum 3 xaephx idaek xaephxemuxngnkhrswrrkh xaephxchumaesng xaephxthataok samarthphbehncraekhidtngaetkhnadelkipcnthungkhnadihy swnihyphbcraekhinekhthamlastwpabungbxraephd inpi ph s 2564 chawbanhaplaekhyphblukcraekhinbungthiekidexnginthrrmchati aetyngimmikarsarwcthiaenchdwamiprachakrethair enuxngcakbungbxraephdmikhnadthiihyotmak aelacraekhepnstwkhrungbkkhrungnathikhxnkhangengiyb emuxxyubnbkcasumengiybinophrnghya emuxxyuinnacakhunmahayicihehnechphaacmukethann craekhbungkinplaepnxahar inkarkinaetlakhrngsamarthxyuid 10 15 wn odyimtxngkinxaharxik thaihrahwangnncraekhmkhathinxnaelaekhluxnihwcha yaktxkarkhnha nkwicybangswnechuxwainpi ph s 2564 micraekhehluxxyuinbungbxraephdpraman 15 30 twethann thngnikhnkbcraekhinphunthiimmipyhakn enuxngcakchawbanmikhwamechuxeruxngecaaemhmxnthxngthiepncraekh misalskkarabuchaecaaemhmxnthxnginphunthibungbxraephdmaxyangyawnaninxuthyanaehngchatithungaeslnghlwng micraekhxyangnxy 3 tw thibankhlxngchmphu xaephxeninmaprang cnghwdphisnuolk sungepnprachakrcraekhklumediywinithythiyngmikarphsmphnthutamthrrmchatixyu aelaimmiprawtikartharayphukhninxuthyanaehngchatipangsida cnghwdsraaekw edimmicraekhxasyxyukxnaelwinaehlngnathrrmchati cakkhasmphasnkhxngchawban ekhydanahaplaphbcraekhhlaykhrng aelaekhyehnkhnekhamacbcraekhmdephuxkhnyayxxkip odychawbanimmipyhakbcraekh aelacraekhimekhytharaychawban thungaemchawbancaekhyecxkbcraekhinnahlaykhrngrahwanghaplaktam thaihchawbanehndwykbokhrngkarxnurkscraekhsayphnthuthxngthin inpi ph s 2548 xuthyanidmikarthdlxngplxycraekhnacudithykhrngaerkcanwn 10 tw epntwphu 5 tw twemiy 5 tw aelakhrngthi 2 inpi ph s 2561 idmikarplxycraekhkhunsuthrrmchatixik 17 twmikarraynganwaphbcraekhin cnghwdxublrachthanimikarkhnphbrxngrxycraekhinxuthyanaehngchatithblan sungepnphunpathiechuxmtxkbpangsidaaelapaphuekhiywinpi ph s 2556 mikarphbsakcraekhnacudtwhnungaelacraekhthimichiwitxiktwhnunginthibanbangsmx xaephxemuxngchumphr cnghwdchumphr snnisthanwanacaepncraekhtamthrrmchatienuxngcakkrngelbaelaekhiywaehlmkhm inxditemux 50 60 pikxnthiniekhyepnaehlngxasykhxngcraekhnacudthichukchmmakxn aettxmaprachakridldcanwnlng ewlatxmaidmikarsngprakascbepnhruxcbtaycraekhxikhnungtwthiehluxxyu craekhinithyinpccubnkhadwainaetlaaehlngkhngmicraekhhlngehluximekin 1 3 tw aelaimnamikarphsmphnthukn craekhtamthrrmchatikhxngithycungsumesiyngtxkarsuyphnthu lasudmikarphbthilanhintad phayinxuthyanaehngchatipangsida cnghwdsraaekw emuxplayeduxnemsaynaelatneduxnphvsphakhm ph s 2557 dwyhlkthanphaphthayaelawidithsnkhxngnkthxngethiywchawswis khadwamikhwamyawpraman 1 3 emtr odythiaehngniekhymikarkhnphbcraekhnacudmaaelwinxditemuxpi ph s 2537thangwthnthrrmaelakhwamechuxinpraethsithy briewnlumnakhlxngrabm siyd cnghwdchaechingethra mikhwamechuxeruxng craekheca waepnphahnakhxngecaphxekhaka thiimtharayphukhn aetthahakikhriptharaykcaprasbkbphyphibti briewnphakhtawnxxkechiyngehnux aethblanaodmihyhruxbangaehnginlumnamul mikhwamechuxeruxng craekheca echnkn aetcaepncraekhephuxkthiphasathineriykwa aekhdxn swnkhninbankhrw chumchnmuslimrimkhlxngaesnaesb krungethphmhankhr mitananprmprawa brrphburuskhxngchawbankhrwepncraekhthixyuinkhlxngaesnaesb thngniinnithaneruxng ikrthxng idihphaphphcnkhxngcraekhmisthanaaelakhwamsmphnthethiybethakbmnusy aelaeruxng khunchangkhunaephn txnphlaychumphlprabcraekhethrkhwad kaesdngihehnthungkhwamechuxaelamummxngkhxngkhninsmykxnthimitxcraekhkarephaaphnthu16 mithunayn ph s 2553 praethskmphuchaidthakarfkikhcraekhsyamsaercepnkhrngaerk idlukcraekh 13 tw 7 knyayn ph s 2554 praethslawidthakarfkikhcraekhsyamsaercepnkhrngaerk idlukcraekh 20 tw 6 singhakhm ph s 2556 praethsithyidthakarfkikhcraekhsyamsaercepnkhrngaerk idlukcraekh 7 twxangxingRio J P amp Mannion P D 2021 Phylogenetic analysis of a new morphological dataset elucidates the evolutionary history of Crocodylia and resolves the long standing gharial problem 9 e12094 doi 10 7717 peerj 12094 PMC 8428266 PMID 34567843 Bezuijen M Simpson B Behler N Daltry J amp Tempsiripong Y 2012 Crocodylus siamensis IUCN Red List of Threatened Species 2012 e T5671A3048087 doi 10 2305 IUCN UK 2012 RLTS T5671A3048087 en subkhnemux 22 January 2022 thens ngamsm phvscikayn 2005 xnusar x s th Vol 46 no 4 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 14 tulakhm 2008 subkhnemux 1 thnwakhm 2011 wibuly ekhmechlim withikhnpatawnxxkphunsudthay krungethph sankngankxngthunsnbsnunkarwicy 2548 hna 119 120 ISBN 974 966 676 3 snbbuy krkdakhm 2008 esiyngohyhwncakphngiphr krathing chang ekhaxangviincungxyakphamaethiywfnni 2009 09 21 thi ewyaebkaemchchin khm chd luk 4 knyayn 2009 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 8 knyayn 2009 subkhnemux 9 knyayn 2009 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite news title aemaebb Cite news cite news a CS1 maint bot original URL status unknown lingk Wildlife Conservation Society Thailand Program khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2 knyayn 2009 subkhnemux 1 thnwakhm 2011 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint bot original URL status unknown lingk ithyophst 16 singhakhm 2010 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 16 singhakhm 2010 subkhnemux 1 thnwakhm 2011 narxngplxycraekhkhunpa aekngkracan pangsida tarueta ithyrth 28 kumphaphnth 2013 subkhnemux 25 emsayn 2013 siamensis org Sarakadee Magazine khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 22 tulakhm 2007 subkhnemux 30 phvscikayn 2011 rayngankarkhnphbcraekhnacudsayphnthuithy inekhtxuthyanaehngchatithungaeslnghlwng cnghwdphisnuolk stwpaemuxngithy Prince Royal s College khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 10 mithunayn 2011 subkhnemux 29 thnwakhm 2010 chawbanphwa craekhnacudophlaemnachumphr erngla ithyrth 21 phvsphakhm 2013 subkhnemux 23 phvsphakhm 2013 erngla craekh twekhuxng chawban 2 fngaemnachumphrphwahnk ithyrth 23 phvsphakhm 2013 subkhnemux 23 phvsphakhm 2013 nkxnurkssudplum craekhnacudsayphnthuithy thihayak iklsuyphnthu ophlhnaklxngdkthay xch aekngkracan phucdkarxxniln 23 mkrakhm 2021 craekhsayphnthuithyophlthipangsida edliniws No 23 583 8 phvsphakhm 2014 pp 14 txkhawhna 1 sriskr wlliophdm mkrakhm minakhm 2003 warsaremuxngobran Vol 29 no 1 mulnithielk praiph wiriyaphnthu khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 30 tulakhm 2015 subkhnemux 8 mithunayn 2014 phucdkarxxniln 16 mithunayn 2010 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 20 singhakhm 2017 lawchwyephaacraekhphnthusyamrxdphncakkarsuyphnthukhunidxik ithyrth 7 knyayn 2011 fkikhcraekhnacudsayphnthuithyaethsaerc khrxbkhrwkhaw 3 24 mithunayn 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 24 mithunayn 2014 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb craekhnacud Crocodylus siamensis The Crocodile Specialist Group Crocodylus siamensis from the Biodiversity Heritage Library 1 2016 10 14 thi ewyaebkaemchchin Action Plan for Crocodylus siamensis IUCN SSC Crocodile Specialist Group Status Survey and Conservation Action Plan 2nd edition Rare crocs back from extinction video BBC 5 February 2009 New crocodile hope in Cambodia BBC 10 November 2009 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 09 23 subkhnemux 2009 11 11